มาตรฐาน SRRT และตัวชี้วัดในอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง

Download Report

Transcript มาตรฐาน SRRT และตัวชี้วัดในอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง

มาตรฐาน SRRT 2552
ความคิดเห็นต่อทีม SRRT ระดับจังหวัดและอาเภอ
1. ทีม SRRT ที่จะมีศกั ยภาพสูงได้ ควรจัดทีมอย่างไร
• จำนวนคน โครงสร้ ำง องค์ ประกอบ คุณสมบัติ ...............
2. ทีม SRRT ที่มีความพร้อมต้องเตรียมตัวอย่างไร
• ..............................................
3. ทีม SRRT ที่เข้มแข็ง ต้องมีขีดความสามารถอย่างไร
• ทำอะไรได้ บ้ำง แยกให้ ชัด ..............
SRRT เป็ นกลไกในการจัดการโรคและภัย
สุขภาพที่เร่งด่วน/ฉุกเฉิน
ผูบ้ ริหารหน่ วยงาน
S
งานอนามัยสิง่ แวดล้อม
งานควบคุมโรค
R
งานรักษาพยาบาล
R
งานสุขศึกษาฯ
(Control + Containment)
งานระบาดวิทยา
(เฝ้ าระวัง + สอบสวนโรค)
T
งานชันสูตรทางห้องปฏิบตั กิ าร
งานอืน่ ๆ
บทบาทภารกิจของทีม SRRT *
1. เฝ้ าระวังโรคติดต่อ ที่แพร่ระบาดรวดเร็วรุนแรง
2. ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
3. สอบสวนโรค อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
4. ควบคุมโรคขั้นต้น (Containment) ทันที
5. แลกเปลี่ยนข้อมูลและทางานร่วมกันเป็ นเครือข่าย
* บทบาทในการระงับการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ ไม่ใช่ควบคุมโรคแบบ
เบ็ดเสร็จ
หน่วยเฝ้ าระวังและ
ตอบโต้ทางสาธารณสุข
ของประเทศไทย
(ทีม SRRT)
1,030 +(85) ทีม
อาเภอ
ศบส.กทม.
กทม.
จังหวัด
C-SRRT 1+5 ทีม
(ทีมปฏิบตั กิ ารระดับชาติ)
ส่วนกลาง
เขต
R-SRRT 12 ทีม
(ทีมปฏิบตั กิ ารระดับชาติ)
P-SRRT 76 ทีม
(ทีมปฏิบตั กิ ารระดับกลาง)
D-SRRT 941 ทีม
(ทีมปฏิบตั กิ ารระดับต้น)
เทศบาล *ทีม SRRT ท้องถิ่น
อบต. (ทีมปฏิบตั กิ ารระดับท้องถิ่น)
945 ทีม
76+ ทีม
*ข้อมูลปัจจุบนั
เทศบาลนคร 23 แห่ง เทศบาลเมือง 129 แห่ง
เทศบาลตาบล 1,124 แห่ง อบต. 6,500 แห่ง
SRRT roadmap
มืออาชีพ
2554-55 : One district – One professional SRRT
2552-53 : One District - One Successful Operation
2550-1 : One province - One Successful Operation
2548-9 : One SRRT - One Operation
2546-47 : One District – One SRRT
ผลงาน One Team One Operation
E-inspection
(91.79%)
ร้อยละของทีม SRRT ระดับอาเภอ
74.5 %
(รวมทีม ศบส.กทม.)ที่มีรายงาน 63.9 %
สอบสวนโรค
44.5 %
20.9 %
ปี 51
ปี งบประมาณ
ปี 48 ปี 49
ปี 50
จานวนทีมอาเภอ
197
419
601
701
จานวนรายงาน(ฉบับ) ........... 1,535 2,235 2,943
SRRT Road Map 2554 – 2558 (เน้ นกำรพัฒนำทีม SRRT ตำบล)
2558 : One Tambon One Capable and Sustainable Team
2557 : One Tambon One Successful Respond
2556 : One Tambon Team One Respond
2555 : Expanded One Tambon One SRRT
2554 : One District – Two SRRT Tambon Team
กฎอนามัยระหว่างประเทศ ค.ศ. 2005
(International Health Regulation, IHR2005)
กฎอนามัยระหว่างประเทศ ค.ศ. 2005
(International Health Regulation, IHR2005)
• 23 พฤษภาคม 2548
สมัชชาองค์การอนามัยโลกรับรอง
• 15 มิถุนายน 2550 ประกาศใช้ทั ่ว
โลก
• มีขอ้ กาหนดต้องพัฒนาสมรรถนะ
ของประเทศด้านการเฝ้ าระวังและ
ตอบสนองทางสาธารณสุข
(Surveillance and Public health
response ) ภายในปี 2555
สมรรถนะของประเทศตาม IHR2005
Assessment and Notification
ระดับชาติ
(National Level)
ประเมินสถานการณ์ และรายงาน WHO
Public Health Response
ควบคุมการ
แพร่ระบาด / สนับสนุนผูเ้ ชี่ยวชาญ ชันสูตร
logistics ทีมสอบสวนฯ / จัดทาแผนระดับชาติฯ
Confirm เหตุการณ์
(Intermediate Level) Support สนับสนุน/ดาเนินการเพิ่มเติม
Assess (and report)
ระดับท้องถิ่น/ระดับต้น Detect events ตรวจจับเหตุการณ์
Report รายงานข้อมูลเบื้องต้นที่จาเป็ น*
(Primary / Local
community Level) Implement ควบคุมโรคขั้นต้น ทันที
ระดับกลาง
สมรรถนะหลักของทีม SRRT ตาม IHR2005
ทีมส่วนกลาง
National
Level
ทีมเขต
(สคร.+ ศ.อนามัย)
ทีม
กทม./
จังหวัด
ทีมอาเภอ
ศบส.กทม.
