ส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (ตำบลฟันดี)

Download Report

Transcript ส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (ตำบลฟันดี)

สถานการณ์การดาเนิ นงานปี 2557 และ
ทิศทาง แนวทางการดาเนิ นงานปี 2558
สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
28 สิงหาคม 2557
สถานการณ์ทนั ตสุขภาพ
หญิงตัง้ ครรภ์และเด็กเล็ก หญิงตัง้ ครรภ์เหงือกอักเสบ, เด็กอายุ๓ปี
ฟันน้ านมผุ ๕๑.๗ % เด็ก๕ ปี ฟันน้ านมผุ๗ ๘.๕ %
เด็กวัยเรียนและวัยรุน่ เด็กอายุ๑๒ ปี ฟนั แท้ผุ ๕๒.๓ % เหงือก
อักเสบ ๕๐ % ฟันตกกระ ๙.๒ % เด็กอายุ๑๕ ปี ฟนั แท้ผุ ๖๒.๔ %
ปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญ หญิงมีครรภ์มีการทาความสะอาดช่ องปากที่ไม่
เพียงพอ เด็กเล็กขาดการทาความสะอาดฟันโดยผูป้ กครอง ดื่มนมขวด
และขนมกรุบกรอบ เด็กกินขนมและเครื่องดื่มที่มีน้ าตาลสูง การทาความ
สะอาดช่องปากไม่มีประสิทธิภาพ น้ าบริโภคมีฟลูออไรด์สูง
วัยทางาน ฟันแท้ผุ ๘๖.๗ %
เริ่มพบการผุบริเวณซอกฟัน มีหนิ น้ าลาย
และ/หรือเลือดออก ๖๑.๘ % เริ่มมีรอ่ งลึกปริทนั ต์ตง้ั แต่ ๔ มม.ขึ้นไป ๑๕.๖
% สภาวะช่องปากที่สมั พันธ์กบั ความรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนของNCDs/
พบรอยโรคในช่องปากที่อาจกลายเป็ นมะเร็ง
วัยสูงอายุ ฟันผุ ๙๗.๑ % ไม่ได้รบั การรักษา ๔๘.๓ % เป็ นโรคปริทนั ต์
๓๒.๑ % สูญเสียฟันบางส่วน ๘๘.๓ % สูญเสียฟันทัง้ ปาก ๗.๒ %
ปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญ การสูบบุหรี่ การดื่มเหล้า โรคประจาตัว การทา
ความสะอาดช่องปากที่ไม่มีประสิทธิภาพ การเข้าถึงบริการไม่เพียงพอ
แนวทางการดาเนินงานปี 2558
• โครงการพระราชดาริ
• งาน/โครงการบูรณาการ
ตามยุทธศาสตร์กระทรวงสธ.
(5 กลุม่ วัย และ 4 ระบบ)
• งานตามพันธกิจของหน่ วยงาน
สอดคล้องกับบทบาท NHA
(1) Policy Lead (2) Model
development (3) Surveillance
(4) Technology Transfer (5) M&E
สอดคล้องกับ 6 Building Blocks
1) บริการ 2) พัฒนาบุคลากร
3) ระบบข้อมูล 4) เทคโนโลยี
5) ภาวะผูน้ าและธรรมาภิบาล
6) การมีสว่ นร่วม
ทิศทาง แนวทางการดาเนิ นการ
งานทันตสาธารณสุข ปี 2558
ทิศทาง แนวทางการดาเนิ นการ ปี 2558
ฟันเทียมพระราชทาน (โครงการพระราชดาริ)
- ใส่ฟนั เทียมผูส้ ูงอายุและก่อนวัยสูงอายุ ภาครัฐ เอกชนร่วม รณรงค์พเิ ศษ
- ผูส้ ูงอายุดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ผ่านชมรม
- ผูส้ ูงอายุได้รบั บริการส่งเสริมป้ องกัน ผ่านหน่ วยบริการปฐมภูมิ
การขับเคลือ่ นงานสร้างเสริมทันตสุขภาพ และการดูแลหลังใส่ฟนั เทียม
- สือ่ สารและรณรงค์ ต้นแบบ “ฟันดี วัย 80 และ 90 ปี ”
- ฟันเทียมพื้นที่พเิ ศษ
การพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร
- อบรมทันตแพทย์ในการใส่ฟนั เทียม
- หลักสูตรทันตกรรมผูส้ ูงอายุ (หลักสูตร 4 เดือน)
