การโน้มน้าวใจ

Download Report

Transcript การโน้มน้าวใจ

Slide 1


Slide 2

ความหมายของการโน้ มน้ าวใจ
หมายถึง การใช้ ความพยายามที่จะเปลีย่ นความเชื่อ
ทัศนคติ และการกระทาของบุคคลอืน่ ด้ วยกลวิธีที่
เหมาะสม จนเกิดการยอมรับ และยอมเปลีย่ นตามทีผ่ ู้
โน้ มน้ าวใจต้ องการ


Slide 3

ความต้ องการขั้นพืน้ ฐานของมนุษย์
กับการโน้ มน้ าวใจ
• ความต้ องการขั้นพืน้ ฐานของมนุษย์ เป็ นตัวการทาให้
มนุษย์ สร้ างทัศนคติ ความเชื่อ ค่ านิยม และแสดง
พฤติกรรมต่ างๆ เพือ่ สนองความต้ องการของตน


Slide 4

ตัวอย่ าง
ความต้ องการขั้นพืน้ ฐานของมนุษย์
- ต้ องการอาหาร
- ต้ องการความมั่นคงในชีวติ
- ต้ องการความรัก
ฯลฯ


Slide 5

กลวิธีการโน้ มน้ าวใจ
สามารถสรุปได้ ดังนี้
๑. แสดงให้ เห็นถึงความน่ าเชื่อถือของบุคคลผู้โน้ มน้ าวใจ
๒. แสดงให้ เห็นความหนักแน่ นของเหตุผล
๓. แสดงให้ เห็นถึงความรู้สึกหรืออารมณ์ ร่วมกัน


Slide 6

กลวิธีการโน้ มน้ าวใจ(ต่ อ)
๔. แสดงให้ เห็นทางเลือกทั้งด้ านดีและด้ านเสี ย
๕. สร้ างความหรรษาแก่ ผ้ ูรับสาร
๖. เร้ าให้ เกิดอารมณ์ อย่ างแรงกล้ า เพือ่ ให้ การโน้ มน้ าวใจ
สั มฤทธิ์ผลได้ ง่ายขึน้


Slide 7

ข้ อสรุปของการโน้ มน้ าวใจ
• การโน้ มน้ าวใจมิใช่ การเปลีย่ นความรู้สึกนึกคิดและ
พฤติกรรม ด้ วยวิธีข่ ูเข็ญ คุกคาม หรือหลอกลวง

• การโน้ มน้ าวใจมิใช่ พฤติกรรมที่ดีหรือเลว แต่ เป็ น
พฤติกรรมกลางๆ ขึน้ อยู่กบั เจตนาทีอ่ ยู่เบือ้ งหลัง


Slide 8

ข้ อสรุปของการโน้ มน้ าวใจ(ต่ อ)
• การโน้ มน้ าวใจเป็ นการกระทาทีม่ จี ุดมุ่งหมายเสมอ และ
ต้ องใช้ กลวิธีทที่ าให้ เกิดผล

• การเรียนรู้ วธิ ีโน้ มน้ าวใจ ต้ องมีความรับผิดชอบทาง
จริยธรรมควบคู่กนั ไปด้ วยเสมอ


Slide 9

ภาษาที่โน้ มน้ าวใจ
• ควรเป็ นภาษาสุ ภาพ ไม่ บังคับหรือแสดงอานาจ พยายาม
ใช้ นา้ เสี ยงทีน่ ่ ุมนวล น่ าฟัง ชัดเจน กระชับและรัดกุม ทา
ให้ ผ้ ูฟังเกิดความคล้ อยตาม เช่ น คาขวัญ
• คาขวัญ คือ ถ้ อยคาสั้ นๆทีก่ ระชับและชัดเจนมาเรียงกัน มี
สั มผัสในคล้ องจอง เช่ น คาขวัญวันเด็กประจาปี พ.ศ.
๒๕๕๑ ทีว่ ่ า “สามัคคี มีวนิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ เชิดชู คุณธรรม”


Slide 10

การพิจารณาสารโน้ มน้ าวใจในลักษณะต่ างๆ
อาจแบ่ งได้ ๓ ชนิด ดังนี้
๑. คาเชิญชวน
๒. โฆษณาสิ นค้ า หรือโฆษณาบริการ
๓. โฆษณาชวนเชื่อ


