ppt - FETP Thailand

Download Report

Transcript ppt - FETP Thailand

การศึกษาระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่
และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009
จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 14-23 กรกฎาคม 2553
ความเป็ นมา: ทาไมเลือกไข้ หวัดใหญ่
• ไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009 พบครัง้ แรกในอเมริกาเหนือ
เดือนเมษายน 2552 และ WHO ประกาศให้ เป็ น Influenza Pandemic
ในเดือนมิถนุ ายน 2552
• ในประเทศไทย พบผู้ป่วยรายแรก เดือนพฤษภาคม 2552 หลังจากนันมี
้
การระบาดของไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009 ต่อเนื่อง
• ช่วงการระบาด ผู้ป่วยจะถูกรายงานผ่านระบบรายงาน 2 ระบบ
– ระบบรายงาน 506 (National surveillance system)
– ระบบรายงานผู้ป่วยยืนยัน H1N1 2009 (ปรับจาก AI surveillance)
• ระบบรายงานยืนยัน H1N1 2009 ช่วยให้ ติดตามสถานการณ์ระบาดได้
อย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์
ความเป็ นมา: ทาไมเลือกไข้ หวัดใหญ่
• ในช่วง peak ของการระบาด พบว่า มีจานวนผู้ป่วยสูงขึ ้นมาก ทาให้
เป็ นภาระในการรายงาน
• นอกจากนี ้ยังมีระบบเฝ้าระวังเสริม เช่น ILI surveillance และการเฝ้า
ระวังทางห้ องปฏิบตั ิการเฉพาะพื ้นที่ใน 13 รพ.
• จังหวัดเชียงใหม่มีการรายงานผู้ป่วยไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1
2009 สูงเป็ นอันดับที่ 2 ของประเทศ รองจากกรุงเทพมหานคร อีกทัง้
เป็ นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในภาคเหนือ และมีระบบเฝ้าระวังที่
เกี่ยวข้ องกับไข้ หวัดใหญ่ครบทุกระบบ
• ดังนัน้ สานักระบาดวิทยาจึงได้ ทาการศึกษาประเมินระบบเฝ้าระวังโรค
ไข้ หวัดใหญ่และไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009 ใน จ.เชียงใหม่
วัตถุประสงค์
• เพื่อประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพระบบรายงานโรคไข้ หวัดใหญ่
และไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009 ของจังหวัดเชียงใหม่
• ศึกษาคุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังเชิงคุณภาพ (Qualitative
attributes) และเชิงปริ มาณ (Quantitative attributes)
• เข้ าใจถึงปั ญหาและอุปสรรคของการดาเนินการ เพื่อนาข้ อมูลมา
ปรับปรุง และพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไข้ หวัดใหญ่และไข้ หวัดใหญ่สาย
พันธุ์ใหม่ H1N1 2009 ในจังหวัดเชียงใหม่และส่วนกลาง
วิธีการศึกษา (1)
• รูปแบบการศึกษา: การศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study)
• พื ้นที่ที่ทาการศึกษา*: สุม่ เลือก 4 อาเภอในจังหวัดเชียงใหม่
– โรงพยาบาลจังหวัด
• รพ.นครพิงค์ (519 เตียง) – อาเภอแม่ริม
– โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่: 1 จาก 3 โรงพยาบาล
• รพ.ฝาง (120 เตียง) – อาเภอฝาง
– โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก: 1 จาก 20 โรงพยาบาล
• รพ.ดอยหล่อ (30 เตียง) – อาเภอดอยหล่อ
– โรงพยาบาลเอกชน: 1 จาก 14 โรงพยาบาล
• รพ.แมคคอร์ มิค (400 เตียง) – อาเภอเมือง
* ทุกอาเภอถูกเลือกโดยวิธีการสุ่ม ยกเว้ น อาเภอเมือง และแม่ ริม ซึ่งสุ่มเลือกแบบเจาะจง
(purposive sampling)
5
ประชากรเป้าหมายที่ทาการศึกษา
สถานที่
องค์กรด้ านสาธารณสุข
•สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10
•สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
•สานักงานสาธารณสุขอาเภอ
โรงพยาบาล: นครพิงค์, ฝาง, ดอยหล่อ,
แมคคอร์ มิค
รพ.สต.*: ท่าศาลา, สะลวง, สันทราย
คองน้ อย, แม่ริม
เทศบาลนครเชียงใหม่
Policy
maker
ผู้ทางาน
Lab
แพทย์ พยาบาล
ด้ านระบาด
staff/IC
นัก
สถิติ
√
√
× × × ×
√
√
√
√
√
√
√
√
× × × ×
× × × × ×
√
*รวมถึงสัมภาษณ์ หัวหน้ า อสม. ในแต่ ละตาบลที่ทาการศึกษา
6
วิธีการศึกษา (2)
• สัมภาษณ์บคุ คล ตรวจดูเอกสาร รวมถึงสังเกตจากการปฏิบตั ิงานต่างๆ
ที่เกี่ยวข้ องกับระบบเฝ้าระวัง
• ดึงข้ อมูลจากฐานข้ อมูลโรงพยาบาลที่ทาการศึกษา
• ทบทวน OPD card, IPD chart, รายงานการตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการ
และรายงานการได้ รับยาต้ านไวรัส ของผู้ป่วยที่เข้ านิยามการศึกษา
จานวนผู้ป่วยโรคไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ H1N1
2009 ประเทศไทย เดือนมกราคม 2552 ถึงกรกฎาคม 2553
จานวนผู้ป่วย (คน)
10000
influenza (506)
ช่ วงเวลาของข้ อมูลที่
ทาการศึกษา
ช่ วงที่ 1: 1 มิ.ย. – 30 ก.ค. 2552
(High epidemic period)
ช่ วงที่ 2: 1 ม.ค. – 30 มิ.ย. 2553
(More subside epidemic)
H1N1 2009
8000
6000
4000
2000
Jul-53
Jun-53
May-53
Apr-53
Mar-53
Feb-53
Jan-53
Dec-52
Nov-52
Oct-52
Sep-52
Aug-52
Jul-52
Jun-52
May-52
Apr-52
Mar-52
Feb-52
Jan-52
0
จานวนผู้ป่วยโรคไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ H1N1
2009 ประเทศไทย เดือนมกราคม 2552 ถึงกรกฎาคม 2553
จานวนผู้ป่วย (คน)
10000
influenza (506)
ช่ วงเวลาของข้ อมูลที่
ทาการศึกษา
ช่ วงที่ 1: 1 มิ.ย. – 30 ก.ค. 2552
(High epidemic period)
ช่ วงที่ 2: 1 ม.ค. – 30 มิ.ย. 2553
(More subside epidemic)
H1N1 2009
ช่ วงที่ 1
8000
6000
4000
2000
Jul-53
Jun-53
May-53
Apr-53
Mar-53
Feb-53
Jan-53
Dec-52
Nov-52
Oct-52
Sep-52
Aug-52
Jul-52
Jun-52
May-52
Apr-52
Mar-52
Feb-52
Jan-52
0
จานวนผู้ป่วยโรคไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ H1N1
2009 ประเทศไทย เดือนมกราคม 2552 ถึงกรกฎาคม 2553
จานวนผู้ป่วย (คน)
10000
influenza (506)
