cqi story - โครงการพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี

Download Report

Transcript cqi story - โครงการพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี

CQI :การพัฒนาระบบเฝ้ าระวังและติดตามการเกิดเชื้อดือ้ ยา
ต้ านไวรัสเอดส์ ในผู้ป่วยทีร่ ับยาต้ านไวรัส
โดย นางศิริยา ทรงสถาพรเจริญ และนางจันทนา อยู่ศิริ
งานคลินิกพิเศษและให้ บริการปรึกษา
โรงพยาบาลวังจันทร์ จังหวัดระยอง
ความสาคัญของปัญหา
 จานวนผู้ตดิ เชื้อใช้ ยาต้ านไวรัสสู ตรดือ้ ยา มีแนวโน้ มเพิม่ ขึน
้
 ภาวการณ์ รักษาล้ มเหลวในกลุ่มผู้ป่วยทีไ่ ม่ ยน
ิ ดีเปิ ดเผยตัวใน
กลุ่ม (ไม่ เข้ ากลุ่ม Self help group)รายทีร่ ับประทานยานาน 3-5 ปี
 ความตระหนักในการกินยาต่ อเนื่องลดลง
 ขาดนัด ขาดยามากกว่ า 1 เดือนขึน
้ ไป
 มีพฤติกรรมเสี่ ยงทางเพศ หรือพฤติกรรมเสี่ ยงอืน
่
 ไม่ สามารถติดตามประเมินความสม่าเสมอของการกินยา
เป้าหมายการดาเนินงาน
เพือ่ เฝ้ าระวังและติดตามการเกิดเชื้อดือ้ ยาต้ านไวรัสเอดส์ ใน
ผู้ป่วยทีร่ ับยาต้ านไวรัส โดยที่อตั ราการดือ้ ยาต้ านไวรัสในผู้ตดิ
เชื้อทีร่ ับยาต้ านไวรัสไม่ เกินร้ อยละ 6
กระบวนการให้ บริการเดิม
-จัดระบบบริการOne Stop
Service) เข้ าถึงง่ าย สะดวก
-กิจกรรมพบกลุ่มทุก 1เดือน
ให้ ความรู้และเสริมพลัง
-การดูแลโดยแพทย์ ประเมิน
และเฝ้ าระวังอาการทาง
คลินิก รักษาโรคติดเชื้อฉวย
โอกาสตรวจCD4 /ตรวจ
Viral load ตามเกณฑ์
ติดตามเยีย่ มบ้ านโดยแกน
นาและเจ้ าหน้ าที่
แบ่ งกลุ่มผู้ตดิ เชือ้
ที่ต้องเฝ้าระวัง
เป็ น 3 กลุ่ม
จัดทาแนวทาง
แต่ ละกลุ่มและไป
ปฏิบัตใิ นคลินิก
ติดตามประเมิน
ผลลัพธ์ และ
ปรั บปรุ งอย่ าง
ต่ อเนื่อง
กิจกรรมการพัฒนา
ประเด็นการพัฒนา
1. ประเมินความเสี่ ยงในการติดตามเฝ้ าระวังเชื้อไวรัสเอชไอวีด้ือยาต้านไวรัส
ในผูต้ ิดเชื้อHIV/AIDSที่รับยาต้านไวรัสในคลินิกทุกราย
โดยแบบประเมินและแบ่งผูป้ ่ วยออกเป็ น 3 กลุ่ม
เสี่ ยงต่อการ
ดื้อยาต้าน
ไวรัสปาน
กลาง
1
เสี่ ยงต่อการ
ดื้อยาต้าน
ไวรัสน้อย
3
2
แบบประเมินความเสี่ ยงต่อการดื้อยาต้านไวรัส
ในผูต้ ิดเชื้อเอชไอวีเอดส์ที่กินยาต้านไวรัส
ประเด็นคัดกรองความเสี่ ยงในการดื้อยาต้านไวรัส
เอดส์
1.มีปริ มาณ VLหลังรับประทานยาต้านไวรัส 6
