เศรษฐศาสตร์การเมือง

Download Report

Transcript เศรษฐศาสตร์การเมือง

เศรษฐศาสตร์ การเมือง
อารี ลกั ษณ์ พูลทรัพย์
Neo-Marxism
มุ่งเน้นที่จะศึกษาการพัฒนาและการด้อยพัฒนาของประเทศ
โลกที่ 3
แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
1. ศึกษาการพัฒนา (Development School)
- ความด้อยพัฒนาของประเทศที่ 3 เกิดจากปัจจัยภายในของ
ประเทศโลกที่ 3 เอง
- Trickle Down Theory
Neo-Marxism
2.
ศึกษาการด้อยพัฒนา (Underdevelopment School)
- การด้อยพัฒนาของประเทศโลกที่ 3 เกิดจากการถูกดูดเข้า
ไปเป็ นส่ วนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของ
ประเทศพัฒนาแล้ว ความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่าง
ประเทศที่พฒั นาแล้วกับประเทศโลกที่ 3 ภายใต้
กระบวนการพัฒนาแบบทุนนิยมตามระบบโลก
- แบ่งออกเป็ น 4 กระแสการวิเคราะห์ที่สมั พันธ์กนั
Neo-Marxism
1.
2.
3.
4.
•
•
ศึกษาความการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศโลกที่ 1 และ โลก
ที่ 3
ศึกษาบริ บททางการผลิต ความซ้ าซ้อนของวิถีการผลิตซึ่ง
กาหนดความสัมพันธ์ในสังคม
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นในมิติของวิถีการผลิตและ
ความสัมพันธ์ทางสังคม
ศึกษาวิเคราะห์รัฐ
ความเป็ นอิสระเชิงเปรี ยบเทียบ
ความเป็ นอิสระโดยสมบูรณ์
Neo-Marxism
Dependency School
Andre Gunter Frank นักวิชาการลาตินอเมริ กา
ทฤษฎี Modernization มองว่าความด้อยพัฒนาของประเทศโลก
ที่ 3 เกิดจากลักษณะภายในของประเทศโลกที่ 3 เอง
Frank เห็นว่าเป็ นการมองแบบประนามหยามเหยียดเหยือ่ จึง
สร้างทฤษฎี Dependency ขึ้นมา โดยมองว่าความด้อยพัฒนา
ของประเทศโลกที่ 3 เกิดจากการเข้าไปมีปฏิสมั พันธ์กบั ประเทศ
โลกที่ 1 และถูกทาให้ดอ้ ยพัฒนา ดังนั้น การพัฒนาของประเทศ
โลกที่ 3 จึงเป็ นการพัฒนาไปบนความด้อยพัฒนา
Dependency
ทฤษฎี Modernization มองว่าความด้อยพัฒนาของประเทศ
โลกที่ 3 เกิดจากลักษณะภายในของประเทศโลกที่ 3 เอง
Frank เห็นว่าเป็ นการมองแบบประนามหยามเหยียดเหยือ่ จึง
สร้างทฤษฎี Dependency ขึ้นมา โดยมองว่าความด้อยพัฒนา
ของประเทศโลกที่ 3 เกิดจากการเข้าไปมีปฏิสมั พันธ์กบั
ประเทศโลกที่ 1 และถูกทาให้ดอ้ ยพัฒนา ดังนั้น การพัฒนา
ของประเทศโลกที่ 3 จึงเป็ นการพัฒนาไปบนความด้อยพัฒนา
Dependency
นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่สนใจศึกษาแต่ประเทศพัฒนาแล้ว
ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาจึงเป็ นผลผลิตทางประวัติศาสตร์ของ