ช่ วงเวลาของข้ อมูลที่
ทาการศึกษา
ช่ วงที่ 1: 1 มิ.ย. – 30 ก.ค. 2552
(High epidemic period)
ช่ วงที่ 2: 1 ม.ค. – 30 มิ.ย. 2553
(More subside epidemic)
H1N1 2009
ช่ วงที่ 1
8000
6000
4000
ช่ วงที่ 2
2000
Jul-53
Jun-53
May-53
Apr-53
Mar-53
Feb-53
Jan-53
Dec-52
Nov-52
Oct-52
Sep-52
Aug-52
Jul-52
Jun-52
May-52
Apr-52
Mar-52
Feb-52
Jan-52
0
กลุ่มผู้ป่วยที่ถูกคัดเลือกเข้ ามาในการศึกษา
• ผู้ป่วยทุกรายที่ได้ รับการวินิจฉัยโรค ดังต่อไปนี ้
– J09 avian Influenza, new influenza A (H1N1)
– J10 Influenza
– J11 Influenza, virus not identified
• ผู้ป่วยกลุม่ โรคการติดเชื ้อทางเดินหายใจส่วนบน ที่ได้ รับการวินิจฉัยโรคดังต่อไปนี ้
– J00 acute nasopharyngitis (common cold)
– J02.9 acute pharyngitis, unspecified
– J06.9 acute upper respiratory infection, unspecified
โดยเลือกเฉพาะผู้ที่ได้ รับยาต้ านไวรัส (oseltamivir, Zanamivir) หรื อได้ รับการตรวจ
PCR สาหรับเชื ้อไข้ หวัดใหญ่ และเลือกผู้ที่มีอาการเข้ าตามนิยามผู้ป่วยที่ใช้ ใน
การศึกษา
นิยามผู้ป่วยไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่
H1N1 2009 ในการศึกษาครั ง้ นี ้
ผู้ป่วยทุกกลุม่ อายุที่เข้ าเกณฑ์ตอ่ ไปนี ้
• ไข้ (อุณหภูมิร่างกายมากกว่า 38 องศาเซลเซียส) ปวดเมื่อยตามร่างกาย ร่วมกับ
– ลักษณะทางคลินิกอย่างน้ อย 1 อาการ ได้ แก่ ไอ เจ็บคอ อ่อนเพลีย มีน ้ามูก
เยื่อบุตาอักเสบ
• แพทย์วินิจฉัยสงสัยว่าเป็ นไข้ หวัดใหญ่ หรื อไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009
• ผู้ป่วยที่ได้ รับการวินิจฉัยด้ วยอาการติดเชื ้อทางเดินหายใจส่วนบน หรื อ อาการ
ไข้ หวัดใหญ่ (ตามรหัส ICD 10 ทัง้ 6 รหัสที่ได้ กล่าวมาแล้ ว) และให้ ผลบวกต่อ RTPCR
สิ่งที่ต้องการทราบในการประเมินระบบเฝ้าระวัง
• System description (การอธิบายระบบเฝ้าระวัง)
• Usefulness (การนาไปใช้ ประโยชน์)
• คุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังเชิงคุณภาพ (Qualitative attributes)
–
–
–
–
ความยอมรับของระบบเฝ้าระวัง (Acceptability)
ความง่ายของระบบเฝ้ าระวัง (Simplicity)
ความยืดหยุ่นของระบบเฝ้าระวัง (Flexibility)
ความมัน่ คงของระบบเฝ้าระวัง (Stability)
• คุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังเชิงปริ มาณ (Quantitative attributes)
– ความครบถ้ วนหรื อความไวของระบบเฝ้าระวัง (Coverage of case reporting,
Sensitivity)
– ค่าพยากรณ์บวกของระบบเฝ้าระวัง (Predictive Value Positive, PVP)
– ความถูกต้ องของข้ อมูล (Data Accuracy)
– ความทันเวลาของระบบเฝ้าระวัง (Timeliness)
13
การศึกษาความครบถ้ วนหรือความไวของระบบเฝ้าระวัง
(Coverage of case reporting, Sensitivity)
