เหลียวหลังแลหน้า 60 ปี แบ๊บติสต์ไทย

Download Report

Transcript เหลียวหลังแลหน้า 60 ปี แบ๊บติสต์ไทย

เหลียวหลังแลหน้า
60 ปี แบ๊บติสต์ไทย
อะไรคือแบ๊ บติสต์ ไทย?
1.
แบ๊บติสต์ไทย คือ บรรดาคริ สตจักร/คริ สเตียนที่สงั กัด
ใน สหคริ สตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทย ซึ่งมีที่มา
เริ่ มต้นจากงานประกาศของมิชชันนารี ของคณะเซา
เทิร์นแบ๊บติสต์จากสหรัฐอเมริ กา และเติบโตขึ้นจน
ดูแลตัวเองได้ดว้ ยคริ สเตียนคนไทย จนเติบโตพัฒนา
ต่อเนื่องมาจนปั จจุบนั




งานแบ๊บติสต์ไทยเริ่ มปี 1833 (พ.ศ.2376)
คจ.ไมตรี จิตคือคจ.แบ๊บติสต์แรกและคจ.แรกในไทยและใน
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ สถาปนาปี คศ.1837 (พศ.2380)
หลังจากนั้นคณะแบ๊บติสต์ในสหรัฐอเมริ กาได้มีการแบ่ง
ออกเป็ นสององค์กรใหญ่ จนกระทบต่อคริ สตจักรแบ๊บติสต์
ในไทย ทาให้ตอ้ งเริ่ มต้นงานใหม่ งานแบ๊บติสต์เดิมเป็ นของ
นอร์ธเทิร์นแบ๊บติสต์ อยูใ่ นสังกัดสภา ภาค12 และเซาเทิร์
นแบ๊บติสต์ตอ้ งเข้ามาเริ่ มงานใหม่
เซาเทิร์นแบ๊บติสต์ได้เข้ามาเริ่ มงานในประเทศไทยในปี
ค.ศ.1949 (พศ.2492) โดยมิชชันนารี 13 ครอบครัว
ก่อตั้งคริ สตจักร
ขึ้น 7 แห่ง ปี 1951 ก็สถาปนาคริ สตจักร
แบ๊บติสต์ที่เลี้ยงตนเองได้เป็ นแห่งแรกคือ
คริ สตจักรพระคุณ (ซ.สุ ขมุ วิท 19)
 1971 (พศ.2514) ตั้งสหคริ สตจักรแบ๊บติสต์
ในประเทศไทย (ส.ค.บ.) ขึ้น
 สิ้ นห้าปี แรก (1949-1954)
 มูลนิ ธิคริ สตจักรคณะแบ๊บติสต์
ได้กอ่ ตั้งใน
ปี 1977
 ภายหลังร่ วมมือกับแบ๊บติสต์ภาค 12 กะเหรี่ ยง
แบ๊บติสต์ (ภาค 19) ลาหู่แบ๊บติสต์ (ภาค 18)
ก่อตั้ง “สหพันธ์แบ๊บติสต์ในประเทศไทย”
สมาชิกรวมราว 50,000 คน
เมื่อ 60 ปี ก่อน ปัจจุบนั แบ๊บติสต์
ไทยมีคริ สตจักรราว 100 แห่ง สมาชิกราว
10,000 คน
 60 ปี ที่ผา่ นมา ผ่านปั ญหาหนักๆ มามาก แต่
ยังไม่เคยแตก และยังไม่เห็นแนวโน้มจะแตก
เห็นแต่แนวโน้มจะค่อยๆ เติบโตขึ้นเรื่ อยๆ แต่
ยังคงต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายอีกมากมาย
 เริ่ มจาก 0
B. แบ๊ บติสต์ ไทยปัจจุบันแตกต่ างจากแบ๊ บติสต์ ไทยในอดีต