ประเทศที่พฒั นาแล้ว
การละเลยต่อประวัติศาสตร์ของประเทศด้อยพัฒนาทาให้เรา
เข้าใจว่าประวัติศาสตร์ของประเทศเหล่านี้เหมือนกับประเทศที่
พัฒนาแล้ว
Dependency
การสร้างแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาที่ไม่อาจอธิบายโครงสร้าง
และการพัฒนาของระบบทุนนิยมและไม่อาจอธิบายถึงการด้อย
พัฒนาและพัฒนาแล้วที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กันในส่ วนต่างๆ ของ
โลกได้ดว้ ย
ความด้อยพัฒนาของประเทศโลกที่ 3 ไม่ใช่สภาพที่มีมาแต่เดิม
แต่เกิดจากการที่โลกที่ 3 เข้าไปเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบทุน
นิยมโลกและไปมีความสัมพันธ์กบั ประเทศที่พฒั นาแล้วใน
ฐานะเมืองบริ วารกับศูนย์กลาง
Dependency
แก่นแท้ของโครงสร้างและการพัฒนาในระบบทุนนิยมโลก
คือ ความสัมพันธ์แบบศูนย์กลางและเมืองบริ วาร
จากการมองประวัติศาสตร์และประสบการณ์ของประเทศด้อย
พัฒนาจะเห็นได้วา่ การพัฒนาของประเทศโลกที่ 3 จะเกิดขึ้น
ได้ต่อเมื่อโลกที่ 3 เป็ นอิสระจากความสัมพันธ์ดงั กล่าว
เป็ นการปฏิเสธข้อสรุ ปที่วา่ ลักษณะทวิลกั ษณ์ทางเศรษฐกิจ
และสังคมในประเทศด้อยพัฒนาเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นเองใน
ประเทศด้อยพัฒนา
Dependency
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศโลกที่ 3 เป็ นผลมา
จากการพัฒนาของทุนนิยมโลก ความด้อยพัฒนาของโลกที่ 3
เกิดจากการพัฒนาของประเทศโลกที่ 1 และความด้อยพัฒนา
ของชนบทที่เกิดจากการพัฒนาของเมือง ระบบทุนนิยมได้
ระดมทุนสูบเอาส่ วนเกินจากชนบทไปพัฒนาเมือง และจาก
โลกที่ 3 ไปพัฒนาโลกที่ 1 ดังนั้น ยิง่ โลกที่ 1 พัฒนา โลกที่ 3
ก็ยงิ่ ด้อยพัฒนา และยิง่ พัฒนาเมืองชนบทก็ยงิ่ ล้าหลัง
Dependency
ระบบอุตสาหกรรมไม่ได้ทาให้โลกที่ 3 หลุดพ้นจากการเป็ น
เมืองบริ วาร แต่ทาให้เกิดโครงสร้างความสัมพันธ์แบบ
ศูนย์กลางและเมืองบริ วารขึ้นในประเทศ นัน่ คือ
ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและชนบท
ความด้อยพัฒนาไม่ได้เกิดจากสภาพเศรษฐกิจแบบโบราณ
และการขาดแคลนทุนภายในประเทศ แต่เกิดจากกระบวนการ
ทางประวัติศาสตร์และการพัฒนาทางเศรษฐกิจของระบบทุน
นิยมโลก
Dependency
โลกที่ 3 ต้องเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางเศรษฐกิจจากการผลิตเพื่อ
ยังชีพเป็ นการผลิตเพื่อการค้าและการส่ งออกตามความต้องการ
ของโลก เศรษฐกิจในประเทศที่เคยอยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเองก็
เปลี่ยนแปลงมาเป็ นต้องพึ่งพาเศรษฐกิจภายนอก นาไปสู่ การ
พัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนการนาเข้า ซึ่งก็ตอ้ งพึ่งพิงทุน
เทคโนโลยี และวัตถุดิบจากภายนอกอีก
Dependency
ชุดของสมมติฐานเกี่ยวกับการพัฒนาและการด้อยพัฒนา 5 ข้อ
คือ
สมมติฐานที่ 1. ภายใต้โครงสร้างความสัมพันธ์แบบศูนย์กลาง
และบริ วาร มหานครจะมีการพัฒนาในขณะที่บริ วารจะด้อย
พัฒนา การพัฒนาของภูมิภาครองๆ จะถูกจากัดโดยสถานภาพ
ของการเป็ นเมืองบริ วาร
Dependency
สมมติฐานที่ 2. ประวัติศาสตร์และประสบการณ์ของเมือง
บริ วาร เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศจะพัฒนามาก
ที่สุดเมื่อการเชื่อมโยงกับประเทศศูนย์กลางลดน้อยลง แต่เมื่อ
ศูนย์กลางหลุดพ้นจากความตึงเครี ยดก็ฟ้ื นฟูการค้าและการ
ลงทุน ทาการรวมเอาเมืองบริ วารเข้าสู่ระบบทุนนิยมโลก ปิ ด
กั้น ควบคุมการพัฒนาที่ผา่ นมาและทาให้สูญเสี ยความมัน่ คงไป
เมืองบริ วารไม่ได้ถูกรวมเข้าสู่ระบบทุนนิยมโลกโดยไม่มีการ
ต่อสู ้ ความขัดแย้งระหว่างศูนย์กลางกับบริ วารได้นาไปสู่การ
ต่อสูท้ ้ งั ทางการเมืองและการทหาร การต่อสูไ้ ด้ทาลายศักยภาพ
ในการพัฒนาเศรษฐกิจของเมืองบริ วาร
Dependency
สมมติฐานที่ 3. มาจากโครงสร้างแบบศูนย์กลาง – เมืองบริ วาร
ในอดีตเมืองหลักๆ ของโลกที่ 3 จะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ
ศูนย์กลางทาหน้าที่ผลิตและส่ งสิ นค้าขั้นมูลฐานให้ศูนย์กลาง
เมื่อเมืองหลักเหล่านี้หมดสภาพในการตอบสนองต่อความ
ต้องการของศูนย์ ก็จะถูกละทิ้งให้ไม่มีทางเลือกและได้ยดั เยียด
สภาพของความด้อยพัฒนาให้
สภาพด้อยพัฒนาไม่ได้มาจากสภาพดั้งเดิมของภูมิภาคแต่มาจาก
การเข้าไปมีส่วนร่ วมในระบบทุนนิยมโลกและถูกยัดเยียดความ
ด้อยพัฒนาให้
Dependency
สมมติฐานที่ 4. การเกิดขึ้นของฟาร์มหรื อไร่ เศรษฐกิจเป็ น
ตัวอย่างการเกิดกิจการค้าขึ้นมาเพื่อเพิ่มกาลังการผลิต
ตอบสนองความต้องการที่มากขึ้นในตลาดโลก โดยการะดม
ทุน ที่ดิน แรงงาน และ supply อื่นๆ ในการผลิต
สมมติฐานที่ 5. ฟาร์มหรื อไร่ เศรษฐกิจซึ่งเกิดขึ้นบนพื้นฐาน
ของระบบกึ่งศักดินา และการใช้แรงงานทาส เกิดขึ้นเพื่อ
ตอบสนองความต้องการในสิ นค้าและกาลังการผลิตของ
ภูมิภาคที่เสื่ อมถอยลงโดยทัว่ ไปและเป็ นการพยายาม
วางรากฐานเบื้องต้นในการเป็ นภูมิภาคผูส้ ่ งออกสิ นค้า
ทางการเกษตรและแร่
World System
1.
2.
Immanuel Wallerstein American sociologist, historical
social scientist, and world-systems analyst
ได้รับอิทธิพลทางความคิดจาก เฟอร์ดินานด์ บอร์เดล นัก
ปวศ.
