วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพา

Download Report

Transcript วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพา

ผศ. ดร. สาวิตรี คทวณิช
1





Discourse = ปริจเฉจ สัมพันธสาร วาทกรรม
ปริจเฉจ หมายถึง ย่อหน้า
สัมพันธสาร หมายถึง ความเชื่อมโยง (coherence)
Discourse Analysis = ปริจเฉจวิเคราะห์
วาทกรรม = บทบาทและหน้าทีข่ องภาษาในสังคม ปฏิสมั พันธ์ระหว่างภาษากับ
สังคม
2
Discourse Studies = วาทกรรมศึกษา
Critical Discourse Studies วาทกรรมศึกษาเชิงวิพากษ์: ทฤษฎีใน
กลุม่ นี้ เช่น Language and power, Ideology, Critical
Discourse Analysis, Sociocultural Approach,
Nexus Analysis, Community of Practice, Macro
Pragmatics, Emancipatory Pragmatics,
Discourse Historical Approach etc.
 นักวิชาการชัน้ นาในกลุม่ นี้ได้แก่ Hodge and Kress,
van Dijk, Fairclough, Wodak, Scollon and
Scollon, Wenger etc.


3

เป็ นวิธีการคิด วิธีการมองโลก เป็ นมุมมองใหม่ๆในการสร้างทฤษฎี การ
วิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้ เป็ นการสร้างสมมติฐานใหม่ ภาษาคืออะไร?
ภาษาได้รบั อิทธิพลจากอะไรบ้าง? ภาษามีหน้าทีอ่ ะไร?
4


เป็ นการวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์ทม่ี งุ่ มันจั
่ ดการประเด็นทางสังคมต่างๆ เช่น
ความไม่เท่าเทียมกัน การกดขีใ่ นรูปแบบต่างๆ
เป็ นความพยายามในการทาความเข้าใจประเด็นทางสังคม เงือ่ นไขทีก่ ่อให้เกิด
ประเด็น และการแสดงออก (manifestation) ของประเด็นดังกล่าว
5




มีจดุ ยืนแบบ นีโอ มาร์กซิสต์ (Neo Marxist stance): มีความเชื่อ
ว่าในสังคมมีความเหลือ่ มลา้ ในเชิงอานาจ มีการใช้อานาจในทางทีผ่ ดิ และมี
การกดขีค่ รอบงาระหว่างผูม้ อี านาจกับผูท้ ไ่ี ม่มอี ยู่ทวั ่ ไป และมีความสนใจศึกษา
กลไกในการกดขีค่ รอบงาดังกล่าว
หลุยส์ อัลตุสแซร์ (Louis Althusser)- RSA vs. ISA
Ideological State Apparatus,
อันโตนิโอ แกรมชี่ (Antonio Gramsci)- Hegemony
Frankfurt School of Critical Theory
6





มิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault) -Order of Things,
Archeology of Knowledge
ปิ แอร์ บูรด์ ิเออร์ (Pierre Bourdieu)- Reflexive
sociology, language and symbolic power
เดริดา (Jacques Derrida)-There is nothing outside
text.
บักติน (Mikhail Bakhtin) Plural or dialogic
meaning
CONCEPTUAL THEORY
7



Ideology – Hodge and Kress (1979) Language
as Ideology
Identity
What?-How?-Why?
8


เพือ่ เปิ ดเผยกลไกและ กระบวนการทีว่ าทกรรมสร้างและผลิตซา้ ความจริงทาง
สังคมต่างๆ
จุดมุง่ หมายสูงสุดคือปลดปล่อยประชาชนจากการถูกกดขี่ ครอบงาโดยเงือ่ นไข
และข้อจากัดต่างๆทีว่ าทกรรมบางประเภทกาหนดขึ้น
9