ทีมท้องถิ่น
Intermediate
Level
Primary /
Local
community
Level
Assessment and Notification
ประเมินสถานการณ์ และรายงาน WHO
Public Health Response
ควบคุมการ
แพร่ระบาด / สนับสนุนผูเ้ ชี่ยวชาญ ชันสูตร
logistics ทีมสอบสวนฯ / จัดทาแผนระดับชาติฯ
Confirm เหตุการณ์
Support สนับสนุน/ดาเนินการเพิ่มเติม
Assess (and report)
Detect events ตรวจจับเหตุการณ์
Report รายงานข้อมูลเบื้องต้นที่จาเป็ น*
Implement ควบคุมโรคขั้นต้น ทันที
ทุกประเทศต้องเฝ้ าระวังและรายงาน PHEIC
ภาวะฉุกเฉิ นทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ
(Public Health Emergency of International Concern, PHEIC)
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่2009
เป็ นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ระหว่างประเทศหรือไม่
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ
(Public Health Emergency of International Concern,PHEIC)
หมายถึง เหตุการณ์ที่เข้าได้กบั 2 ใน 4 criteria ดังนี้
1. ผลกระทบทางสุขภาพที่มีความรุนแรง
(seriousness of the public health impact)
2. เหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือไม่เคยเจอมาก่อน
(unusual or unexpected nature of the event)
3. มีโอกาสที่จะแพร่ไปสูพ
่ ้ นที
ื ่อื่น
(potential for the event to spread)
4. มีความเสี่ยงที่จะจากัดการเคลื่อนที่ของผูค้ นหรือสินค้า
(the risk that restrictions to travel or trade)
ทุกประเทศต้องเฝ้ าระวังและรายงาน PHEIC
ภาวะฉุกเฉิ นทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ
(Public Health Emergency of International Concern, PHEIC)
1. ผูป้ ่ วยที่ทาให้เกิดผลกระทบ 2. โรคที่มีศกั ยภาพทาให้เกิดผล
กระทบทางสาธารณสุขรุนแรง มี
ทางสุขภาพที่รุนแรง และ
แนวโน้มระบาดข้ามประเทศได้
ไม่คาดว่าจะเกิด (4 โรค)
ได้แก่ อหิวาตกโรค กาฬโรคปอด
ได้แก่ ไข้ทรพิษ โปลิโอ
ไข้เหลือง ไข้เลือดออกจากไวรัส (อี
(Wild type) ไข้หวัดใหญ่
โบลา /ลาสสา/มาร์เบิรก์ ) โรคสาคัญ
(ที่มีศกั ยภาพเป็ น
ระดับชาติและภูมิภาค (เดงกี่ /เวสต์
ไนล์ /ริฟวัลเล่ย ์ /ไข้กาฬหลังแอ่นฯ)
Pandemic) และ SARS
3. โรคอื่น ๆ ซึ่งเข้าได้กบั เงื่อนไขของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ระหว่างประเทศ รวมถึงโรคที่ยงั ไม่ทราบสาเหตุและแหล่งโรค
นอกเหนือ จาก 2 กลุม่ โรคข้างต้น
ผลของกฎอนามัยระหว่างประเทศ
(IHR2005) ต่อการพัฒนา SRRT
• มีทีมระดับท้องถิ่น (Community Level)
• พัฒนาความสามารถของทีมแต่ละ
ระดับให้ได้ตามข้อกาหนด
• ทีมต้องตรวจจับ PHEIC ได้ โดยใช้
เครื่องมือของ WHO
มาตรฐาน SRRT
หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ แนวทางปฏิบตั ิ และ
ผลงานที่พึงประสงค์ของทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว
(Surveillance and Rapid Response Team หรือ SRRT)
วัตถุประสงค์ของการนามาตรฐาน SRRT มาใช้
1. เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพของทีม SRRT
2. เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะ หรือ Benchmark ระหว่างทีม
3. เพื่อเป็ นกลไกในการพัฒนาขีดความสามารถด้านการเฝ้ าระวังและตอบโต้ทาง
สาธารณสุขของประเทศ ตามข้อกาหนดในกฎอนามัยระหว่างประเทศ
(IHR2005)
มาตรฐาน SRRT
1. ทีมมีความเป็ นทีมชัดเจน และมีศกั ยภาพในการ
ปฏิบตั งิ าน
2. ทีมมีความพร้อมในการปฏิบตั งิ านเมื่อเกิดภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency)
3. ทีมมีขีดความสามารถหลักตามข้อกาหนดในกฎ
อนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005)
4. ทีมมีผลงานที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน SRRT 4 องค์ประกอบ 17 ตัวชี้วัด
INPUT
PROCESS
OUTPUT
ด้านความเป็ นทีม
ด้านความสามารถการปฏิบตั งิ าน
ด้านผลงาน
1. จัดตั้งทีม *
6. กำรเฝ้ ำระวัง/เตือนภัย (Detect events)
12. ผลงำนแจ้ งเตือน/รำยงำน
2. ศักยภำพวิชำกำร*
7. ประเมินสถำนกำรณ์ /รำยงำน
(Verify, Assess, Notification)
10. Support ด้ ำนอนำมัยสิ่ งแวดล้ อม*
13. ผลงำนสอบสวนครบถ้ วน
14. ผลงำนสอบสวน/ควบคุม
มีคุณภำพ
15. ผลงำนสอบสวนโรคเร็ว
(response time)
16. เขียนรำยงำน
สอบสวนโรคดี
11. Support ควบคุมโรค/ตอบโต้ ฯ
17. มีผลงำนวิชำกำรจำกกำร
สอบสวนโรค
3. บริหำรทีมงำน
ด้านความพร้อม
4. คน, สิ่ งสนับสนุน*
5. แผน, กำรฝึ กซ้ อม
8. สอบสวนโรค
9. ควบคุมโรคขั้นต้ น *
(Implement contain action)
* บูรณาการกับกรมอนามัย
แนวทางพัฒนาทีม SRRT ตามมาตรฐาน
ยกระดับมาตรฐาน/มีสมรรถนะตาม IHR
ประเมินตนเองตามมาตรฐาน SRRT
ปฏิบตั งิ าน
พัฒนาศักยภาพ, เตรียมการด้วยตนเอง
วางแผน, กาหนดเป้าหมาย,
เกณฑ์การทางาน
ตัวชี้วัดทั้งหมด (17)
1. จัดตัง้ ทีม *
2. ศักยภาพวิชาการ
3. บริหารทีมงาน
ด้านความ 4. คน, สิ่งสนับสนุน
พร้อม
5. แผน, การฝึ กซ้อม
ด้านความ 6. Detect events
7. Verify, Assess, Notification
สามารถ
การปฏิบตั ิ 8. สอบสวนโรค
9. Implement contain action
งาน
10. Support อนามัยสิ่งแวดล้อม
11. Support ควบคุมโรค/ตอบโต้ฯ
12. ผลงานแจ้งเตือน/รายงาน
ด้าน
13. ผลงานสอบสวนครบถ้วน
ผลงาน
14. สอบสวน/ควบคุมมีคณ
ุ ภาพ
15. ผลงานสอบสวนโรคเร็ว
16. เขียนรายงานสอบสวนดี
17. มีผลงานวิชาการฯ
ด้านความ
เป็ นทีม
ท้องถิ่น
(10)
อาเภอ
(13)
จังหวัด
(14)
เขต
(15)
ส่วนกลาง
(15)



































































องค์ประกอบของมาตรฐาน/ตัวชี้วัด/จน.ตัวชี้วัดย่อย(63)
ด้านความเป็ น
ทีม
ด้านความพร้อม
ด้านความ
สามารถการ
ปฏิบตั งิ าน
ด้านผลงาน
1. การจัดตั้งทีม SRRT
2. ทีมมีศกั ยภาพทางวิชาการ
3. ทีมมีศกั ยภาพด้านการบริหารทีมงาน
4. ทีมมีความพร้อมในการปฏิบตั งิ าน
5. ทีมมีแผนปฏิบตั กิ ารกรณีเร่งด่วนฯและการฝึ กซ้อม
6. การเฝ้ าระวังและเตือนภัย
7. การประเมินสถานการณ์และรายงาน
8. การสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ
9. การควบคุมโรคขั้นต้น
10. การสนับสนุนมาตรการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
11. การสนับสนุนมาตรการด้านควบคุมโรคและตอบโต้ฯ