ฐานคิดที่สาคัญ
ปวศ. คือ อดีต ปัจจุบนั และอนาคต
การวิเคราะห์ปวศ.ผ่านกรอบของความเป็ นรัฐชาติ แต่รัฐ
ชาติเพิง่ เกิดขึ้นในศตวรรษที่16 ทาให้เป็ นการอธิบายแบบ
อคติ
World System
อดีตไม่มีพรมแดน อู่อารยธรรมของโลกเริ่ มที่เอเชียอารยธรรมมี
การส่ งผ่าน ถ่ายทอด เคลื่อนไหวไปทัว่ โลก การแบ่งตะวันออก
ตะวันตกเป็ นการพยายามสร้างคู่ตรงข้ามให้เกิดขึ้น แหล่งอารย
ธรรมของตะวันตกไม่ใช่เพียงกรี ก โรมัน การตัดตอนอารยธรรม
เป็ นการยกตะวันตกให้อยูเ่ หนือตะวันออก สร้างความชอบ
ธรรมให้กบั เรอเนซองส์และmodernization
ใช้ทิศทางและเกณฑ์การพัฒนาแบบตะวันตกมาชี้วดั และตัดสิ น
ตะวันออกว่าป่ าเถื่อนและด้อยพัฒนา สร้างความชอบธรรมใน
การเข้ายึดครอง ในนามของการพัฒนาและให้ความรู ้
World System
มองว่าทุนนิยมเป็ นระบบโลก ไม่ใช่ระบบระดับประเทศ
การศึกษาระดับประเทศทาให้ไม่เข้าใจความเป็ นไปของโลก
สิ่ งที่อยูใ่ นความรับรู ้ของเราในปัจจุบนั เป็ นส่ งผ่านและกล่อม
เกลาทางการเมืองเพื่อสร้างรัฐ-ชาติ
พัฒนาการของโลกเป็ นเสมือนคลื่น เกิด, เติบโตและเคลื่อนตัว,
โตเต็มที่เร็ วเต็มที่, เสื่ อม, ล่มสลาย เหมือนปวศ.พัฒนาการของ
ทัว่ โลกเกิด โต เสื่ อมสลาย
ทฤษฎีเคออส(Chaos Theory) ภาวะวุน่ วาย สับสน จัดระเบียบ
ไม่ได้ ถูกนามาประกอบการอธิบายและวิพากษ์การ
เจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจตามแบบทุนนิยมโลก
World
System
Theory
core
Semi-pheriphery
pheriphery
Antonio Gramsci
1.
2.
3.
4.
Superstructure เน้นการวิเคราะห์โครงสร้างส่ วนบนเป็ นหลัก
Hegemony การครอบงาทางการปกครอง คือ กระบวนการ
กล่อมเกลาทางสังคมที่ทาให้ประชาชนยอมรับในความชอบ
ธรรมในการมีอานาจของชนชั้นปกครอง ยอมรับใน
ความชอบธรรมของชนกลุ่มน้อย
โครงสร้างส่ วนล่างสามารถจากัดบทบาทของรัฐ (limit not
determine
รัฐคือส่ วนยอดที่มีความสาคัญ การคงอยูข่ องระบบขึ้นอยูก่ บั
รัฐซึ่งเป็ นผูผ้ ลิตและเผยแพร่ อุดมการณ์ สถานะของรัฐเป็ น
เสมือนปูนซีเมนส์ทาหน้าที่ตวั เชื่อมรอยต่อซ่อมแซมรอยร้าว
Antonio Gramsci : Keyword
Keyword 1 Politic = Philosophy = History
คาทั้ง 3 คา มีความหมายเดียวกันสามารถใช้ทดแทนกัน
ได้ ประวัติศาสตร์ ของมนุษย์ต้ งั แต่อดีตถึงปั จจุบนั เป็ น
ประวัติศาสตร์ของความขัดแย้งทางความคิด ซึ่งนาไปสู่
การต่อสู้ทางความคิดระหว่างคนกลุ่มต่างๆ เพราะต่าง
พยายามที่จะยัดเยียดความคิดของกลุ่มตนให้กบั คนกลุ่ม
อื่นๆ โดยกระบวนการทางการเมืองและสังคม
Antonio Gramsci : Keyword