ทิศทาง แนวทางการดาเนิ นการ ปี 2558
หญิงตัง้ ครรภ์และเด็กเล็ก:ANC, บ้าน, WCC ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
โรงเรียนอนุ บาล คลินิกทันตกรรม
เด็กวัยเรียนและวัยรุน่ : โรงเรียน บ้าน คลินิกทันตกรรม
วัยทางาน:
คลินิกNCD, คลินิกทันตกรรม,
สถานประกอบการ, ชุมชน
ผูส้ ูงอายุ:
ชมรมผูส้ ูงอายุในตาบล หน่ วยบริการระดับต่าง ๆ
สิง่ แวดล้อม:
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก โรงเรียน ชุมชน โรงพยาบาล
งานบริการปฐมภูม:ิ
เครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอาเภอ
ทิศทาง แนวทางการดาเนิ นการงานบูรณาการ ปี 2558
National lead
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (ตาบลฟันดี)
ศพด.คุณภาพ โรงเรียนปลอดน้ าอัดลม
Model Development
Surveillance
Technology Transfer
M&E
เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
CUP ต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กและเยาวชน
เฝ้ าระวังทันตสุขภาพเด็กในโรงเรียน
เฝ้ าระวังปริมาณฟลูออไรด์ในน้ าบริโภคชุมชน
พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรระดับ CUP ในการ
จัดบริการบูรณาการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย
ติดตาม นิ เทศ การทางานของ CUP ต้นแบบ, การประเมิน
ศักยภาพนักเรียนแกนนาในการสือ่ สารสุขภาพ และ
ประเมินผลสภาวะสุขภาพช่องปาก
การบูรณาการงบประมาณ
ในงานบริการปฐมภูมิ
บูรณาการระบบบริการปฐมภูมิ
VISION
“ประชาชนเข้าถึงบริ การที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริ การเชื่อมโยงไร้
รอยต่อ สามารถบริ การเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริ การประสานชุมชน
Self Care”
NCD
ทันตกรรม
5สาขาหลัก
ไต
ตา
จิตเวช
ทารกแรกเกิด
ั เิ หตุ
อุบต
มะเร็ง
ปฐม
ภูมิ
หัวใจและ
หลอดเลือด
PP 5 กลุมวั
่ ย / ปฐมภูม ิ / องครวม
์
DHS : UCARE ; Unity / Community / Appreciation / Resource / Essential
มาตราการ
บูรณาการงาน
พัฒนาบุคลากร
ในรพสต.
บริการ
กาลังคน
ระบบข้ อมูล
การสร้ างการ
มีสว่ นร่วม
ระบบสนับสนุนและM&E
จากแม่ข่าย
เทคโนโลยี
โครงการ สป. โดย สบรส.
ค่าใช้ จ่าย
ด้ านสุขภาพ
การมี
ส่วนร่วม
ภาวะผู้นาและ
ธรรมภิบาล
โครงการกรม
การพัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอาเภอ
การพัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอาเภอ (Oral Health in
District Health System) เป็ นการเชื่อมโยงระหว่าง SERVICE PLAN
และ DHS ประกอบด้วย
1. พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอาเภอ
2. พัฒนาระบบแผนแก้ปญั หาสุขภาพช่องปากระดับเขตและจังหวัด
3. พัฒนาระบบสนับสนุ นการดาเนิ นงานของเขตสุขภาพ และระบบเครือข่ายสุขภาพ
ช่องปากระดับอาเภอ
4. จัดระบบการประเมินผลการแก้ปญั หาสุขภาพช่องปากในกลุม่ วัย