คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลทุ่งสง

Download Report

Transcript คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลทุ่งสง

13 กันยายน 2555
ความสาคัญของปัญหา
โรคเอดส์ได้เกิดขึ้นและแพร่ระบาดในประเทศไทยมานาน
เกือบ 3 ทศวรรษ ส่งผลให้มีผต้ ู ิ ดเชื้ อ /ผูป้ ่ วยเอดส์เป็น
ทกุ เพศและทกุ วัยในขณะเดี ยวกันประเทศไทยสามารถ
ให้บ ริ ก ารด แู ลส ขุ ภาพแก่ ผ ป้ ู ่ วยกล มุ่ นี้ ได้อ ย่ า งครอบ
ครอบคล ุมและมีประสิทธิภาพจนเป็นที่ยอมรับของนานา
ประเทศ โดยพบว่าอัตราการเสียชีวิตลดลงจากเดิม
13 กันยายน 2555
13 กันยายน 2555
ผูป้ ่ วยสามารถมีชีวิต อยูใ่ นสังคมได้อย่างปกติส ุข
โรคเอดส์เป็นโรคติดต่อที่เรื้อรังไม่สามารถรักษา
ให้หายขาดได้ และเป็นสถานการณ์การเจ็บป่วยที่คกุ คาม
ต่อชีวิต ส่งผลต่อจิตใจ เกิดความท ุกข์ หมดความหวัง
สัม พัน ธภาพกับ ครอบครัว /สัง คมลดลง และบั่น ทอน
ภาวะเศรษฐกิจของสังคม
13 กันยายน 2555
เป็ น ป ร ะ เด็ น ที่ อ่ อ น ไ หวต่ อ ปั ญหา สิ ท ธิ มน ษุ ยช น
เนื่องมาจากสังคมยังมีทศั นคติและความไม่เข้าใจในโรคนี้
อย่างเพียงพอ ผูป้ ่ วยบางรายยังต้องเผชิญกับปัญหาการ
ถ กู รัง เกี ย จ และแบ่ ง แยก น าไปสู่ก ารกี ด กัน การได้ ร บั
บริ ก ารทางสั ง คม อาจกล่ า วได้ ว่ า เป็ นตราบาปใน
ความรส้ ู ึกของผูป้ ่ วย ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่
และค ุณภาพชีวิตของผูป้ ่ วย
13 กันยายน 2555
โรงพยาบาลท งุ่ สง ได้จ ัด ระบบบริ ก ารและให้ก ารด แู ลรัก ษาและ
พัฒนาการดแู ลอย่างต่อเนื่องตลอด 10 ปีที่ ผ่านมา ตัวชี้ วดั /
ผลลัพธ์การดแู ล อยู่ในเกณฑ์ดี ได้รบั รางวัลโรงพยาบาลที่ มีการ
พัฒนาค ุณภาพการด ูแลผูป้ ่ วยเอดส์ ดีเด่น จากกรมควบค ุมโรค ใน
ปี 2553 และ2554 อัตราการเสียชีวิตของผูป้ ่ วยลดลง ผูป้ ่ วยส่วน
ใหญ่สามารถดารงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้ตามปกติเช่นเดียวกัน
13 กันยายน 2555
การได้รบั การด ูแลรักษาช่วยลด
ผลกระทบด้านร่างกาย ผูป้ ่ วยสามารถ
ดารงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้
ร่ างกาย
จิตใจ
ค ุณภาพชีวิต
ความสัมพันธ์
กับสังคม
การที่ผป้ ู ่ วยจะมีค ุณภาพชีวิตที่ดีได้นนั้
ขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบด้านต่างๆของ
บ ุคคลร่วมด้วย
13 กันยายน 2555
สิ่งแวดล้ อม
ผู้วิ จ ั ย จึ ง ได้ท าการศึ ก ษาค ณ
ุ ภาพชี วิ ตของ
ผูป้ ่ วยเอดส์ที่ได้รบั การรักษาด้วยยาต้านไวรัส
ที่โรงพยาบาลทงุ่ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช
13 กันยายน 2555
วัตถ ุประสงค์
13 กันยายน 2555
ทบทวนวรรณกรรม
ค ุณภาพชีวิต
13 กันยายน 2555
ทบทวนวรรณกรรม