Keyword 2 Culture/Hegemony
Something is holding the people together
การได้มาซึ่งอานาจของคนกลุ่มหนึ่งคือการพยายามที่จะทาให้
ความคิดของกลุ่มตนกลายเป็ นความคิดของสังคม โดยให้คน
กลุ่มอื่นๆ ยอมรับและเชื่อในความคิดดังกล่าว ก่อนที่จะเป็ น
ผูป้ กครองหรื อครองความเป็ นเจ้าต้องสถาปนาอานาจในการนา
ให้ได้หรื อต้องครองใจประชาชนให้ได้ ถ้าอานาจได้มาด้วย
กาลังจะเป็ นเพียงชัยชนะในช่วงเวลาสั้นๆ และเป็ นผลให้
ผูป้ กครองต้องใช้อานาจในการกดบังคับเสมอไป
Antonio Gramsci : Keyword
Hegemony
Relation of Hegemony คือ การสถาปนาอานาจนาหรื อการ
ครองความเป็ นเจ้า คือการมีอานาจหรื ออิทธิพลครอบงาเหนือ
ความคิดของประชาชน กล่อมเกลาให้ประชาชนดาเนินไปใน
ทิศทางเดียวกัน เชื่อในบางอย่างร่ วมกัน ไม่ปล่อยให้สิ่งอื่นๆ
แทรกเข้ามาดึงความคิดและศรัทธาของประชาชนไป
Relation of Force คือ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงอานาจ
ระหว่างกลุ่มต่างๆ ในสังคม การประเมินกาลังและประลอง
กาลังระหว่างกัน การช่วงชิงกลไกและเครื่ องมือของอานาจ
Antonio Gramsci : Keyword
Keyword 3 Civil Society – Political or State Society
โครงสร้างทั้งส่ วนบนและส่ วนล่างมีลกั ษณะปฏิสมั พันธ์กนั
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจซึ่งเป็ นโครงสร้างส่ วนล่างอาจ
ถูกกาหนดโดยรัฐซึ่งเป็ นโครงสร้างส่ วนบนและโครงสร้าง
ส่ วนล่างก็สามารถจากัดโครงสร้างส่ วนบน
Gramsci แบ่งโครงสร้างส่ วนบนออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
1. (Civil Society) ประชาสังคมคือส่ วนที่รัฐไม่มีอานาจผูกขาด จึง
ต้องใช้เครื่ องมือทางอุดมการณ์ในการสร้างความชอบธรรมใน
การปกครองของรัฐ เป็ นเครื่ องมือในการสร้างความยินยอม
(consent)
2. (Political or State Society) หมายถึงส่ วนที่ผกู ขาดอานาจโดยรัฐ
รัฐจึงไม่ตอ้ งแสวงหาการยินยอมแต่สามารถใช้อานาจในการกด
บังคับ (coercion) ได้
Antonio Gramsci : Keyword
Keyword 4 Organic Intellectual
กลไกที่มีประสิ ทธิภาพอย่างยิง่ ในกระบวนการกล่อมเกลาทาง
สังคมและการเมืองคือปัญญาชนสังคม
Keyword 5 Passive Revolution = Evoluation
การปฏิวตั ิตอ้ งเริ่ มจากการปฏิวตั ิทางวัฒนธรรมไม่ใช่การเมือง
ต้องเริ่ มจากการโน้มน้าวความคิดและจิตใจคนให้เชื่อและ
ยอมรับไม่ใช่การใช้กาลังกดบังคับ การเปลี่ยนแปลงอย่างค่อย
เป็ นค่อยไป การดึงฝ่ ายตรงข้ามเข้ามาเป็ นพวก
Louis Althusser : Structural Marxism
1.
2.
3.