Slide 11

คาเชิญชวน
• คาเชิญชวน มักเน้ นให้ ผ้ ูรับสารคล้ อยตามว่ าปฏิบัติตามแล้ ว
จะเป็ นที่ยอมรับในสั งคม
• อาจปรากฏในรู ปของใบประกาศ แผ่ นปลิว โปสเตอร์
• อาจบอกด้ วยวาจาเฉพาะหน้ า ผ่ านทางเครื่องขยายเสี ยง วิทยุ
หรือโทรทัศน์
• คาประกาศเชิญชวน มักจะบ่ งบอกจุดประสงค์ อย่ างชัดเจน
และชี้ให้ เห็นถึงประโยชน์ แก่ ส่วนรวม รวมทั้งวิธีปฏิบัติ


Slide 12

กลวิธีในการเขียนคาเชิญชวน
คือ การกระตุ้นให้ ผู้ถูกโน้ มน้ าวเกิดความภูมิใจว่ า ถ้ า
ปฏิบัตติ ามคาเชิญชวน จะได้ ชื่อว่ า เป็ นผู้ที่ทา
ประโยชน์ ให้ แก่ ส่วนรวม และเป็ นที่ยอมรับอย่ างมี
เกียรติในสั งคม สารโน้ มน้ าวชนิดนีม้ ักจะเป็ นไป
ในทางวัฒนะ


Slide 13

โฆษณาสิ นค้ าหรือโฆษณาบริการ
เน้ นสิ นค้ าและการบริการ มุ่งประโยชน์ ทางธุรกิจ โดย
ใช้ สื่อทีส่ ะดุดตาและหู เพือ่ ให้ ผ้ ูรับสารเกิดความสนใจ


Slide 14

ประโยชน์ ของการโฆษณาสิ นค้ าหรือบริการ
• ทาให้ ผ้ ูต้องการซื้อสิ นค้ านั้นทราบได้ ทนั ทีว่าจะไปซื้อหา
หรือรับบริการทีไ่ หน
• สิ นค้ าทีม่ ปี ระโยชน์ และจาเป็ นแก่ ชีวติ เมือ่ โฆษณา
แพร่ หลาย ปริมาณการจาหน่ ายสู ง ราคาจะถูกลง
• หนังสื อพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ได้ รับค่ าโฆษณา ทาให้
สามารถแพร่ ข่าว ความรู้ และความบันเทิง


Slide 15

โทษของการโฆษณาสิ นค้ าหรือบริการ
• อาจทาให้ ประชาชนหลงผิด ซื้อหรือใช้ บริการทีไ่ ม่ สมควร
แก่ ภาวะความจาเป็ นของตน
• การโฆษณาทีแ่ ข่ งขันกันมากทาให้ ต้นทุนการผลิตสู ง ราคา
สิ นค้ าก็สูงขึน้ กว่ าทีค่ วรเป็ น
• การใช้ ภาษาทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษาทีม่ ่ ุงความแปลก
ใหม่ อาจทาลายคุณค่ าทางเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมของ
ชาติได้


Slide 16

โฆษณาชวนเชื่อ
• เป็ นการพยายาม โดยมีเจตนาที่จะเปลีย่ นความเชื่อ
และการกระทาของบุคคลจานวนมาก ให้ เป็ นไปใน
ฝ่ ายของตน ด้ วยกลวิธีต่างๆ โดยไม่ คานึงถึงความ
ถูกต้ องตามเหตุผลและข้ อเท็จจริง


Slide 17

ชนิดของการโฆษณาชวนเชื่อ
• โฆษณาชวนเชื่อทางการค้ า
• โฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง

เนื่องจากเจตนาทีอ่ ยู่เบือ้ งหลังสารชนิดนี้ มักเป็ นไปทาง
หายนะมากกว่ าวัฒนะ จึงควรทราบกลวิธีการโฆษณา
ชวนเชื่อ และใช้ วจิ ารณญาณให้ ดี ไม่ หลงเชื่อง่ ายๆ


Slide 18

กลวิธีการโฆษณาชวนเชื่อ





การตราชื่อ
ใช้ ถ้อยคาหรู หรา
อ้ างบุคคลหรือสถาบัน
อ้ างประโยชน์ ตน

• อ้ างคนส่ วนใหญ่
• อาจทาตัวให้ กลมกลืน
กับชาวบ้ าน เพือ่ ง่ ายต่ อ
การชักจูง


Slide 19

จากสารโน้ มน้ าวใจทั้ง ๓ ลักษณะ
เราควรพิจารณาจากจุดประสงค์ ทเี่ ป็ นประโยชน์ แก่
ตนเองและส่ วนรวม เป็ นหลักในการตัดสิ นใจที่จะ
เชื่อถือหรือซื้อสิ นค้ าและบริการ