12. ผลงานการแจ้งเตือนโรค/ภัยสุขภาพทันเวลา
13. ผลงานด้านความครบถ้วนของการสอบสวนโรค
14. ผลงานด้านคุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
15. ผลงานด้านความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
16. ผลงานด้านคุณภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค
17. ผลงานการนาเสนอความรูฯ้
5
4
5
6
5
5
5
6
6
5
5
1
1
1
1
1
1
ตัวชี้วัดย่อย (Sub – indicator)
ด้านความเป็ น
ทีม
ด้านความ
พร้อม
ด้าน
ความสามารถ
การปฏิบตั งิ าน
ด้านผลงาน
- สิ่งที่ ควรกาหนดหรือควรมี
- วัดปั จจุบนั
- สิ่งที่ ควรมีให้พร้อม หรือทาให้พร้อม
- วัดปั จจุบนั
- สิ่งที่ ควรทาได้ ในแต่ละขั้นตอน / กิจกรรม โดย
ใช้ผลงานแสดง
- เป็ นผลงานต่างชิ้นได้
- ผลงานไม่เกิน 3 ปี
- จานวนหรือระดับผลงานที่ทาได้ตามเกณฑ์
- เป็ นผลงาน 1 ปี (ตัวที่ 17 ใช้รอบ 3 ปี )
ตัวอย่างตัวชี้วัดย่อย (Sub indicator) ที่ไม่ใช่ดา้ นผลงาน
ตัวชี้วัดที่ 1 : การจัดตั้งทีม SRRT
B
1) มีคาสังแต่
่ งตัง้ ทีม ที่มีรายชื่อเป็นปัจจุบนั ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2) สมาชิกทีมมีจานวนตัง้ แต่ 4 คน ขึ้นไป ประกอบด้วยผูป้ ฏิบตั งิ านไม่นอ้ ยกว่า 3 ด้าน B
3) แกนหลักของทีมเป็ นผูป้ ฏิบตั งิ านระบาดวิทยา (เฝ้ าระวัง, สอบสวนโรค) และสมาชิก B
ทีมอย่างน้อย 1 คนมีความรูพ้ ้ นื ฐานด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม
S
4) หัวหน้าทีมเป็ นแพทย์ หรือหัวหน้าหน่ วยงาน
S
5) หน่ วยงานมีการระบุโครงสร้างภายในที่ชดั เจน เพือ่ เป็นหน่ วย
รับผิดชอบการจัดตัง้ และเป็นแกนดาเนิ นงานของทีม SRRT
หมายเหตุ : B = Basic requirement,
S = Special requirement
ตัวอย่างตัวชี้วัดย่อย (Sub indicator) ด้านผลงาน
ตัวชี้วัดที่ 14 : คุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
รายการ
มีการสอบสวนและควบคุมโรคที่มีคณ
ุ ภาพ ตามเกณฑ์ท่กี าหนด
1) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ ร้อยละ 40 - 59
2) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ ร้อยละ 60 - 79
3) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคณ
ุ ภาพ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
หมายเหตุ : B = Basic requirement,
[B]
[S1]
[S2]
S1, S2 = Special requirement (good, best)
ระดับการผ่านเกณฑ์
• ผ่านเกณฑ์ตวั ชี้วัดย่อย
– ไม่ผ่าน + ผ่านบางส่วน
– ผ่าน
• ผ่านเกณฑ์ตวั ชี้วัด
– ระดับพื้นฐาน : ตัวชี้วัดย่อยรหัส B ผ่านหมด
– ระดับดี : ตัวชี้วัดย่อยรหัส B และ S ผ่านหมด
• ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
– ระดับพื้นฐาน หมายถึง ทุกตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์อย่างน้อยระดับพื้นฐาน
– ระดับดี หมายถึง ทุกตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์ระดับดี
– ระดับดีเยี่ยม หมายถึง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับดีตดิ ต่อกัน 2 ครั้ง
ลาดับการประเมินมาตรฐาน
มาตรฐานทีมเขต/ส่วนกลาง ระดับดี ระดับดีเยี่ยม
มาตรฐานทีมเขต/ส่วนกลาง ระดับพื้นฐาน
มาตรฐานทีมจังหวัด ระดับดี
ระดับดีเยี่ยม
มาตรฐานทีมจังหวัด ระดับพื้นฐาน
มาตรฐานทีมอาเภอ ระดับดี
มาตรฐานทีมอาเภอ ระดับพื้นฐาน
มาตรฐานทีมท้องถิ่น ระดับดี
มาตรฐานทีมท้องถิ่น ระดับพื้นฐาน
ระดับดีเยี่ยม
หมายเหตุ
ระดับดีเยี่ยม - เริ่ มต้นประเมินระดับใดก็ได้
- ผลประเมินใช้ได้ 3 ปี
- ระดับเยีย่ ม = ระดับดี 2 ครั้ง
การรับรองผลการประเมิน
ทีม SRRT ประเมินตนเอง และขอรับรองผลการประเมิน
มาตรฐานทีม SRRT
ทีมท้องถิ่น,ทีมอาเภอ
ทีมจังหวัด
คณะกรรมการรับรองผลการประเมิน *
คณะกรรมการสานักงานสาธารณสุขจังหวัด **
คณะกรรมการเขต
(สานักงานป้องกันควบคุมโรคเขต + ศูนย์อนามัยเขต)
ทีมเขต, ทีมส่วนกลาง
คณะกรรมการกลุม่ ภารกิจด้านพัฒนาการ
สาธารณสุข (กรมควบคุมโรค + กรมอนามัย)
หมายเหตุ
* การประเมินระดับดีเยีย่ ม มีกรรมการนอกพื้นที่ และหรือผูเ้ ชี่ยวชาญร่วมประเมิน
** ปี แรกที่เริ่มใช้มาตรฐาน (ปี 2552) สานักงานป้องกันควบคุมโรคร่วมประเมิน
ตัวอย่างแบบประเมินตนเอง
องค์ประกอบ/ตัวชี้วดั /ตัวชี้วดั ย่อย * ผ่าน ไม่ผ่าน
1 การจัดตัง้ ทีม SRRT
1) มีคาสัง่ แต่งตัง้ ทีม ที่มีรายชื่อเป็ นปัจจุบนั ร้อย
ละ 80 ขึ้นไป
2) สมาชิกทีมมีจานวนตัง้ แต่ 4 คนขึ้นไป
ประกอบด้วยผูป้ ฏิบตั ิงานไม่นอ้ ยกว่า 3ด้าน
3) แกนหลักของทีมเป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานระบาด
วิทยา (เฝ้ าระวัง, สอบสวนโรค) และ
สมาชิกทีมอย่างน้อย 1 คนมีความรู ้
พื้นฐานด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม ฯ
4) หัวหน้าทีมเป็ นแพทย์ หรือหัวหน้าหน่ วยงาน
5) หน่ วยงานมีการระบุโครงสร้างภายในที่
ชัดเจน ฯ
B
B
B
S
S
ผ่าน
หลักฐาน หรือ
บางส่วน เหตุผลสนับสนุ น
ตัวอย่างแบบสรุปผลการประเมิน
ตัวชี้วดั ย่อย (B/S)
องค์ประกอบ / ตัวชี้วดั
มาตรฐานด้านความเป็ นทีม
1. การจัดตั้งทีม SRRT
2. ทีมมีศกั ยภาพทางวิชาการ
3. ทีมมีศกั ยภาพด้านการบริ หารทีมงาน
มาตรฐานด้านความพร้อม
4. ทีมมีความพร้อมในการปฏิบตั ิงาน
5. ทีมมีแผนปฏิบตั ิการกรณี เร่ งด่วน,การฝึ กซ้อม
มาตรฐานด้านความสามารถการปฏิบตั ิงาน
6. การเฝ้ าระวังและเตือนภัย
7. การประเมินสถานการณ์และรายงาน
8. การสอบสวนโรคและภัยสุ ขภาพ
9. การควบคุมโรคขั้นต้น
10. การสนับสนุนมาตรการอนามัยสิ่ งแวดล้อม
11. การสนับสนุนมาตรการควบคุมโรค,ตอบโต้ฯ
มาตรฐานด้านผลงาน
12. ผลงานแจ้งเตือนและรายงานเหตุการณ์ทนั เวลา
13. ผลงานความครบถ้วนของการสอบสวนโรค
14. ผลงานคุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
15. ผลงานความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
16. ผลงานคุณภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค
17. ผลงานการนาเสนอความรู ้ฯ
รวมจานวนตัวชี้วดั ที่ประเมิน
ผลการประเมิน ()
จานวน
ที่ผา่ นเกณฑ์
ไม่ผา่ น
ผ่าน
พื้นฐาน
ดี
3B/2S
2B/2S
3B/2S
...B/….S
...B/….S
...B/….S
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
3B/3S
3B/2S
...B/….S
...B/….S
…….