AIDS หรือ
Acquired Immune
Deficiency Syndromes คือ โรคที่ทาให้ภ ูมิคม้ ุ กันของ
ร่ า งกายบกพร่ อ งจนไม่ ส ามารถต่ อ สู้เ ชื้ อโรค หรื อ สิ่ ง
แปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสูร่ า่ งกาย ทาให้เกิดโรคติ ดเชื้อฉวย
โอกาส ต่าง ๆอาทิ โรควัณโรค เยื่อหม้ ุ สมองอักเสบ ปอด
อักเสบ เชื้อราในหลอดอาหาร มะเร็งบางชนิด ฯลฯ
13 กันยายน 2555
การดาเนินโรคเอดส์ และภาวะแทรกซ้ อน
1000
CD4+ cell Count
900
800
VL(จานวนเชื้อไวรัส)
CD4+ T cells (จานวนภูมคิ ้ม
ุ กัน)
วัณโรค
700
600
500
กลุ่มอาการ
จากการติด
300 เชื้อระยะแรก
400
งูสวัด
ระยะแสดงอาการ
ระยะไม่ มีอาการ
ลิ้นฝ้ าขาว
200
ปอดอักเสบOC PCP
100
0
TB
CM
CMV, MAC
0 1 2 3 4 5
เดือน
1
2
3
4
5
6
7
ปี หลังจากติดเชื้อ เอช ไอ วี
8
9
10
* หากไม่ได้รบั การด ูแลรักษาที่ถ ูกต้องผูป้ ่ วยจะเสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อฉวยโอกาสต่างๆเหล่านี้
11
เอดส์รเ้ ู ร็วรักษาได้
ยาต้านไวรัสจะยับยัง้ กระบวนการเพิ่มเชื้อ เอชไอวีในร่างกาย
ไม่ให้ไปทาลายภูมิตา้ นทาน ส่งผลให้ระดับภ ูมิตา้ นทานในร่างกาย
สูงขึ้นและลดจานวนเชื้อไวรัสในร่างกายให้ต่าลง
ประสิทธิ ภาพของการรักษาด้วยยาต้านไวรัสขึ้นอยู่กบั ความ
ครบถ้วนต่อเนื่องในการรับประทานยา ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ส ุด
ผูป้ ่ วยจึ งต้องรับประทานยาอย่างสม่ าเสมอตรงเวลามากกว่ า
ร้อยละ95 จึงจะเพียงพอที่จะยับยัง้ การเพิ่มของเชื้อเอขไอวีได้
13 กันยายน 2555
เป้าหมายของการใช้ ยาต้ านไวรัสเอดส์ ในปัจจุบัน
Relative Levels
CD4+ T-cells (ภูมคิ ้ ุมกัน )
จำนวนเชือ้ เอช ไอ วี
Limit of detection
Months
Years After HIV Infection
Acute HIV infection Symptom
13 กันยายน 2555
ค ุณภาพชีวิต
เป็นการรับรข้ ู องแต่ละบ ุคคลเกี่ยวกับความผาส ุข ของชีวิต ซึ่งเกิด
จากความรส้ ู ึกพึงพอใจ หรือไม่พึงพอใจ ในแต่ละองค์ประกอบซึ่ง
เป็นส่วนสาคัญต่อชีวิตของบ ุคคลประกอบด้วย 4 ด้าน
ร่างกาย
13 กันยายน 2555
จิตใจ
ความสัมพันธ์
ทางสังคม
สิ่งแวดล้อม
นิยามศัพท์
ค ุณภาพชีวิต หมายถึง การรับรค้ ู วามรูส้ ึกที่ผปู้ ่ วยรับรด้ ู ว้ ย
ตนเอง จากประสบการณ์ในเรือ่ งการมีชีวิต ที่ดี มีความส ุขและมี
ความพึงพอใจ
ผูป้ ่ วยเอดส์ที่ได้รบั บริการที่โรงพยาลทงุ่ สง
หมายถึงผูป้ ่ วยที่อาย ุมากกว่า 15 ปี ได้รบั การวินิจฉัยว่าป่วยเป็น
โรคเอดส์ (รหัส ICD 10 :B20-B24) และได้รบั การรักษาที่
โรงพยาบาลทงุ่ สงด้วยยาต้านไวรัส 3 ชนิดพร้อมกัน นาน
มากกว่า 1 ปี
13 กันยายน 2555
กรอบแนวคิดการวิจยั
ตัวแปรต้ น
อายุ
เพศ
ตัวแปรตาม
ระยะเวลาที่เริ่ม
รักษาด้วยยาARV
โรคแทรก
ซ้อน