แบ๊บติสต์ไทยในอดีตคือคริ สเตียนที่เกิด
จากงานของแบ๊บติสต์ลว้ นๆ (ทั้งจาก
มิชชันนารี แบ๊บติสต์ และคจ.แบ๊บติสต์ใน
มูลนิธิแบ๊บติสต์ในประเทศไทย และ
สคบ.)
แต่ปัจจุบนั แบ๊บติสต์ยงั รวมถึงคริ สตจักร/กลุ่มคริ ส
เตียน / องค์กร อีกหลายแห่งที่ไม่ได้เริ่ มจาก
งานของแบ๊บติสต์ แต่สนใจที่จะมีสามัคคี
ธรรม ร่ วมพันธกิจ และรับการรับรองทาง
กฎหมายภายใต้องค์กรของแบ๊บติสต์ (มูลนิธิ
แบ๊บติสต์)
 ผลก็คือ คริ สตจักรแบ๊บติสต์ไทยปั จจุบน
ั มีความ
หลากหลายทางความเชื่อและการปฏิบตั ิ จากเดิมจะเป็ น
แบบเซาเทิร์นแบ๊บติสต์จากอเมริ กา ปั จจุบนั ก็มแี บบอื่นที่
ต่างออกไปมากขึ้น บางอย่างก็รับอิทธิ พลมาจากสภา
(เพรสไบทีเรี ยน)
 ผลก็คือ คริ สตจักรแบ๊บติสต์ไทยปั จจุบน
ั มีความ
หลากหลายทางความเชื่อและการปฏิบตั ิ จากเดิมจะเป็ น
แบบเซาเทิร์นแบ๊บติสต์จากอเมริ กา ปั จจุบนั ก็มแี บบอื่นที่
ต่างออกไปมากขึ้น บางอย่างก็รับอิทธิ พลมาจากสภา
(เพรสไบทีเรี ยน) เช่นเรื่ องการมีคณะผูป้ กครอง และ
ผูป้ กครองชัว่ ชีวติ ต่อมาก็มีคริ สตจักรทีเ่ คยมีแนวความ
เชื่อแบบเพ็นเทคอสท์-คาริ สเมติก ก็จะมีเรื่ องการพูด
ภาษาแปลกๆ โครงสร้างการบริ หารแบบศิษยาภิบาลเป็ นใหญ่เบ็ดเสร็ จ (แบบอัครทูต) ฯลฯ
 นอกจากนี้ ในระยะหลังก็มีกระแสหลักความเชื่อใหม่
การบริ หารคริ สตจักรแบบใหม่ และวัฒนธรรมการ
นมัสการแบบใหม่บางอย่างที่เกิดขึ้นกับคริ สเตียนทัว่
โลก โดยเฉพาะในความเชื่อและวัฒนธรรมแบบ
เพนเทคอสท์ ที่ส่งผลให้คริ สตจักรแบ๊บติสต์ไทย
หลายแห่งที่เคยยึดถือแบบแบ๊บติสต์ด้ งั เดิมก็
เปลี่ยนแปลงตามโลกไปด้วยเช่นกัน
ในช่วงแรก ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้กเ็ ป็ นปัญหาในท่ามกลางแบ๊บ
ติสต์ไทยมากพอสมควร แต่ดูเหมือนว่าแบ๊บติสต์ไทยก็ค่อยๆ
ปรับตัวไปสู่ ความหลากหลายพอสมควร ดังที่เป็ นในปั จจุบนั
 ซึ่ งที่มีความเปลี่ยนแปลงและหลากหลายเช่นนี้ ได้ ก็เป็ นเพราะการที่
แบ๊บติสต์เน้นถึงหลักการคริ สตจักรมีอานาจปกครองตนเองเป็ น
อย่างมาก
 อาจมีคาถามว่า ยังคงมี “เอกลักษณ์ของแบ๊บติสท์” ที่แบ๊บติสต์ไทย
ควรรักษาไว้หรื อไม่?
 เป็ นคาตอบที่ตอบยาก ต้องมาดูดว
้ ยกันก่อนว่า “เอกลักษณ์ของแบ๊บ
ติสต์” คืออะไร และถูกต้องหรื อไม่ จึงจะตอบได้วา่ ควรรักษา
หรื อไม่

C. เอกลักษณ์ ของแบ๊ บติสต์ เป็ นอย่ างไร
 แบ๊บติสต์เริ่ มมาราวศตวรรษที่ 16
คริ สเตียนที่เป็ น
แบ๊บติสต์มีหลักความเชื่อพื้นฐานเหมือนกับคริ สเตียน
โปรเตสแต๊นท์โดยทัว่ ไป แต่มีบางสิ่ งแตกต่างเพิม่ เติม
 โปรเตสแต๊นท์ทวั่ ไปเป็ นอย่างไร?
หลักความเชื่อโปรเตสแต๊ นท์