เดือน มีค่า>40 Copies/ml
2. CD4 ลดลง 30%หลังรับประทานยาต้าน
ไวรัส 6 เดือน
3. Adherence80%
4. ขาดนัด/ขาดยามากกว่า 180 วันติดต่อสื่ อสาร
ไม่สะดวก
5.มีพฤติกรรมเสี่ ยงดื่มสุ รา,ติดสารเสพติด
6. ไม่เปิ ดเผยตัวต่อญาติ/ผูใ้ กล้ชิด
ใช่
ไม่ใช่
กลุ่มเสี่ ยงมากใช่ ในข้ อ 1 และใช่
ในข้ อ 2-6 ตั้งแต่ 2 ข้ อขึน้ ไป
กลุ่มเสี่ ยงปานกลาง ใช่ ข้อ 2-6
ตั้งแต่ 2 ข้ อขึน้ ไป
กลุ่มเสี่ ยงน้ อยใช่ ในข้ อ 5-6
อย่ างน้ อย 1 ข้ อ
2. จัดทาแนวทางดูแลในผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ ยงแต่ละกลุ่ม ดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
กลุ่มเสี่ ยงมาก
แนวทางการดูแล
ติดตามการรักษาเพือ่ ประเมินอาการทางคลินิก โดยแพทย์ ทุกราย
Monitor Lab CD4 & VL ในการประเมินการรักษาทีล่ ้ มเหลวทุก 6 เดือนและประเมินการเกิด
OIs และภาวะแทรกซ้ อนทุก 3 เดือน
การติดตามความสมา่ เสมอในการรับประทานยาต้ านไวรัสเอดส์ ทุก 1 เดือน
ผู้ป่วยและญาติหรื อผู้ดูแลต้ องผ่ านการ Counseling โดย พยาบาลให้ คาปรึกษา เพือ่ ให้ ตระหนัก
ถึงความสาคัญของการรับประทานยาต้ านไวรัส ความถูกต้ อง การมีวินัย การตรงต่ อเวลาทุก 1
เดือน
ให้ มเี ยีย่ มบ้ านโดยเจ้ าหน้ าที่/อาสาสมัครแกนนาผู้ติดเชื้อทุก 1 เดือน
จัดให้ ผู้ป่วยได้ เข้ าร่ วมกระบวนการกลุ่มในทุกรายทีส่ ามารถเปิ ดตัวได้
จัดระบบการส่ งยาไปต่ างจังหวัดในรายทีไ่ ม่ สามารถมารับทีโ่ รงพยาบาลได้
มีระบบแจ้ งเตือนวันนัดล่ วงหน้ าผ่ านโทรศัพท์
2. จัดทาแนวทางดูแลในผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ ยงแต่ละกลุ่ม ดังนี้
กลุ่มเสี่ ยงปานกลาง
แนวทางการดาเนินงาน
1.ติดตามการรักษาเพือ่ ประเมินอาการทางคลินิกโดยแพทย์ ทุกราย
2. Monitor Lab CD4 ทุก 6 เดือน ตรวจ VL ปี ละ 1 ครั้ง
3. การติดตามความสม่าเสมอในการรับประทานยาต้ านไวรัสเอดส์ ทุก 1 เดือนและให้ การ
Counseling โดย พยาบาลให้ คาปรึ กษาทุกครั้ ง ทีพบปัญหาเพือ่ ให้ ผ้ ปู ่ วยเอดส์ ตระหนักถึง
ความสาคัญของการรับประทานยาต้ านไวรัส
4. จัดให้ มเี ยีย่ มบ้ านโดยอาสา สมัครแกนนาผู้ตดิ เชื้ออย่ างน้ อย 3ครั้ง/ปี
1. 5. จัดให้ ผ้ ปู ่ วยได้ เข้ าร่ วมกระบวนการกลุ่มในทุกรายทีส่ ามารถเปิ ดตัวได้
2. 6.มีระบบติดตามเมือ่ ไม่ มาตามนัด
2. จัดทาแนวทางดูแลในผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ ยงแต่ละกลุ่ม ดังนี้
กลุ่มเสี่ ยงน้ อย
แนวทางการดาเนินงาน
1.ติดตามการรักษาเพือ่ ประเมินอาการทางคลินิกโดยแพทย์ /พยาบาลประจาคลินิกทุก
ราย
2.Monitor Lab CD4 ทุก 6 เดือน ตรวจ VL ปี ละ 1 ครั้ง
3. การติดตามความสม่าเสมอในการรับประทานยาต้ านไวรัสเอดส์ ทุก 1 เดือน
4. จัดให้ มเี ยีย่ มบ้ านโดยอาสา สมัครแกนนาผู้ตดิ เชื้ออย่ างน้ อย 1 ครั้ง/ปี
5. ผู้ป่วยได้ เข้ าร่ วมกระบวนการกลุ่มในทุกรายทีส่ ามารถเปิ ดตัวได้
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
เปรียบเทียบการคัดกรองความเสี่ ยง
ในการดือ้ ยาต้ านไวรัสเอดส์ ในผู้ตดิ เชื้อทีร่ ับยาต้ านไวรัส
กลุ่มเสี่ ยงมาก
กลุ่มเสี่ ยงปาน
กลาง
กลุ่มเสี่ ยงน้ อย
ปี 2554 =154 ราย
22 (14.3%)
58 (37.7%)
74 (48%)
ปี 2555 =162 ราย
20 (12.34%)
62 (38.3%)
82 (49.3%)
ปี /จานวน
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
ผลการดาเนินงาน(ร้อยละ)
เครื่องชี้วดั
เป้ าหมาย
ร้อยละของผูป้ ่ วยที่ตรวจ CD4&VL
ตามเกณฑ์
ร้อยละของผูป้ ่ วยที่ได้รับยาต้าน
ไวรัสที่ป่วยด้วยโรคฉวยโอกาส
อัตราการดื้อยาต้านไวรัส
ปี 2554
ปี 2555
90
94.4
96.45
<5
3
3
< ร้อยละ6
1.9
4.32
บทเรียนที่ได้ รับ
การจัดกลุ่มผู้ป่วยทีต่ ้ องเฝ้ าระวังอย่ างชัดเจนตั้งแต่ เริ่มวางแผนการ
รักษาทาให้ การทางานในคลินิกง่ ายขึน้
สามารถแจกจ่ ายงานการติดตามต่ อเนื่องให้ กบั แกนนาผู้ตดิ เชื้อหรือ
กลุ่มงานอืน่ ทีช่ ่ วยเหลือในการเยีย่ มติดตามทีบ่ ้ านได้ อย่ างเป็ นระบบและ
ผู้ป่วยและญาติมีความเข้ าใจ พึงพอใจและมีสัมพันธภาพทีด่ ตี ่ อผู้ให้ บริการ
บทเรียนที่ได้ รับ
ในผูป้ ่ วยบางรายที่ยงั คงมีวิถีชีวิตที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ การ
ดูแลที่สามารถทาได้คือการเน้นให้กินยาต่อเนื่องแบบประคับประคอง พบ
ผูป้ ่ วย 1รายที่ทีมงานตัดสิ นใจไม่เปลี่ยนยาสูตรดื้อยาเนื่องจากผูป้ ่ วยไม่
สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินยาให้สม่าเสมอและปรับวิถีชีวิตที่
สอดคล้องเหมาะสมกับการดูแลรักษาได้ ผูใ้ ห้บริ การต้องไม่ทอ้ แท้และทา
ความเข้าใจกับบริ บทที่ผปู ้ ่ วยเป็ น
สวัสดีค่ะ