• ความครบถ้ วนของการรายงานผู้ป่วยที่สงสัยไข้ หวัดใหญ่หรื อไข้ หวัด
ใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
• โดยวิเคราะห์ข้อมูลเป็ น 2 กลุม่
– ความครอบคลุมของการรายงานไข้ หวัดใหญ่ในภาพรวม
– ความครอบคลุมของผู้ป่วยยืนยันไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
จานวนผู้ป่วยที่ตรงตามนิยามผู้ป่วย และถูกรายงาน
จานวนผู้ป่วยทัง้ หมดที่ตรงตามนิยามผู้ป่วย
X 100
การประเมินค่ าพยากรณ์ บวกของระบบเฝ้าระวัง
(Predictive Value Positive, PVP)
• ทาการศึกษาความถูกต้ องของผู้ป่วยที่ถกู รายงานว่าเป็ นไข้ หวัดใหญ่ใน
ระบบเฝ้าระวัง รง. 506
จานวนผู้ป่วยที่ถูกรายงานโรคไข้ หวัดใหญ่ และตรงตามนิยามผู้ป่วย X 100
จานวนผู้ป่วยทัง้ หมดที่ถูกรายงานโรคไข้ หวัดใหญ่
การศึกษาความถูกต้ องของข้ อมูล (Data Accuracy)
 ศึกษาข้ อมูลของตัวแปรดังนี ้
 เพศ: ชาย/หญิง
 อายุ: ±1 ปี (ผู้ป่วยอายุ ≥ 1 ปี ), ±1 เดือน (ผู้ป่วยอายุ < 1 ปี )
 วันเริ่ มป่ วย ±1 วัน
ความทันเวลา (Timeliness)
• โดยประเมินจาก
– วันที่ผ้ ปู ่ วยได้ รับการวินิจฉัยจนถึงวันที่รายงานไปที่ สสจ.
– วันที่ผ้ ปู ่ วยได้ รับการวินิจฉัยจนถึงวันที่ออกสอบสวนและควบคุมโรค
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
6 วัน
สานักงาน
สาธารณสุขอาเภอ
3 วัน
โรงพยาบาล
24 ชม.
สอบสวนโรค
ผลการศึกษาระบบเฝ้าระวังเชิงคุณภาพ
(Results from qualitative evaluation)
17
จานวนผู้ถูกสัมภาษณ์
ตาแหน่ ง
จานวนผู้ถูกสัมภาษณ์
Policy makers
10
แพทย์
10
พยาบาล
16
IC staff
4
เจ้ าหน้ าที่ระบาดวิทยา
10
นักสถิติ
4
เจ้ าหน้ าที่ห้องปฏิบัตกิ าร
4
เจ้ าหน้ าที่ประจา รพ.สต.
4
อสม.
4
เจ้ าหน้ าที่เทศบาล
1
รวม
67
18
System Description
(การอธิบายระบบเฝ้าระวัง)
• ก่ อนเกิดการระบาด – รายงานไข้ หวัดใหญ่ ผ่ านทาง 506
• ช่ วงที่มีการระบาดครัง้ ใหญ่ (Pandemic period) – รายงานไข้ หวัด
ใหญ่ ผ่ านทาง 506 + web based Influenza A H1N1 2009
• ภายหลังการระบาดครัง้ ใหญ่ (Current period) – รายงานไข้ หวัด
ใหญ่ ผ่ านทาง 506 + web based Influenza A H1N1 2009
19
ระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์
ใหม่ H1N1 2009 ในระดับจังหวัด
Fax / web of
R/O H1N1pdm
สานักระบาด
วิทยา
สานักงานป้องกัน
ควบคุมโรคที่ 10
Report 506
สานักงาน
สาธารณสุข
อาเภอ
สานักงาน
สาธารณสุข
จังหวัด
Fax of
R/O H1N1pdm
Report
Fax of
506 R/O H1N1pdm
Report 506
Report 506
ศูนย์ วิทยาศาสตร์
lab. เอกชน
เชียงใหม่
โรงพยาบาล
After June 2010 the 2 systems had to be merged but PHO still prefers to have
20
the web system since it has more useful variables
ระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่
H1N1 2009 ในระดับโรงพยาบาลชุมชน*
สสอ.