…….
…….
…….
…….
…….
3B/2S
3B/2S
3B/3S
3B/3S
3B/2S
3B/2S
...B/….S
...B/….S
...B/….S
...B/….S
...B/….S
...B/….S
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
B/2S
B/2S
B/2S
B/2S
B/2S
B/2S
B หรื อ S...
B หรื อ S...
B หรื อ S...
B หรื อ S...
B หรื อ S...
B หรื อ S...
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
ข้อคิดเห็นต่อผลการประเมิน
ตัวอย่างแบบสรุปผลการประเมิน ..ทีมอาเภอ
ตัวชี้วดั ย่อย (B/S)
องค์ประกอบ / ตัวชี้วดั
มาตรฐานด้านความเป็ นทีม
1. การจัดตั้งทีม SRRT
2. ทีมมีศกั ยภาพทางวิชาการ
3. ทีมมีศกั ยภาพด้านการบริ หารทีมงาน
มาตรฐานด้านความพร้อม
4. ทีมมีความพร้อมในการปฏิบตั ิงาน
5. ทีมมีแผนปฏิบตั ิการกรณี เร่ งด่วน,การฝึ กซ้อม
มาตรฐานด้านความสามารถการปฏิบตั ิงาน
6. การเฝ้ าระวังและเตือนภัย
7. การประเมินสถานการณ์และรายงาน
8. การสอบสวนโรคและภัยสุ ขภาพ
9. การควบคุมโรคขั้นต้น
10. การสนับสนุนมาตรการอนามัยสิ่ งแวดล้อม
11. การสนับสนุนมาตรการควบคุมโรค,ตอบโต้ฯ
มาตรฐานด้านผลงาน
12. ผลงานแจ้งเตือนและรายงานเหตุการณ์ทนั เวลา
13. ผลงานความครบถ้วนของการสอบสวนโรค
14. ผลงานคุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
15. ผลงานความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
16. ผลงานคุณภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค
17. ผลงานการนาเสนอความรู ้ฯ
รวมจานวนตัวชี้วดั ที่ประเมิน
ผลการประเมิน ()
จานวน
ที่ผา่ นเกณฑ์
ไม่ผา่ น
ผ่าน
พื้นฐาน
ดี
3B/2S
2B/2S
3B/2S
.3..B/..1..S
.2..B/..2..S
.3.. B/….S
…….
…….
…….

…….

…….

…….
3B/3S
3B/2S
3..B/..1..S
.3.. B/….S
…….
…….


…….
…….
3B/2S
3B/2S
3B/3S
3B/3S
3B/2S
3B/2S
.3.. B/….S
...B/….S
.3.. B/..3..S
.3.. B/..1..S
...B/….S
...B/….S
…….
…….
…….
…….
…….
…….

…….
…….

…….
…….
…….
…….

…….
…….
…….
B/2S
B/2S
B/2S
B/2S
B/2S
B/2S
B หรื อ S...
B หรื อ S..1..
B หรื อ S..2..
B หรื อ S..2..
B หรื อ S..2..
B หรื อ S...
13
…….
…….
…….
…….
…….
…….

…….
…….
…….
…….
…….
7
…….




…….
6
ข้อคิดเห็นต่อผลการประเมิน
สรุ ป
ผ่ ำน/ไม่ ผ่ำน
ถ้ ำผ่ ำน ระดับ...?...
รายละเอียดตัวชี้วัด (Template)
มาตรฐาน SRRT 2552
มาตรฐานความเป็ นทีม
KPI1 : การจัดตัง้ ทีม SRRT
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+2S
รายการ
1) มีคาสั ่งแต่งตั้งทีม ที่มีรายชื่อเป็ นปั จจุบนั ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2) สมาชิกทีมมีจานวนตั้งแต่ 4 คน ขึ้นไป ประกอบด้วยผูป้ ฏิบตั งิ านไม่
น้อยกว่า 3 ด้าน
3) แกนหลักของทีมเป็ นผูป้ ฏิบตั งิ านระบาดวิทยา (เฝ้ าระวัง, สอบสวน
โรค) และสมาชิกทีมอย่างน้อย 1 คนมีความรูพ้ ้ ืนฐานด้านอนามัย
สิ่งแวดล้อม
4) หัวหน้าทีมเป็ นแพทย์ หรือหัวหน้าหน่วยงาน
5) หน่วยงานมีการระบุโครงสร้างภายในที่ชดั เจน เพื่อเป็ นหน่วย
รับผิดชอบการจัดตั้งและเป็ นแกนดาเนินงานของทีม SRRT
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
คาสั ่งแต่งตัง้ ทีม
• ไม่จาเป็ นต้องใช้ชื่อว่าทีม SRRT โดยตรง
• รูปแบบของคาสั ่ง
1. แต่งตัง้ ทีม SRRT ชุดเดียว ไม่มีทีมย่อย หัวหน้าทีมหมายถึงหัวหน้าทีมตามคาสัง่
2. แต่งตัง้ ทีม SRRT ชุดใหญ่ ภายในมีทีมย่อยเป็ นทีมปฏิบตั ิการหลายชุด หัวหน้าทีม
หมายถึงประธานหรือหัวหน้าทีมชุดใหญ่
3. แต่งตัง้ เป็ นคณะกรรมการป้ องกันควบคุมโรคฉุกเฉิ น หรือคณะกรรมการตามระบบ
บัญชาการในภาวะฉุกเฉิ น ที่มีคณะกรรมการหลายคณะ ทีม SRRT อยู่ภายใต้
คณะกรรมการด้านปฏิบตั ิการ หัวหน้าทีมได้แก่ ประธานคณะกรรมการด้านปฏิบตั ิการ
หมายเหตุ ไม่รวมคณะกรรมการที่ปรึกษา หรือคณะกรรมการอานวยการที่ทาหน้าที่
เป็ นที่ปรึกษา
สมาชิกทีมที่มีความรูพ้ ้ ืนฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
หมายถึง
สมาชิกทีมที่มีความรูค้ วามสามารถที่จะปฏิบตั ิงานด้าน
อนามัยสิ่งแวดล้อมได้ โดยทั ่วไปควรเป็ น
• ผูท้ ี่มีวุฒิการศึกษาทางอนามัยสิ่งแวดล้อม หรือ
• เคยปฏิบตั ิงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี หรือ
• เคยผ่านการอบรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมตามที่กรมอนามัย
กาหนด
มาตรฐานความเป็ นทีม
KPI2 : ทีมมีศกั ยภาพทางวิชาการ
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 2B
ดี = 2B+2S
รายการ
1) มีแผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากรทีม SRRT รวมถึงการจัดการ
ความรูอ้ ย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
2) สมาชิกทีมร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้รบั การฝึ กอบรมด้านการเฝ้ าระวัง
สอบสวนและควบคุมการระบาด ตามหลักสูตรก่อนปฏิบตั กิ ารทาง