ระยะเวลาที่ป่วย
ชนิดยาต้านที่
ได้รบั
ร่างกาย
จิตใจ
ค ุณภาพชีวิต
สถานภาพ
สมรส
ระดับการศึกษา
การเปิ ดเผยผลเลือด
กับสมาชิกใน
ครอบครัว
รายได้/ความ
เพียงพอรายได้
อาชีพ
สถานะสุขภาพ
13 กันยายน 2555
ความสัม
พันธ์กบั
สังคม
สิ่งแวด
ล้ อม
ร ูปแบบการวิจยั
วิจยั เชิงพรรณนา
(descriptive research)
13 กันยายน 2555
ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ประชากร : ผูป้ ่ วยเอดส์ทีรบั ยาต้านไวรัส ที่
โรงพยาบาลทงุ่ สงจานวน 320 คน
กลมุ่ ตัวอย่าง: สมุ่ แบบมีระบบ (Systematic
Sampling) คานวณโดยใช้ตารางสาเร็จรูป
กลมุ่ ตัวอย่างจานวน 80 คน
13 กันยายน 2555
การพิทกั ษ์สิทธิ์กลมุ่ ตัวอย่าง
ผูว้ ิจยั ได้ช้ ีแจงวัตถ ุประสงค์และอธิบายให้กลมุ่
ตัวอย่างเข้าใจถึงประโยชน์ที่จะได้รบั จากการวิจยั
และลงนามยินยอมก่อนตอบแบบสอบถาม
13 กันยายน 2555
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง วันที่ 1– 30 เมษายน 2555
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลและประมวลผล
สถิติพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จานวน ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สถิติวิเคราะห์ (Analytical statistics)ได้แก่ t-test และ F-test
(ANOVA)
13 กันยายน 2555
เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั
เครือ่ งมือที่ใช้ ประกอบด้วย 2 ส่วน
ข้อมูลทัว่ ไป
แบบวัดค ุณภาพชีวิต
13 กันยายน 2555
แบบวัดค ุณภาพชีวิต
เป็นเครือ่ งมือวัดค ุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกช ุดย่อ
โดยนายแพทย์ส ุวัฒน์ มหัตนิรนั ดร์ก ุล และคณะ ได้ปรับปร ุง
พัฒนาขึ้น มีค่าความเชื่อมัน่ =0.8406 ค่าความเที่ยงตรง
=0.6515
ลักษณะคาถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale)
ใช้มาตราวัดแบบลิเคิต (Likert Scale) โดยแบ่งคะแนนเป็น 5 ระดับ
โดยวิธีอิงกลมุ่ ตามองค์ประกอบ 4 ด้าน และค ุณภาพชีวิตโดยรวม
13 กันยายน 2555
1.ข้อมูลทัว่ ไป
ผลการวิ จยั
%
80
73
70
58.8
56.3
60
50
40
30
20
10
0
13 กันยายน 2555
61.3
58.8
56.3
50
46.3
41.3
45
40
33.8
38.8
ผลการวิ จยั
2.ด้านค ุณภาพชีวิต
2.1.ด้านค ุณภาพชีวิตโดยรวม
ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตระดับปานกลาง
40%
60%
ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตระดับดี
ผลการวิ จยั
2.1.ค ุณภาพชีวิตรายด้าน
%
80
70
60
50
40
30
20
10
0
71.2
61.3
60
48.8
50
ระดับดี
38.8
28.8
28.8
ระดับปานกลาง
10*
0
13 กันยายน 2555
1.2
1.2
ไม่ดี
ระดับ
คุณภาพชีวิต(รายข้อ)
17 ผูป้ ่ วยพอใจในชีวิตทางเพศ
มากที่สดุ
มาก
ปานกลาง
เล็กน้อย
ไม่เลย
6.3
20
53.8
8.8
11.3