สสจ.
Hospital
E-mail
e-filing
Fax/ E-mail
e-filing
E-mail
รพ.สต.
ฝ่ ายเวชศาสตร์
Call when
Call when
ป้องกัน
suspected H1N1
suspected H1N1
Call when
Called when
suspected H1N1
Collect data suspect H1N1
Collect data by
by themselves/
themselves/
Specific
extracted data
extracted data
IPD
OPDat
doctor
flu corner
อสม.
Triage
Sending data
Response
* Fang: collected data by manual system and send data to DHO before passing to PHO
Doi Lo: collected from computerized data, then directly send data to PHO
21
ระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่
H1N1 2009 โรงพยาบาลนครพิงค์
สสจ.
Hospital
สสอ.
E-mail
e-filing
Fax/ E-mail
E-mail
รพ.สต.
เวชกรรม
สังคม
Call when
suspected H1N1
Call when
Extracted
sending PCR
data to 506
OPD
Call when
suspected H1N1
Called when
Extracted
confirmed H1N1
data to 506
อสม.
IPD
Sending data
Response
22
ระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่ และไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่
H1N1 2009 โรงพยาบาลแมคคอร์ มิค
สสจ.
Fax/
E-mail
Cases sent PCR
• Nurse wrote
initial info.
• ICN complete
data
พยาบาล IC
Nurse wrote
506 report
OPD
e-filing/ E-mail
506 form (outside
province)
Nurse wrote
506 report
IPD
Sending data
Feed back
23
แง่ มุมอื่นๆจากการอธิบายระบบเฝ้าระวัง
• ทางจังหวัดมีนโยบายเน้ นความโปร่งใสในข้ อมูลการรายงานผู้ป่วย
• สาหรับโรคไข้ หวัดใหญ่ ผู้บริหารให้ ความสาคัญกับการตรวจยืนยันเชื ้อ
ไวรัสทางห้ องปฏิบตั ิการ เพื่อติดตามสถานการณ์การระบาด
• สสจ. ได้ พฒ
ั นาโปรแกรมสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลไข้ หวัดใหญ่สาย
พันธุ์ใหม่ H1N1 2009 ขึ ้นมา ตังแต่
้ กลางปี 2553 ซึง่ โปรแกรมสามารถ
ตอบโจทย์ผ้ บู ริหารได้ มากขึ ้น
• การส่งต่อข้ อมูลผู้ป่วยไข้ หวัดใหญ่ไปให้ ระดับตาบล เพือ่ ออกสอบสวน
โรคยังค่อนข้ างล่าช้ า
• การลงรหัส ICD10 ไม่ถกู ต้ อง ทาให้ ข้อมูลการรายงาน 506 ผิดด้ วย
เช่นกัน
24
Usefulness (การนาไปใช้ ประโยชน์ )
• ระดับจังหวัด
– เพื่อติดตามแนวโน้ มการระบาด
– นาข้ อมูลมาช่วยปรับแผนการเตรี ยมความพร้ อม หรื อแผนตอบโต้ การระบาด
• ระดับโรงพยาบาล
– เพื่อติดตามสถานการณ์ และปรับเปลี่ยนแผนเพื่อการจัดการต่างๆ
– เพื่อริ เริ่ มความรู้ใหม่ สาหรับแนวทางรักษาผู้ป่วย (Clinical practice guideline)
– เพื่อใช้ วางแผนในการบริ หารวัคซีนในประชากรกลุม่ เสี่ยง
• ระดับชุมชน