พระคัมภีร์เท่ านั้น (Sola scriptura) พระคัมภีร์คือหลักการที่
มีสิทธิอานาจสู งสุ ดของผูเ้ ชื่อ ไม่ใช่บุคคลหรื อธรรมเนียม
ประเพณี ของคริ สตจักร หรื อแม้แต่ประสบการณ์ส่วนตัว
รอดโดยความเชื่อเท่ านั้น (Sola fide) – ความรอดมาโดยความ
เชื่อในพระเยซูคริ สต์เท่านั้น ไม่ใช่โดยการทาดีหรื อพิธีกรรมใด
ผู้เชื่อทุกคนเป็ นพวกปุโรหิตหลวงของพระเจ้ า ( The Priesthood
of all believers) คริ สเตียนทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่ตอ
้ งขึ้นกับ
โป๊ บหรื อบุคคลใด
แบ๊ บติสต์ กย็ งั ยึดถือบางอย่ างพิเศษเพิม่ เติมอีก เรียกว่ าเป็ น
“เอกลักษณ์ แบ๊ บติสต์ (Baptist Distinctive)”
 พระคัมภีรม
์ สี ทิ ธิอำนำจสูงสุด
- Biblical authority
( มธ.24:35; 1ปต.1:23; 2ทธ.3:16-17 )
 ผูเ้ ชือ
่ ทุกคนเป็ นปุโรหิตหลวง
– Priesthood of all believers
(1ปต.2:5-9; 1ทธ.5) คริสเตียนไม่ตอ้ งผ่ำนโป๊บ บำทหลวง
หรือศำสนจักร และสมำชิกคจ.ทุกคนมีสทิ ธิรว่ ม
ตัดสินใจเรือ่ งของคจ.เท่ำเทียมกัน
 บัพติศมาเฉพาะผูเ้ ชื่อด้วยการจุ่ม - believer’s baptism
(รม.6:3-5; คส.2:12)
 คริ สตจักรท้องถิ่นปกครองตนเอง - Autonomy of the
local church (มธ.18:15-17; 1 คร.6:1-3)
by immersion