มีจดุ ยืนชัดเจนทางสังคมการเมือง (Sociopolitically
“situated”) – ไม่เป็ นกลาง และยอมรับในความไม่เป็ นกลาง เพราะ
เชื่อว่าผลิตผลทางสังคมต่างๆ (social artifacts) ได้รบั อิทธิพลจาก
ปัจจัยอืน่ ๆในบริบท ไม่มสี ง่ิ ใดทีเ่ ป็ นอิสระโดยสมบูรณ์จากปัจจัยภายนอก การ
วิเคราะห์วาทกรรมซึง่ เป็ นผลิตผลทางสังคมหนึ่งจึงต้องพิจารณาบริบทควบคู่กนั
ไปจึงจะเข้าใจอย่างถ่องแท้
ความคิด วิจารณญาณ (value judgement) เป็ นผลิตผลทางสังคม
เพราะเราได้รบั การปลูกฝังผ่านกระบวนการทางสังคมดังนัน้ จึงไม่ได้เป็ นอิสระ
โดยสมบูรณ์จากปัจจัยภายนอกเช่นกัน
ยอมรับว่าผลิตผลทางสังคมใดใดย่อมเปลีย่ นแปลงไปหากปัจจัยในบริบท
เปลีย่ น
10
 แฟร์คลัฟ และโวดัก (1997: 271-80)
1. วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์มงุ่ จัดการปัญหาสังคม
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ความสัมพันธ์เชิงอานาจถูกสร้างขึ้นและแสดงออกในวาทกรรม
วาทกรรมประกอบสร้างสังคมและวัฒนธรรม
วาทกรรมทาหน้าทีส่ ร้างและผลิตซา้ อุดมการณ์ต่างๆ
วาทกรรมมีมติ ทิ างประวัตศิ าสตร์
ความเชื่อมโยงระหว่างตัวบทกับสังคมไม่ใช่การเชื่อมโยงโดยตรง
วาทกรรมวิเคราะหืตอ้ งทาหน้าทีต่ คี วามและอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ
วาทกรรมเป็ นกิจกรรมทางสังคมรูปแบบหนึ่ง
11





วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์เป็ นสหวิทยาการคาบเกี่ยวการวิเคราะห์ในหลาย
ศาสตร์ เพือ่ ให้เป็ นทีย่ อมรับจะต้องแสดงการวิเคราะห์อย่างครบถ้วนตาม
มาตรฐานอันเป็ นทีย่ อมรับของทุกศาสตร์
มุง่ ศึกษาปัญหาสังคมและประเด็นในทางการเมือง
การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ทม่ี ขี อ้ มูลในเชิงประจักษ์ครบถ้วนมักเป็ นสหสาขาวิชา
การวิเคราะห์ไม่เพียงแค่บรรยายโครงสร้างของวาทกรรมแต่ตอ้ งอธิบายว่า
โครงสร้างมีคณ
ุ ลักษณะเกี่ยวข้องกับปฏิสมั พันธ์ทางสังคมและโครงสร้างทาง
สังคมอย่างไร
มุง่ อธิบายว่าโครงสร้างวาทกรรมแสดง ตอกย้า สร้างความชอบธรรมหรือ ท้า
ทายโครงสร้างอานาจและการครอบงาทางสังคมอย่างไร
12



เป็ นแนวคิด ไม่มีระเบียบวิธที ่รี ะบุไว้ชดั เจน – สามารถประยุกต์ ปรับเปลี่ยน
ได้
กรอบการวิเคราะห์ปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของข้อมูลที่นามาวิเคราะห์
กรอบการวิเคราะห์จะต้องประกอบด้วยสองส่วน คือ การวิเคราะห์ระดับ
มหัพภาค และการวิเคราะห์ในระดับจุลภาค
13