ผูป้ ่ วยเอดส์มีความพอใจในชีวิตทางเพศน้อยถึงร้อยละ 11.3 อาจ
เนื่องมาจากกลมุ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อาย ุ 41-45 ปี มี
สถานภาพโสดและหม้าย หย่า แยก ร้อยละ 35 และส่วนใหญ่มี
ส ุขภาพดี ผูท้ ี่ส ุขภาพแข็งแรงยังคงดารงความสามารถในการเจริญ
พันธ์ได้เป็นอย่างดี แต่ผป้ ู ่ วยเอดส์บางรายยังคงมีตราบาปอยูใ่ นใจ
หรือ กังวลใจ ต่อการแพร่เชื้อ/รับเชื้อเพิ่ม จึงไม่สามารถมี
เพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมได้
13 กันยายน 2555
ผลการวิ จยั
3.เปรียบเทียบค ุณภาพชีวิตของผูป้ ่ วยเอดส์จาแนกตามตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
อายุ
ระยะเวลาที่เริ่มรั กษา
ด้ วยยาARV
เพศ
ระยะเวลาที่ป่วย
โรคแทรก
ซ้ อนที่เป็ น
ชนิดยาต้ านที่ได้ รับ
สถานภาพ
สมรส
รายได้ /ความ
เพียงพอรายได้
ระดับ
การศึกษา
อาชีพ
สถานะสุขภาพ
การเปิ ดเผยผลเลือด
กับสมาชิกใน
ครอบครัว
ผลการศึกษาพบว่ากลมุ่ ตัวอย่างที่มีอาย ุ การศึกษา และ รายได้ แตกต่างกัน
13 กันยายน 2555
มีค ุณภาพชีวิตแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ

ผลการวิ จยั
กลมุ่ ที่
1
2
3
4
5
6
1
2
3
4
ตัวแปร
อาย ุ
26-30
31-35
36-40
41-45
49-50
51-55
การศึกษา
ไม่ได้เรียน
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
ปริญญาตรี
รายได้
1
13 กันยายน 2555< 5,000
2
x
S.D.
101.3
94.80
94.52
91.29
78.75
82.00
8.60
12.30
9.70
10.00
16.80
8.48
106.00
86.23
96.14
96.20
5.65
9.21
11.57
6.05
86.52
93.86
9.95
10.32
t /F
3.18*
6.118*
7.674*
หมายเหต ุ
(คู่ที่ต่างกัน)
1,4
1,5
1,6
2,5
3,5
4,5
1,2
2,3
1,3
2,3
ผลการวิ จยั
ด้านอาย ุ
กลมุ่ ตัวอย่าง อาย ุ 26-30 ปี
มีคะแนนเฉลี่ยค ุณภาพชีวิตสูงส ุด
กลมุ่ ตัวอย่าง อาย ุ 51-55 ปี
มีคะแนนเฉลี่ยค ุณภาพชีวิตต่าส ุด
13 กันยายน 2555
ผูป้ ่ วยเอดส์มีอาย ุมากมีค ุณภาพชีวิตต่าอาจเนื่องมาจาก
การติดเชื้อเอชไอวีในวัยที่มีอาย ุมากเป็นประสบการณ์
วิกฤตของชีวิต นอกจากส่งผลกระทบด้านร่างกายแล้ว
ยังส่งผลกระทบด้านจิตใจด้วย ทาให้ผป้ ู ่ วยสูญเสียความมี
ค ุณค่าในตนเอง ขาดความมัน่ คงและขาดแรงจูงใจในการ
ดาเนินชีวิต ไม่สามารถดึงศักยภาพออกมาใช้ในการ
ปรับตัวและการแก้ไขปัญหา จึงส่งผลให้ค ุณภาพชีวิตต่า
13 กันยายน 2555
ผลการวิ จยั
การศึกษา
กลมุ่ ตัวอย่างที่ไม่ได้เรียนหนังสือ
มีคะแนนเฉลี่ยค ุณภาพชีวิตสูงส ุด
กลมุ่ ตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาชัน้ ประถมศึกษา
มีคะแนนเฉลี่ยค ุณภาพชีวิตต่าส ุด
13 กันยายน 2555
การศึกษา
เป็นการพัฒนาสติปัญญา และส ุขภาพของ
บ ุคคล ทาให้บ ุคคลแสวงหาความร ้ ู หาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับโรค
สามารถเข้าใจแผนการรักษา รจ้ ู กั ใช้แหล่งประโยชน์ต่างๆและทา
ให้บ ุคคลรับรท้ ู ี่ดีกว่า รจ้ ู กั คิดแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตได้อย่าง
เหมาะสม ผูท้ ี่มีการศึกษาสูงกว่า ย่อมมีค ุณภาพชีวิตที่ดีกว่า และ
ผลการศึกษาครัง้ นี้ ก็ไม่สอดคล้องกับการศึกษาของรสส ุคนธ์
วาริทก ุล (2546) ที่ศึกษาการด ูแลตนเองและค ุณภาพชีวิตของ
ผูป้ ่ วยเอดส์ และพบว่าการศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กบั ค ุณภาพ
ชีวิตของผูป้ ่ วยเอดส์
13 กันยายน 2555
ผลการวิ จยั
รายได้
กลมุ่ ตัวอย่างที่มีรายได้มากมีคะแนนเฉลี่ย
ค ุณภาพชีวิตสูงส ุด
กลมุ่ ตัวอย่างที่มีรายได้ต่ามีคะแนนเฉลี่ย
ค ุณภาพชีวิตต่าส ุด
13 กันยายน 2555
สอดคล้องกับการศึกษาของกร ุณา ลิ้มเจริญ และถนอมจิต
ดวนด่วน (2552) ศึกษาค ุณภาพชีวิตของผูป้ ่ วยที่
รพ.บาราศนราด ูร เนื่องจาก รายได้ เป็นปัจจัยสาคัญที่มี
อิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตและเป็นตัวแทนค ุณภาพชีวิต
ของบ ุคคล ในสภาวะการเจ็บป่วยเป็นโรคเอดส์ ต้องใช้
เวลาในการรักษานานต่อเนื่องตลอดชีวิต การมีรายได้ที่
เพียงพอทาให้สามารถด ูแลตนเองได้ดี และมีค ุณภาพชีวิด
ดีว่าผูม้ ีรายได้ต่ากว่า
13 กันยายน 2555
ผลการวิ จยั
อายุ
ระยะเวลาที่เริ่ม
เพศ
ระยะเวลาที่
โรคแทรก
รักษาด้ วยยาARV
ซ้ อนที่เป็ น
ป่ วย
ชนิดยาต้านที่
ได้ รับ
สถานภาพ
สมรส
ระดับการศึกษา
การเปิ ดเผยผลเลือด
รายได้ /ความ
เพียงพอรายได้
13 กันยายน 2555
เกับสมาชิกใน
อาชีพ
ครอบครัว
สถานะสุขภาพ
ส่วนตัวแปรอื่นๆค ุณภาพชีวิตไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
ข้ อเสนอแนะ
1.ควรส่งเสริมและสนับสน ุนให้สมาชิกในครอบครัวผูป้ ่ วยได้มี
ส่วนช่วยเหลือ ให้กาลังใจ รวมทัง้ เป็นแหล่งพึ่งพาให้กบั ผูป้ ่ วย
โดยเฉพาะกลมุ่ ผูป้ ่ วยเอดส์ที่สงู อาย ุ
2. ผูใ้ ห้การด ูแลรักษาควรทราบข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษา
ของผูป้ ่ วยเพื่อจะได้สร้างความตระหนัก และเพิ่มความใส่ใจ
ในกลมุ่ ที่มีการศึกษาน้อย
13 กันยายน 2555
ข้ อเสนอแนะ
3. ควรวางแผนพัฒนาความสามารถในการด ูแลตนเอง
และส่งเสริมประสบการณ์ภาวะเหนือตนเองของผูป้ ่ วยเอดส์
4. ควรประสานงานกับหน่วยงานพัฒนาสังคม องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อจัดกิจกรรมเสริมสร้างทัศนคติ
เกี่ยวกับโรคเอดส์ แก่ประชาชนในช ุมชน เพื่อลดตราบาป
ทางสังคมให้กบั ผูป้ ่ วยเอดส์
13 กันยายน 2555
กิตติกรรมประกาศ
นพ. จรัส จันทร์ตระก ูล : ผอ.รพ.ทงุ่ สง
ดร. สมหมาย คชนาม :อาจารย์ที่ปรึกษา
ผูป้ ่ วยเอดส์ท ุกคน
13 กันยายน 2555
13 กันยายน 2555