ระบาดวิทยา หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า
3) หัวหน้าทีมหรือแกนหลักของทีมอย่างน้อย 1 คน ได้รบั การฝึ กอบรม
ด้านปฏิบตั กิ ารหรือมีประสบการณ์ที่แสดงถึงความชานาญด้าน
ปฏิบตั กิ ารภาคสนาม
4) สมาชิกทีมร้อยละ 50 ขึ้นไป ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร ฟื้ นฟู
ความรู ้ หรือสัมมนาวิชาการด้านการเฝ้ าระวัง สอบสวนและควบคุม
การระบาด ในระยะเวลา 3 ปี
[B]
[B]
[S]
[S]
ศักยภาพทางวิชาการของทีม
• สมาชิกทุกคนมีความรูพ้ ้ นฐานที
ื
่จะปฏิบตั งิ านร่วมกันได้
• มีสมาชิกอย่างน้อย 1 คน มีความชานาญเพียงพอที่จะเป็ น
หลักให้กบั ทีมได้
• ทีมมีการสารวจตนเอง และพัฒนาช่องว่างอย่างต่อเนื่อง
(มีแผนพัฒนาตนเอง ทั้งความรูแ้ ละความสามารถ)
• การฝึ กอบรมตามหลักสูตรก่อนปฏิบตั กิ ารทางระบาดวิทยา
หมายถึง การฝึ กอบรมขั้นต ่าของสมาชิกทีม ควรเป็ นการอบรมที่ใช้
เวลาไม่นอ้ ยกว่า 3 วันทาการ ตามเนื้อหาเทียบเท่าหลักสูตรระบาด
วิทยาก่อนปฏิบตั กิ ารของสานักระบาดวิทยา ฯ
• การฝึ กอบรมที่กาหนดสาหรับหัวหน้าทีมหรือแกนหลักของทีม
เป็ นการอบรมที่หลักสูตรกาหนดให้ตอ้ งมีการฝึ กภาคปฏิบตั ิ โดยใช้
เวลารวมกันตั้งแต่ 3 เดือน - 2 ปี เช่น หลักสูตร FETP หลักสูตร
หัวหน้าทีม SRRT และ PI ของสานักระบาดวิทยา ฯ
• ประสบการณ์ที่แสดงถึงความชานาญด้านปฏิบตั กิ าร
ภาคสนาม หมายถึง ประสบการณ์เป็ นผูส้ อบสวนหลัก (PI) ดังนี้
1. มีประสบการณ์เป็ นผูส้ อบสวนหลักในการสอบสวนการระบาดไม่นอ้ ยกว่า 3
เรื่อง และมีผลงานสอบสวนโรคเชิงวิเคราะห์ท่มี ีคุณภาพอย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ
2. มีประสบการณ์เป็ นผูส้ อบสวนหลักย้อนหลัง 5 ปี และมีผลงานสอบสวนการ
ระบาดทุกปี ซึ่งไม่จาเป็ นต้องเป็ นผลงานที่อยู่กบั ทีมเดิมตลอด
มาตรฐานความเป็ นทีม
KPI3 : ทีมมีศกั ยภาพด้านการบริหารทีมงาน
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+2S
รายการ
1) กาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกทีมอย่างชัดเจน ทั้งขณะปกติ
และกรณีที่ตอ้ งออกสอบสวนโรคหรือตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข
2) จัดประชุมทีมอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
3) หัวหน้าทีมมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทีม
4) สมาชิกทีมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 เคยเข้าร่วมปฏิบตั งิ านกรณีที่ตอ้ ง
ออกสอบสวนโรคหรือตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ใน
ระยะเวลา 3 ปี
5) จัดกิจกรรมหรือสิ่งสนับสนุนที่สร้างขวัญกาลังใจให้กบั สมาชิกทีมที่ออก
ปฏิบตั งิ าน
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
องค์ประกอบของทีม SRRT*
หัวหน้าทีม
แกนหลัก
ตาแหน่งในทีมขณะออก
ปฏิบตั งิ านภาคสนาม
แพทย์
- (Supervisor)
หัวหน้ ำหน่ วยงำน
- Principle Investigator (PI)
- Co – PI
- Logistic
เฝ้ าระวัง สอบสวน ควบคุม - Content
ผูร้ ว่ มทีม
รักษา
พยาบาล
ชันสูตร สิ่ งแวดล้อม สุ ขศึกษา
ฯลฯ
การบริหารจัดการของหัวหน้าทีม
แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น
- เป็ นประธานในการประชุมทีม
- จัดการแก้ไขปั ญหาของทีมให้
- จัดสรรสิ่งสนับสนุนให้กบั ทีม
- นาทีมออกสอบสวนโรค
- อานวยการและควบคุมกากับขณะทีมออกปฏิบตั งิ าน รวมถึง
การระดมทีมเสริม
- ขอทราบผลการสอบสวน
หลักฐานด้านบริหารจัดการ ดูได้จากรายงานการประชุม และ
หนังสือราชการที่เกี่ยวข้องกับการระบาด เช่น การเกษียนหรือสั ่ง
การในบันทึกเสนอข่าวการระบาดและรายงานสอบสวนโรค เป็ นต้น
มาตรฐานความพร้อม
KPI4 : ทีมมีความพร้อมในการปฏิบตั ิงาน
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+3S
รายการ
1) มีผปู ้ ระสานงานทีมตลอดเวลา เพื่อรับส่งข่าวสารหรือปฏิบตั ิงานกรณี
เร่งด่วน
2) มีหมายเลขโทรศัพท์หรือการสื่อสารอื่นที่สามารถติดต่อสมาชิกทีม
ทั้งหมดได้ตลอดเวลา
3) มียานพาหนะที่สามารถนาออกปฏิบตั งิ านได้ทนั ที
4) มีแบบพิมพ์, วัสดุอุปกรณ์, เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ป้องกันตนเอง (PPE)
ที่พร้อมใช้ ตามเกณฑ์ที่กาหนด
5) มีคู่มือ แนวทางปฏิบตั งิ าน (SOP) เพื่อการสอบสวนและควบคุมโรค
ตามเกณฑ์ที่กาหนด
6) มีการจัดงบประมาณที่เพียงพอ เพื่อใช้ในการสอบสวนควบคุมโรค ส่ง
วัตถุตวั อย่าง การสื่อสาร ค่าตอบแทนปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ
และการซ้อมแผน
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
[S]
สิ่งที่ตอ้ งเตรียมให้พร้อม
1. คน
2. สื่ อสำร
(เวร/ผู้ประสำนงำน)
(โทรศัพท์ )
3. พำหนะ
6. เงิน
5. คู่มอื
4. แบบพิมพ์
อุปกรณ์
เวชภัณฑ์
1. ผูป้ ระสานงานทีม หมายถึง ผูแ้ ทนของทีมในการติดต่อสื่อสารทั้ง
ในและนอกเวลาราชการ