– เพื่อให้ ประชาชนมีความรู้มากขึ ้นเกี่ยวกับโรค และการปฏิบตั ิเพื่อดูแลตนเอง
– เพื่อส่งเสริ มการมีสว่ นร่วมในชุมชนในด้ านการป้องกันโรค
– อสม. สามารถกาหนดพื ้นที่เสี่ยงในการเกิดโรค เพื่อหาแนวทางป้องกันแต่เริ่ มแรก
25
Strength
• ระบบเฝ้าระวังที่มีอยูเ่ ดิม สามารถนามาใช้ กบั โรคอุบตั ิใหม่ได้
• ผู้บริหารให้ ความสาคัญกับระบบเฝ้าระวัง และมีแผนเตรี ยมการ เมื่อเกิด
การระบาดขึ ้น
• ผู้ปฏิบตั งิ านพึงพอใจ และเห็นความสาคัญของระบบเฝ้าระวัง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดการระบาด
• มีแผนสนับสนุนการอบรมเพิ่ม เพื่อพัฒนาบุคลากรให้ มีความรู้ด้าน
ระบาดวิทยา และระบบเฝ้าระวัง
• บางโรงพยาบาลสนับสนุนค่าตอบแทนเพิ่มพิเศษสาหรับผู้ทปี่ ฏิบตั ิงาน
นอกเวลา
26
Weakness
• แพทย์บางท่านไม่ทราบเกี่ยวกับระบบเฝ้าระวัง และไม่เห็นความสาคัญ
ของระบบเฝ้าระวัง
• งบประมาณด้ านการควบคุมโรคไม่เพียงพอ โดยเฉพาะในระดับตาบล
และหมูบ่ ้ าน
• ภาระงานของบุคลากรทุกระดับสูงขึ ้นในช่วงเกิดการระบาดของโรค
27
ผลการศึกษาระบบเฝ้าระวังเชิงปริมาณ
(Results from quantitative evaluation)
28
สัดส่ วนเวชระเบียนที่ได้ รับการทบทวนในการศึกษานี ้ จาแนกตาม
โรงพยาบาล
จานวนเวชระเบียนทัง้ หมดที่ต้องทบทวน (รวม 4 โรงพยาบาล)
1,247
จานวนเวชระเบียนที่ได้ รับการทบทวน
960 (77%)
%
100
33/33
386/415
80
200/225
341/574
60
40
20
0
Nakhon Ping
Fang
Doi Lo
McCormick 29
การศึกษาความครบถ้ วนหรือความไวของ
ระบบเฝ้าระวัง
(Coverage of case reporting, Sensitivity)
30
ความครบถ้ วนหรื อความไวของระบบเฝ้าระวังโรค
ไข้ หวัดใหญ่ จาแนกตามโรงพยาบาล ปี 2552 และ 2553
รวม 2 ปี
%
แยกปี 2552 และปี 2553
%
ผู้ป่วย ILI ส่ วนใหญ่
ไม่ ถูกรายงาน
100
100
80
80
60
60
165
40
20
0
12
208
28
40
20
4
158
8
50
5
81 84
23
0
2009
31
การประเมินค่ าพยากรณ์ บวกของระบบเฝ้าระวัง
(Predictive Value Positive, PVP)
32
ค่ าพยากรณ์ บวกของระบบเฝ้าระวังโรคไข้ หวัดใหญ่
จาแนกตามโรงพยาบาล ปี 2552 และ 2553
รวม 2 ปี
%
100
แยกปี 2552 และปี 2553
ลง ICD10 ผิด เป็ น flu vaccine,
contact H1N1, DHF, pneumonia
%
รายงาน
pneumonia 5 ราย
80
60
40
100
80
60
188
27
12
121
40
20
20
0
0
*
144 44
8 4
5
67
54
22
*
2009
33
ความถูกต้ องของข้ อมูล*
3 ตัวแปร
เพศ, อายุ, วันที่เริ่มป่ วย
*ข้ อมูลจาก รายงาน 506
34
ความถูกต้ องของข้ อมูลตัวแปรเพศ จาแนกตามโรงพยาบาล
ปี 2552 และ 2553
%
100
80
60
40
167 53
5
25
Nakhon
Ping
Fang
8
4
55 69
2009
2010
20
0
Doi Lo
McCormick
35
ความถูกต้ องของข้ อมูลตัวแปรอายุ จาแนกตาม
โรงพยาบาล ปี 2552 และ 2553
100
%
80