มหัพภาค หมายถึง การวิเคราะห์บริบท ได้แก่ อานาจ การครอบงา และความ
ไม่เท่าเทียมกันของกลุม่ ต่างๆในสังคม
จุลภาค หมายถึง การวิเคราะห์ตวั บทวาทกรรม ได้แก่ การใช้ภาษา ลักษณะ
ทางภาษาต่างๆ วาทกรรม ปฏิสมั พันธ์ทางภาษาและการสือ่ สาร
14
Text production
Text
Text consumption
Discourse practice
Sociocultural practice
Fig. 3
A framework for critical discourse analysis of a communicative event
(Fairclough 1995a: 59)
15

ปัจจัยทีต่ อ้ งพิจารณาในบริบททางสังคมวัฒนธรรม
Critical Discourse Analysis
Sociocognitive Approach
Social events
Specific instance of text*
Macrolevel categories
1. Domain (field)
2. Global Actions
3. Institutional Actors
Social practices
Ways of controlling selection of
certain structural possibilities.
Mediate structure and event
Microlevel categories
1. Setting
2. Local Actions
3. Participants
4. Cognition
Social structures
Abstraction defines potential set of
possibilities
16



Discourse production: ผูส้ ่งสาร เงือ่ นไขในบริบทการผลิต ช่อง
ทางการเผยแพร่สาร
Discourse consumption: ช่องทางการรับสาร กลุม่ ผูร้ บั สาร
เป้ าหมาย
โมเดลการวิเคราะห์กระบวนการสือ่ สาร
Sender Message Channel Receiver
17



วิเคราะห์กลวิธที างภาษาทีท่ าหน้าทีใ่ นบริบท เช่น ผลิตซา้ อุดมการณ์ ธารง
รักษาโครงสร้างสังคม ช่วยให้ผูส้ ่งสารบรรลุจดุ มุง่ หมายในบริบท
เป็ นการวิเคราะห์ในระดับคา หรือในระดับปริจเฉจ
อาจนาทฤษฎีวจั นปฏิบตั ศิ าสตร์หรือ ปริจเฉจวิเคราะห์มาประยุกต์ใช้ในแนวทาง
วิพากษ์ เช่น การวิเคราะห์บทสนทนา ( adjacency pairs) การ
วิเคราะห์ความสุภาพ (face, appropriateness)
18



วาทกรรมการเมือง: การสร้างความชอบธรรม legitimation
วาทกรรมในสือ่ สารมวลชน: สร้างและผลิตซา้ อุดมการณ์ต่างๆ เช่นทุนนิยม
วัตถุนิยม บริโภคนิยม
วาทกรรมกับdiscrimination: การผลิตซา้ ค่านิยมทีส่ ร้างและตอกยา้
ความไม่เท่าเทียมกันของคนในประเด็นต่างๆ เช่น racial
discrimination, gender discrimination,
discriminate against political ideology?
19


CDS is defined as an academic movement or
socially and politically committed attitude
when doing social analysis by doing discourse
analysis rather than theory.
What CDS class can do is to present some
resources for those students who are already
interested in, and motivated to engage in
socially committed research to introduce
basic principles- theory fragments –
bibliographical suggestions etc.
20


CDS is not method of research. It is a (cross)
discipline.
CDS is general academic activity of studying
discourse. The analysis can be carried out by
large number of various methods.
21
Van Dijk, T.A. (ed.)(2011). Discourse Studies: A Multidisciplinary
Introduction (2nd edition). London: Sage. (Complete guide to
Discourse Studies. Level: intermediate).
Robson, M. and P. Stockwell (2005). Language in Theory: A
Resource Book for Student. London: Routledge. (Introduction to
theories upon which CDA based. Level: beginner).
Fairclough, N. (2003). Analysing Discourse: Textual Analysis for
Social Research. London: Routledge. (Introduction to CDA and
its application. Level: Intermediate)
Van Dijk, T. (2010). Discourse and Context: A Sociocognitive
Approach. Cambridge: Cambridge University Press.
(Introduction to SCA with detail explanation of the SCA
analysis procedure. Level: Intermediate)
22