- ช่วงเวลาที่มีการระบาดของโรค อาจจัดเป็ นเวรประจา เพือ่ รับแจ้ง ตรวจสอบ และ
รายงานข่าวการระบาด รวมทัง้ ประสานงานในการจัดทีม SRRT ปฏิบตั งิ าน
- นอกฤดูระบาดอาจมอบหมายให้แกนหลักเป็ นผูป้ ระสานงานของทีม SRRT
2. ยานพาหนะที่สามารถนาออกปฏิบตั งิ านได้ทนั ที พิจารณาจาก
ระเบียบหรือหลักเกณฑ์การใช้ยานพาหนะที่หน่วยงานควรกาหนดให้
การสอบสวนและควบคุมการระบาดเป็ นกรณีเร่งด่วนที่ตอ้ งใช้
รถยนต์พร้อมพนักงานขับรถ โดยไม่ตอ้ งขออนุญาตใช้รถล่วงหน้า
3. เกณฑ์การเตรียมสิ่งสนับสนุนการปฏิบตั งิ าน ทั้งรายการแบบ
พิมพ์ วัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เอกสารคู่มือ
และแนวทางปฏิบตั งิ าน ที่หน่วยงานกาหนดขึ้นเอง อาจพิจารณา
ร่วมกับรายการที่กรมควบคุมโรค และหน่วยงานต่าง ๆ ได้จดั ทาขึ้นก็
ได้ (ตามตัวอย่าง)
4. พร้อมใช้ หมายถึง มีสิ่งของหรือเอกสารที่นามาใช้ได้ทนั ที โดย
เฉพาะสิ่งของที่ตอ้ งจัดซื้อจัดหาตามระเบียบพัสดุ และสิ่งของหายาก
บางรายการอาจไม่ตอ้ งจัดเตรียม แต่ควรมีวิธีการให้นามาใช้ได้
ทันที เช่น ขอเบิกขวดเก็บวัตถุตวั อย่างพร้อมอาหารเลี้ยงเชื้อจาก
ห้องปฏิบตั กิ ารที่ใกล้ที่สุดได้ทนั ที การสืบค้นความรูแ้ ละแนวทางจาก
เวบไซต์ที่รูจ้ กั และสามารถเข้าถึงได้ทนั ทีที่ตอ้ งการใช้ เป็ นต้น
5. งบประมาณที่เพียงพอ พิจารณาจากแผนงานประจาปี ซึ่งควรมี
โครงการควบคุมการระบาดและแก้ไขเหตุการณ์ที่เป็ นภาวะฉุกเฉิน
ทางสาธารณสุข โดยจัดสรรงบประมาณสาหรับสอบสวนโรค ส่งวัตถุ
ตัวอย่าง และควบคุมโรคเบื้องต้น
กรณีที่มีการระบาดน้อยกว่าในแผน ควรใช้งบประมาณที่เหลือ
สาหรับการฝึ กซ้อมและเตรียมความพร้อม
มาตรฐานความพร้อม
KPI5 : ทีมมีแผนปฏิบตั กิ ารกรณีเร่งด่วน
และการฝึ กซ้อม
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+2S
รายการ
1) มีแผนการฝึ กซ้อมทีมประจาปี
2) มีการฝึ กซ้อมตามแผนฝึ กซ้อมประจาปี
3) ได้ร่วมซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกับหน่วยงานอื่น
[B]
[B]
4) มีแผนปฏิบตั กิ ารกรณีเร่งด่วน/ภาวะฉุกเฉินฯ
5) มีการฝึ กซ้อมแผนปฏิบตั กิ ารเร่งด่วนฯ หรือนาแผนไปใช้จริงกับ
เหตุการณ์อื่นที่ใกล้เคียง
[S]
[B]
[S]
1. แผนการฝึ กซ้อมประจาปี
หมายถึง แผนงานพัฒนาทักษะของทีม SRRT อาจเป็ นแผนการ
ฝึ กซ้อมจุดอ่อนของทีม เช่น ซ้อมตรวจสอบความพร้อมของสิ่ง
สนับสนุน ซ้อมเก็บวัตถุตวั อย่าง ซ้อมสวม/ถอดเครือ่ งป้องกันตนเอง
(PPE) ซ้อมติดต่อสื่อสารฯ และแผนฝึ กซ้อมรับเหตุการณ์
2. แผนปฏิบตั กิ ารกรณีเร่งด่วน/ภาวะฉุกเฉินฯ
แผนไข้ หวัดใหญ่
หมายถึง เป็ นแผนที่เตรียมไว้สาหรับการระบาดของโรคหรือ
ภัยที่มีความรุนแรงสูง จาเป็ นต้องมีการตอบโต้ (response) ทันที
ตัวอย่างเช่น โรคอาหารเป็ นพิษจากโบทูลิสม โรงงานสารเคมีระเบิด
รวมถึงกรณีที่อาจเกิดจากอาวุธชีวภาพ เป็ นต้น
3. ร่วมซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกับ
หน่วยงานอื่น อาจเป็ นหน่วยงานด้านสาธารณสุข หรือหน่วยงาน
ต่าง ๆ ในการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ทั้งนี้เพื่อพัฒนาทักษะใน
การประกอบทีมร่วมกับทีมของหน่วยงานอื่น
แผนนำ้ ท่ วม
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
KPI6 : การเฝ้ าระวังและเตือนภัย
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+2S
รายการ
1) มีการกาหนดรายชื่อโรคหรือภัยที่เป็ นปั ญหาสาคัญในพื้นที่รบั ผิดชอบ
ของทีม (Priority diseases) และควรมีนิยามผูป้ ่ วยครบทุกโรค
2) มีการจัดทาทะเบียนรับแจ้งข่าว หรือรับรายงานการเกิดโรค/ภัยที่เป็ น
ปั ญหาสาคัญ
3) มีการแจ้งเตือนภัย การส่งข่าว หรือรายงานเบื้องต้น
4) มีการคัดกรองข่าวเพื่อแยกข่าวไม่มีมูลและหาสัญญาณภัย (signals)
5) มีการสร้างเครือข่ายแหล่งข้อมูลข่าวสารทั้งในเขตรับผิดชอบ พื้นที่
ใกล้เคียง และพื้นที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
การเฝ้ าระวังโรคของทีม SRRT
กาหนดโรคที่มีความสาคัญสูง (Priority diseases)
เครือข่าย
แหล่งข่าว
Early warning
Response
ทะเบียนรับแจ้งข่าวและแฟ้ ม
จัดเก็บข่าวสารรายงาน
คัดกรอง
แจ้งเตือน. ส่งข่าว
(Anne Mazick)
ขั้นตอนการเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา
0. การสังเกต
กาหนดโรคที่มีความสาคัญสูง (Priority diseases)
เครือข่าย แหล่งข่าว
1. การรวบรวมข้อมูล
(Collection of data)
ทะเบียนรับแจ้งข่าวและแฟ้ ม
2. การเรียบเรียงข้อมูล
จัดเก็บข่าวสารรายงาน
(Collation of data)
3. การวิเคราะห์และแปลผล
คัดกรอง
(Analysis and interpretation of data)
แจ้งเตือน. ส่งข่าว
4. การกระจายข้อมูลข่าวสาร
(Dissemination of information)
ขั้นตอนการเฝ้ าระวังโรค
ตารา
คานว
ระบบรำยงำนผู้ป่วยโรคทีเ่ ฝ้ ำระวังทำงระบำดวิทยำ (รง.506)
ง
ณ
DR
ร.พ.,
สอ.,
ศบส.