60
40
166 53
4
25
Nakhon
Ping
Fang
8
4
50 69
2009
2010
20
0
Doi Lo
McCormick
36
ความถูกต้ องของข้ อมูลตัวแปรวันที่เริ่มป่ วย จาแนกตาม
โรงพยาบาล ปี 2552 และ 2553
%
100
80
60
8
40
20
4
3
21
43 60
114 30
2009
2010
0
Nakhon
Ping
Fang
Doi Lo
McCormick
37
ความทันเวลา
1. ความทันเวลาของการรายงานผู้ป่วย*
2. ความทันเวลาในการออกสอบสวนโรค
*ข้ อมูลจาก รายงาน 506
38
ระยะเวลาการรายงานจากโรงพยาบาล ถึง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ปี 2552 และ 2553
นครพิงค์
ฝาง
ดอยหล่ อ
แมคคอร์ มคิ
2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553
มัธยฐาน
8
7
10
10
0
0
11
11
(วัน)
พิสัย
2 to 33 3 to 47 2 to 24 3 to 37 0 to 2 0 to 3 6 to 36 9 to 20
(วัน)
39
ระยะเวลาการออกสอบสวนโรคไข้ หวัดใหญ่ – รพ.ดอยหล่ อ
12 เหตุการณ์
1 เหตุการณ์
สอบสวนการระบาด
11 เหตุการณ์
สอบสวนการระบาด
ภายใน 24 ชั่วโมง
9 เหตุการณ์ •Median 0 วัน
(81.8%)
•Range: 0 to 3 วัน
40
อภิปรายผล
(Discussion)
41
อภิปรายระบบเฝ้าระวังในภาพรวม
• จังหวัดเชียงใหม่มีระบบเฝ้าระวัง รวมถึงการสอบสวนการระบาดทีม่ ี
ประสิทธิภาพ อันเป็ นผลมาจาก วิสยั ทัศน์ผ้ บู ริหาร มีการสนับสนุนด้ าน
การเงินและความก้ าวหน้ าในด้ านการงานแก่เจ้ าหน้ าที่ผ้ ปู ฏิบตั ิงานด้ วย
• มีการใช้ ประโยชน์จากระบบเฝ้าระวังในเจ้ าหน้ าที่ทกุ ระดับ ตังแต่
้ ระดับ
จังหวัด ไปจนถึงระดับชุมชน
• การยอมรับในระบบเฝ้าระวังโรคไข้ หวัดใหญ่ของผู้ปฏิบตั งิ านทัว่ ไปอยู่
ในเกณฑ์ที่ดี แต่อาจมีปัญหาด้ านเสถียรภาพของระบบเฝ้าระวังได้ บ้าง
ในช่วงการระบาด
42
อภิปรายคุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังเชิงปริมาณ
• การลงรหัส ICD10 ไม่ถกู ต้ อง มีผลต่อ coverage of case report และ
PVP ของระบบเฝ้าระวัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงพยาบาลที่ดงึ ข้ อมูลจาก
ฐานข้ อมูลคอมพิวเตอร์
• ตัวแปรวันที่เริ่มป่ วย มักมีปัญหาด้ านความถูกต้ องของข้ อมูลเฝ้าระวัง
• ถึงแม้ ความทันเวลาในการรายงานผู้ป่วยไม่สงู แต่ไม่ได้ สง่ ผลต่อการออก
สอบสวนและควบคุมการระบาด
• นิยามผู้ป่วยที่นามาใช้ ประเมินระบบเฝ้าระวังมีความจาเพาะค่อนข้ างสูง มี
ผลทาให้ การประมาณค่าความครบถ้ วนในการรายงาน (coverage of
case report) เพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะในกลุม่ ผู้ป่วยไข้ หวัด
43
ระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่ ช่ วงที่มีการระบาด
• ระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1 2009 เป็ นระบบที่ปรับ
มาจากระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดนก ถึงแม้ เป็ นระบบใหม่ แต่เจ้ าหน้ าที่มี
ความคุ้นเคยกับการปฏิบตั งิ านในระบบ
• หลังจากการระบาดใหญ่ ระบบเฝ้าระวังไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
H1N1 2009 ยังคงดาเนินต่อไป แต่ถกู ปรับให้ เหมาะสมกับช่วง postepidemic
• ความครอบคลุมการรายงาน (Coverage of case report) ในช่วง
higher epidemic (2009) มีแนวโน้ มสูงกว่า ช่วงที่ outbreak subside
(2010)
44
สรุ ปผลการศึกษา
• ระบบเฝ้าระวังโรคไข้ หวัดใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่อยูใ่ นเกณฑ์ ที่ดี มี
ผู้บริหารที่เข้ มแข็งและศักยภาพสูง รวมถึงมีความร่วมมือกันของทุกภาค
ส่วนเป็ นอย่างดี
• ความครอบคลุมของการรายงานอยูใ่ นเกณฑ์ปานกลาง มีความถูกต้ อง
ของการรายงานค่อนข้ างสูง แต่ความทันเวลาในการรายงานค่อนข้ าง
ล่าช้ า
• เมื่อเปรี ยบเทียบ 2 ช่วงเวลา พบว่า ความครอบคลุมและความถูกต้ อง
ของการรายงาน รวมถึงความถูกต้ องของข้ อมูล ในช่วงปี 2552 ค่อนข้ าง
สูงกว่าช่วงปี 2553 แต่ความทันเวลาในการรายงาน ไม่แตกต่างกัน
• ข้ อมูลระบบเฝ้าระวัง สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ ในหน่วยงานทุกระดับ
45
ข้ อเสนอแนะ
• การวินิจฉัยและการรายงานโรคไข้ หวัดใหญ่ ควรใช้ เกณฑ์เดียวกันสาหรับ
ทุกโรงพยาบาล
• ควรมีการอบรมเกี่ยวกับการลงรหัส ICD10 และมีระบบควบคุม
คุณภาพเพื่อตรวจสอบความถูกต้ องของการลงรหัส
• ส่งเสริมเจ้ าหน้ าที่ให้ เห็นความสาคัญของข้ อมูลเฝ้าระวัง โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง วันที่เริ่มป่ วย
• ในช่วงที่มีการระบาด ควรมีการจัดสรรกาลังคนจากแผนกอื่นๆ มาช่วยลด
ภาระงานแก่เจ้ าหน้ าที่ประจาที่ทางานด้ านระบาด
46
ขอขอบคุณ
•
•
•
•
•
•
โรงพยาบาลนครพิงค์, ฝาง, ดอยหล่อ, แมคคอร์ มิค
เทศบาลเมืองเชียงใหม่
รพ.สต.ท่าศาลา, สะลวง, สันทราย คลองน้ อย และแม่ริม
สานักงานสาธารณสุขอาเภอเมือง, แม่ริม, ฝาง และดอยหล่อ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดเชียงใหม่
47
Thank you for your attention
48
Problem of quantitative attribute (3)
• Case definition how it effect the evaluation result?
• URI group – “high specificity” (fever > 38°C + myalgia + at
least 1 symptom)
• Influenza group – “following concept of surveillance
reporting” (flu, R/O flu)
• For URI group, it is the group that all cases should not
be reported in 506, high specificity case definition
tend to overestimate coverage
Case
URI group
Not a case
Report
Yes
No
C
Coverage
D
PVP
49