ศึกษาและตีความงานของ Marx ใหม่ โดยแบ่งออกเป็ น 3 ช่วง
Marx ยุคแรก เป็ น Humanism Marx รักมนุษย์ คิดว่ามนุษย์
ควรได้รับในสิ่ งที่พวกเขาคิดและประดิษฐ์ เชื่อมัน่ ในความ
เป็ นมนุษย์ แต่มนุษย์ไม่ได้เป็ นอย่างที่ Marx คาดหวังและ
เข้าใจ
ช่วงเปลี่ยนผ่าน
Marx ช่วงหลัง ผิดหวังกับมนุษย์ มนุษย์ไม่ใช่ผกู ้ าหนด แต่
มนุษย์ถูกควบคุมโดยสิ่ งที่ตวั เองสร้างขึ้นมาแต่ไม่รู้ตวั มีชุด
ความรู ้บางอย่างครอบงาให้เราคิดว่าเราควบคุมทุกอย่าง และ
มนุษย์ไม่สามารถหลุดจากสิ่ งที่ครอบงาได้
Louis Althusser : Structural Marxism
1.
2.
เน้ นการศึกษารัฐ โดยมองว่ ารัฐเป็ นอิสระโดยสมบูรณ์ จากการ
ควบคุม
Keyword
Man as Support มนุษย์เป็ นเพียงผูส้ นับสนุนกลไกดังกล่าว
ไม่ใช่ผกู ้ าหนดกลไก แต่เราถูกหลอกให้รู้สึกว่าเป็ นผูก้ าหนด
กลไก
Superstructure โครงสร้างส่ วนบนของรัฐแบ่งกลไกการ
ทางานออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
การปราบปราม
การครอบงาโดยอุดมการณ์
Louis Althusser : Structural Marxism
3.
4.
Interpellation มนุษย์เป็ นเพียง subject ไม่ใช่ SUBJECT
Overdeterminism เศรษฐกิจไม่ใช่ปัจจัยหลักที่กาหนดรัฐ แต่
ทุกๆ ปัจจัยมีส่วนกาหนดรัฐ
เป็ นการศึกษารัฐจากภายในของรัฐ เน้นการศึกษากลไกของ
รัฐ รัฐ คือ กลุ่มขององค์กร องค์การ และสถาบันที่ทาหน้าที่
ใช้อานาจรัฐ รัฐไม่ใช่เพียงกลไกด้านบริ หารและการปกครอง
แต่เป็ นระบบของการกดขี่ครอบงาทางชนชั้น อันเป็ นผลผลิต
ของการต่อสูท้ างชนชั้นในประวัติศาสตร์
Nicos Poulantzas
1.
2.
3.
4.
Key Ideology
State is not instrument of class rule
Classes not Determine by economy alone
Relation change not machanical
Classes in “struggle” (not class conflict)
Nicos Poulantzas
1.
2.
3.
4.
thus
Relative autonomy of the state
Complex structure
Class fraction
Hegemony
Nicos Poulantzas
ชนชั้นไม่ได้ถูกกาหนดโดยปัจจัยทางเศรษฐกิจด้านเดียว แต่ถูก
กาหนดโดยปัจจัยด้านการเมืองและอุดมการณ์
รัฐไม่ได้ต้ งั อยูบ่ นโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่อยู่
บนโครงสร้างของหลายๆ ส่ วน
ชนชั้นบนไม่ได้เป็ นหนึ่งเดียวกัน แต่ประกอบด้วยหลายกลุ่มที่มี
ผลประโยชน์แตกต่างกัน ตรงข้ามกัน
ชนชั้นบนรวมกันโดยกระบวนการทางานของรัฐและการเมือง
ซึ่งแบ่งแยกชนชั้นล่างออกจากกันให้ไม่สามารถรวมตัวกันได้
เพื่อธารงรักษาระบบทุนนิยม
Nicos Poulantzas
There are many “classes in conflict”
or “classes in struggle”
State becomes, therefore, are arena
of this classes struggle
State becomes “autonomous” due to
the “classes in conflict” situation and
has its own interest
Neo- Imperialism
Military
Monetary
Media