รง.506
รง.507
1. รวบรวม
ข้ อมูล
สรุป
กราฟ
เปรีย
รายงาน
E. 3
บ
สถำนกำรณ์
แผน
เที
ย
บ
2. เรียบเรียง & นำเสนอ
3.
วิ
เ
ครำะห์
/ 4. กระจำยข้ อมูล/
ภูมิ
E. 1 E. 2
แปลผล
ใช้ ประโยชน์
ระบบเฝ้ ำระวังเหตุกำรณ์ (Event – based surveillance)
หน่ วย
งำนรัฐ,
สื่ อ,
บุคคล
ข่ ำวสำร
(รำยงำน/
แจ้ งข่ ำว/
ข่ ำวลือ)
ทะเบียนรับ
แจ้ งข่ ำว, แฟ้ม
ข่ ำวสำร
ตรวจสอบ
คัดกรองข่ ำว
สั ญญำณ(signals)
แจ้ งเตือนภัย
รำยงำน
ผูป้ ่ วยด้วยโรคหรือกลุ่มอาการที่มีความสาคัญสูง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
(Priority diseases) ระดับประเทศ
ปอดบวมที่สงสัย SARS หรือ ไข้หวัดนก (Atypical pneumonia suspected SARS or
Avian Influenza)
อหิวาตกโรค (Cholera)
ผูป้ ่ วยที่มีอาการรุนแรงหรือเสียชีวิตอย่างเฉี ยบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุท่ีชดั เจน (Acute
severely ill or death of unknown infection)
Cluster of diseases with unknown etiology (ผูป้ ่ วยมากกว่า 2 ราย
ที่มีอาการคล้ายคลึงกันและไม่สามารถระบุสาเหตุได้)
แอนแทรกซ์ (Anthrax)
ต้ องรำยงำน
ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal meningitis)
การระบาดของโรคอาหารเป็ นพิษ (Food poisoning outbreak) ภำยใน 24 ชั่วโมง
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
โปลิโอ และ Acute Flaccid Paralysis (AFP)
อาการภายหลังได้รบั การสร้างเสริมภูมิคมุ ้ กันโรค (AEFI) ที่รุนแรงหรือเสียชีวิต
คอตีบ (Diphtheria)
พิษสุนัขบ้า (Rabies)
แหล่งข้อมูลข่าวสาร หรือ “แหล่งข่าว”
1. แหล่งข้อมูลที่เป็ นทางการ เช่น ระบบรายงานโรคที่เฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา
(รง.506, 506/1, 506/2, IS)ฯ ข้อมูลที่ได้รบั มีขอ้ มูลผูป้ ่ วย/ผูต้ ายด้วยโรคสาคัญ
รายงานสถานการณ์โรค บันทึกแจ้งข่าวการระบาด รายงานสอบสวนโรคฯ แหล่ง
ข้อมูลนี้ รวมถึงระบบรายงานอืน่ เช่น ข่าวสารทางห้องปฏิบตั กิ าร การแจ้งตาย ฯ
2. แหล่งข้อมูลข่าวสารสาธารณะ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ ทฯ
ส่วนใหญ่เป็ นข่าวการระบาด ภัยพิบตั ฯิ สิง่ ที่ควรระวัง คือจานวนผู ป้ ่ วย หรือผูไ้ ด้รบั
ผลกระทบจะมากหรือรุนแรงกว่าความเป็ นจริง
3. แหล่งข้อมูลข่าวสารบุคคล เช่น การแจ้งข่าวจากบุคคลในข่ายงานเฝ้ าระวังโรค
อาสาสมัคร ผูน้ าชุมชน ผูเ้ ห็นเหตุการณ์ การร้องเรียนจากประชาชนฯ ข้อมูลที่รบั แจ้ง
ส่วนใหญ่เป็ น ข้อมูลการป่ วย/ตายรายบุคคล เหตุราคาญที่อาจเป็ นปัจจัยเสีย่ งฯ ข้อ
ควรระวังคือ การแจ้งข่าวด้วยความเข้าใจผิด การกลัน่ แกล้ง ข่าวลือ ฯ
• ทะเบียนรับแจ้งข่าวฯ เป็ นเครื่องมือหลักในการรวบรวมข่าวสาร
อาจทาด้วยกระดาษพิมพ์ สมุด หรือไฟล์อเิ ลคโทรนิ คส์ ซึ่งนอกจากใช้บนั ทึก
ข่าวที่ได้รบั แจ้งแล้ว อาจใช้บนั ทึกข้อมูลโดยย่อของข้อมูลข่าวสารจากแหล่งข้อมูล
ทีเ่ ป็ นทางการและข้อมูลข่าวสารสาธารณะด้วยได้ หรืออาจแยกเก็บข่าวสารแต่ละ
ประเภทไว้ในแฟ้ มจัดเก็บข่าวสารแบบอืน่ นับเป็ นทะเบียนรับแจ้งข่าวทัง้ หมด
• การแจ้งเตือน ส่งข่าว หรือรายงานเบื้องต้น ทาได้หลาย
รูปแบบ แต่ทุกรูปแบบควรระบุวัน/เวลาที่แจ้งเตือนไว้
ตัวอย่างของการแจ้งเตือน ได้แก่ บันทึกแจ้งผูบ้ ริหาร / หัวหน้าหน่ วยงาน/
ผูเ้ กี่ยวข้อง การแจ้งทาง E-mail group / short message ใช้ทะเบียนรับ
แจ้งข่าวฯ ในการส่งข่าว หรือใช้แบบฟอร์มที่หน่ วยงานออกแบบใช้เอง
• การกรองข่าว หมายถึง การดาเนินการทันทีที่รบั ข่าว เพื่อ
1. กาจัดข่าวลือที่เห็นชัดเจนว่าไม่ถกู ต้อง ข่าวหลอกลวง หรือแหล่งข่าวไม่
น่ าเชื่อถือ
2. แยกข่าวที่เห็นว่าต้องแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน หรือต้องการตรวจสอบ
ยืนยันมาดาเนิ นการทันที
• สัญญาณภัย (Signals) หมายถึง สิ่งบอกเหตุที่ช้ ีว่าน่าจะมี
เหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้น เช่น
– มีรายงานผูป้ ่ วยตามรายการโรคที่มีความสาคัญสูง
– มีจานวนผูป้ ่ วยหรือผูต้ ายสูงกว่าเกณฑ์ช้ ีวดั หรือระดับเตือนภัย
– ข่าวสารไม่เป็ นทางการที่มีเนื้ อข่าวชัดเจนว่าเป็ นเรื่องผิดปกติ
สานักระบาดวิทยากาหนดรายชื่อโรคที่มีความสาคัญสูง
ระดับประเทศ และเงื่อนไขโรคที่ตอ้ งสอบสวน (ตามตัวอย่าง)
ซึ่งทีม SRRT ใช้เป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาณภัยได้
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
KPI7 : การประเมินสถานการณ์และ
รายงาน
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+2S
รายการ
1) มีการตรวจสอบยืนยันโดยใช้เครื่องมือสื่อสาร
2) มีการรายงานต่อรวมถึงการแจ้งกลับ
3) มีการตรวจสอบยืนยันโดยส่งทีม SRRT ไปที่เกิดเหตุ
4) มีการประเมินสถานการณ์โดยใช้เครื่องมือประเมิน
5) มีการร่วมพิจารณาประเมินโดยที่ปรึกษา ผูเ้ ชี่ยวชาญ หรือคณะกรรมการ
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
• การตรวจสอบยืนยัน (Verify) หมายถึง การตรวจสอบข่าวที่