เน้นสองตาแหน่งผูน้ าคริ สตจักร...ศิษยาภิบาลและมัคนายก
(pastor and deacons)
พระคัมภีร์ภาษาเดิมใช้ 3 คาที่หมายถึงตาแหน่งเดียวกันคือ
ผูป้ กครอง ศิษยาภิบาล และบิชอป (ผูด้ ูแล) ไม่ได้
หมายถึง 3 บุคคล หรื อ 3 ตาแหน่ง (แต่กไ็ ม่ได้หมายถึงการ
ต้องมี ศบ.ได้เพียงคนเดียว) คจ.แบ๊บติสต์จึงเลือกจะมี
ศบ. โดยไม่มี ผป. (สาหรับฆราวาสที่ช่วยทาหน้าที่เลี้ยงดูแบบ
ศบ. ก็จะถือเป็ นมัคนายก หรื อศิษยาภิบาลฆราวาส มากกว่าทีจะ
ตั้งเป็ นตาแหน่งผูป้ กครอง) ศบ. มีหน้าที่ดา้ นการดูแลด้านจิต
วิญญาณของมวลสมาชิก
 แยกคริ สตจักรจากอานาจรัฐ –
Seperation of
church and state
แยกระหว่างซี ซาร์กบั พระเจ้า (มธ.22:21)
1 ทธ.2:2
 หลักการของแบ๊บติสต์ขา้ งต้นได้รับการยอมรับจาก
คริ สตจักรทั้งหลายมากขึ้นเรื่ อยๆ จนแทบจะเป็ น
หลักการมาตรฐานใหม่ของโปรเตสแต๊นท์
ั
 แต่ถึงกระนั้นก็ยงั มีความแตกต่างระหว่างแบ๊บติสต์กบ
คณะอื่นๆ ในโปรเตสแต๊นท์
เพรสไบทีเรียน
เพนเทคอสต์
แบ๊ บติส๊ ต์
อานาจสู งสุ ดอยูท่ ี่คณะ
ผูป้ กครอง และเป็ นตลอด
ชีพ
คจ.ท้องถิ่นอยูใ่ ต้สภา
โดย ศิษยาภิบาล และเป็ น
ตลอดชีพ
ที่ประชุมรวมสมาชิก ศบ.
กับคณะมัคนายก เลือกตั้ง
มีวาระ
มีอานาจปกครองตัวเอง
คณะเป็ นการมาร่ วมมือ
จุ่ม (เท่านั้น)
มีช้ นั เดียว ไม่สาคัญมาก
มีอานาจปกครองตัวเอง
คณะเป็ นการมาร่ วมมือ
บัพติศมาด้วยการพรม/จุ่ม จุ่ม
มีศาสนศักดิ์หลายชั้น และ มีช้ นั เดียว ให้ความสาคัญ
ให้ความสาคัญ
นมัสการแบบพิธีกรรมมาก เน้นเพลงเมดเล่ยาวแบบ
ร่ วมสมัย และอธิ ษฐาน
ภาษาแปลกๆ
ไม่พดู ภาษาแปลก บางที่ให้ พูดภาษาแปลกๆ และเน้น
พูดส่ วนตัว
ให้พดู ดังออกมาอิสระ
พิธีกรรมน้อยกว่าอันแรก
ปัจจุบนั เปลี่ยนเป็ นแบบ
ร่ วมสมัยมาก
ปั จจุบนั ให้พดู ส่ วนตัว /
บางที่กพ็ ดู อิสระ
 ปั จจุบน
ั แบ๊บติสต์กม็ ีความหลากหลายมาก บางทีกเ็ ป็ น
เหมือนเพนเทคอสต์เต็มที่บางอย่างก็เหมือนเพรสไบ
ทีเรี ยน
 แต่เพรสไบที่เรี ยน และ เพนเตคอส หลายแห่ งก็เปลี่ยนไป
จากเดิมเช่นกัน
 เอกลักษณ์แบ๊บติสต์บางอย่างยังต้องรักษา แต่บางอย่าง
อาจต้องตีความใหม่
ข้ อสังเกตเพิม่ เติม
 คจ.แบ๊บติสต์ถา้ ทาแบบแบ๊บติสต์เดิมจะขนาดไม่ใหญ่มาก
และไม่ใหญ่ที่สุด เพราะให้อิสระสมาชิกมาก ไม่
เรี ยกร้องสมาชิกให้ภกั ดีและทาสิ่ งต่างๆ มาก
 แต่คณะแบ๊บติสต์จะมีจานวนคริ สตจักรมากและมากที่สุด
เพราะให้อิสระคริ สตจักรท้องถิ่นมาก คริ สตจักรท้องถิ่น
จะชอบ แบ๊บติสต์จึงเป็ นคณะที่มีจานวนคริ สตจักรและ
สมาชิกมากที่สุดในอันดับต้นๆ ของโลก
มายาวนาน
 มักเป็ นธรรมชาติของคริ สตจักรแบ๊บติสต์ ที่มก
ั จะเน้น
ความถูกต้องตามพระคัมภีร์ และ คุณธรรม จริ ยธรรม
มากกว่าความสาเร็ จของพันธกิจ
็ ะมีคริ สตจักรแบ๊บติสต์ที่หนั ไปใช้รูปแบบ
 แต่เวลานี้ กจ
อื่นๆ ที่ไม่ใช่แบบเดิมมากขึ้น เนื่องจากต้องการให้
คริ สตจักรเพิ่มขนาดมากขึ้น
 การที่ตอ
้ งการให้คริ สตจักรมีขนาดใหญ่ข้ ึนเป็ นเรื่ องดี
เพราะเท่ากับมีคนมารู ้จกั พระเจ้ามากขึ้น แต่กท็ าให้หลาย
คริ สตจักรเลือกใช้นโยบายบางอย่างที่เสี่ ยงต่อความ
ผิดพลาดหลายเรื่ อง เช่น ผูน้ าใช้อานาจมาก เรี ยกร้อง
ความภักดีเชื่อฟังมาก จนมีการใช้อานาจในทางที่ผดิ ไม่มี
การตรวจสอบและขาดสมดุล จนกระทัง่ ส่ งผลเสี ยหาย
ดังที่มีตวั อย่างปรากฏอยูเ่ นืองๆ
 คริ สตจักรของพระเจ้ายังจาเป็ นต้องเน้น “ความถูกต้อง”
“ความชอบธรรม” ก่อน “ความสาเร็ จ”
สรุป
 แบ๊บติสต์ไทยมาถึง 60
ปี แล้ว ถือว่าเกิน 1 ชัว่ อายุคน
เป็ นนิมิตหมายว่า แบ๊บติสต์ไทยเป็ นปึ กแผ่น มัน่ คง และ
อยูร่ อดแน่
 แต่เรายังมีด่านที่ตอ
้ งต่อสู ้ฟันฝ่ าไปด้วยกันอีกมาก เช่น
จะไปไหวไหมหากมิชชันนารี ไม่อยูแ่ ล้ว หรื อ IMB ไม่
สนับสนุนองค์กรของแบ๊บติสต์อีกต่อไปแล้ว (เช่น
โรงเรี ยนพระคริ สตธรรมแบ๊บติสต์) พี่นอ้ งแบ๊บติสต์ไทย
จะช่วยดูแลโรงเรี ยนต่อไปไหวไหม
อนาคตของแบ๊ บติสต์ ไทยขึน้ อยู่กบั เรา
 เราต้องรักษาความเชื่อของเราในสังคมไทยให้ดียงิ่ ขึ้น
 เป็ นแสงสว่าง เป็ นเกลือ และเป็ นกลิ่นหอม ของพระเจ้าให้
ดียงิ่ ขึ้น
 ทาตามพระมหาบัญชาอย่างเต็มศักยภาพให้มากยิง่ ขึ้น
 เป็ นน้ าหนึ่ งใจเดียวกันให้มากยิง่ ขึ้น