ได้รบั แจ้งว่าเป็ นเหตุการณ์จริงหรือข่าวลือ และเป็ นการตรวจสอบ
ยืนยันความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รบั โดยเฉพาะจานวนผูป้ ่ วย
ผูต้ าย พื้นที่เกิดโรค แนวโน้มของสถานการณ์ สาเหตุที่สงสัยฯ
• การตรวจสอบยืนยันโดยใช้เครื่องมือสื่อสาร หมายถึง การ
ตรวจสอบโดยทีมที่ตรวจสอบอยูใ่ นที่ต้งั และใช้เครือ่ งมือสื่อสาร
ติดต่อกับทีมที่รายงาน รวมถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เครื่องมือ
สื่อสารที่ใช้ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร Internet วิทยุ ฯ
• การตรวจสอบยืนยันโดยทีม SRRT หมายถึง การตรวจสอบโดย
ส่งผูแ้ ทนทีมไปสอบถาม และหาข้อมูลเพิ่มเติมในพื้นที่เกิดเหตุ
รวมถึงการไปติดต่อกับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
• การประเมินสถานการณ์ (Assessment) หมายถึง การประเมิน
เหตุการณ์ว่า
– เข้าข่ายเป็ นภาวะฉุกเฉิ นทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) หรือเป็ น
เหตุการณ์เร่งด่วน (urgent) หรือไม่
– ศักยภาพทีมในพื้นที่เป็ นอย่างไร จาเป็ นต้องไปให้การช่วยเหลือสนับสนุ น
หรือไม่
• เครื่องมือประเมินสถานการณ์ ที่สาคัญได้แก่ “IHR decision
instrument” เครื่องมืออื่น ๆ เช่น แผนผังจาแนกผูป้ ่ วยโรคทางเดิน
หายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) และโรคไข้หวัดนกฯ
• ที่ปรึกษา ผูเ้ ชี่ยวชาญ หรือคณะกรรมการ บางกรณีทีม SRRT
จาเป็ นต้องขอคาปรึกษาจากที่ปรึกษาทีม (ถ้ามี) หรือผูเ้ ชี่ยวชาญ
หรือมีขอ้ กาหนดให้ประเมินด้วยคณะกรรมการ เช่น กลุม่ อาการไม่
พึงประสงค์จากการสร้างเสริมภูมิคมุ ้ กันโรค (AEFI) เป็ นต้น
IHR Decision instrument (Annex 2)
1 รำย: -ไข้ทรพิษ, โปลิโอ
โรคไม่ ทรำบสำเหตุที่ไม่เข้า
มี แนวโน้ มแพร่ ระบำด
หรื อ
หรื อ
(wild type), ไข้หวัดใหญ่
กับกลุ่มซ้ายหรื อกลุ่มขวา มี
:-อหิวาต์, กาฬโรคปอด, ไข้เหลือง,
ในคนสายพันธุ์ใหม่, ซาร์ส
แนวโน้มระบาดข้ามประเทศ
ไข้เลือดออกจากไวรัส (อีโบลา,ลัส
สา,มาร์เบิร์ก,เวสท์ไนล์,เดงกี่,ลิฟท์
ปัญหาสาธารณสุ ขรุ นแรง?
วัลลีย)์ , ไข้กาฬหลังแอ่น
รุนแรง
ไม่ รุนแรง
ไม่ คำดฝันหรือผิดปกติ
ใช่
ไม่ คำดฝันหรือผิดปกติ
ไม่ ใช่
ใช่
มีควำมเสี่ ยงแพร่ ระบำดข้ ำมประเทศ
มี
มีควำมเสี่ ยงแพร่ ระบำดข้ ำมประเทศ
มี
ไม่ มี
มีผลกระทบกับกำรเดินทำง/ กำรค้ ำระหว่ ำงประเทศ
มี
ต้ องแจ้ งองค์ กำร
อนำมัยโลกตำม IHR
ไม่ ใช่
ไม่ มี
ไม่ มี
ไม่ ต้องแจ้ งควำมแต่ ประเมินจนได้
ข้ อมูลเพียงพอ
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
KPI8 : การสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+3S
รายการ
1) มีการกาหนดเกณฑ์ของทีมในการออกสอบสวนโรค ควบคุมการระบาด
หรือตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
2) มีการรวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาของผูป้ ่ วยได้ถูกต้องครบถ้วน
3) มีการเก็บและนาส่งวัตถุตวั อย่างได้ถูกต้องและเหมาะสม
4) มีการกาหนดนิยามผูป้ ่ วย และผูส้ มั ผัสได้อย่างถูกต้อง
5) มีการเลือกใช้วิธีการศึกษาทางระบาดวิทยาที่เหมาะสมกับเหตุการณ์
6) มีการใช้สถิติ รวมถึงการนาเสนอข้อมูลและการแปลผลที่ถูกต้อง
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
[S]
• การสอบสวนผูป้ ่ วยเฉพาะราย (Individual case investigation)
เป็ นการหาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับโรคที่สนใจ หรือเป็ นปัญหาสาคัญ จาก
ผูป้ ่ วยทีละราย ขณะที่ยงั ไม่เกิดการระบาด ซึ่งนอกจากจะได้ขอ้ มูลรายละเอียด
มากกว่าข้อมูลจากบัตรรายงานผูป้ ่ วยแล้ว ยังทราบรายละเอียดการตรวจชันสูตร
ผูป้ ่ วยจากแพทย์ผูใ้ ห้การดูแลรักษา และจากการเก็บตัวอย่างเพิม่ เติม 9
ส่วนใหญ่ทาการสอบสวนผูป้ ่ วยเฉพาะรายในโรคที่มีอบุ ตั กิ ารณ์ตา่ (rare
diseases) รายที่ผิดปกติของโรคที่พบทัว่ ไป โรคที่เคยควบคุม (หรือกาจัด)ได้แล้ว
สาหรับโรคที่มีอบุ ตั กิ ารณ์สูง การสอบสวนผูป้ ่ วยเฉพาะรายจะช่วยตรวจสอบความ
เที่ยงตรง (Validity) ของรายงานการป่ วยและการตาย 10
• การสอบสวนการระบาด (Outbreak investigation)
เป็ นการรวบรวมข้อมูลองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการระบาดที่เกิดขึ้น
ในชุมชน เพือ่ ให้ได้รายละเอียดที่เป็ นสภาพที่แท้จริงของการระบาดครัง้ นั้น เป็ น
กิจกรรมที่ประกอบด้วย “การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา” เพือ่ ให้เห็นขนาด
ขอบเขต และการกระจายของปัญหา และ “ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์” ที่ช่วยให้
เข้าใจว่าทาไมจึงเกิดการระบาดขึ้น 9
กิจกรรมในการสอบสวนโรค
สอบสวนเฉพาะราย
รูว้ ่าต้องสอบสวน(มีเกณฑ์)
รวบรวมข้อมูลผูป้ ่ วย
+/- เก็บวัตถุตวั อย่าง
เขียนรายงาน
สอบสวนการระบาด
รูว้ ่าต้องสอบสวน
รวบรวมข้อมูลผูป้ ่ วย นิ ยาม
ผูป้ ่ วย/
ใช้สถิติ
ผู
ส
้
ม
ั
ผั
ส
รูปแบบการศึกษา
เก็บวัตถุตวั อย่าง
เขียนรายงาน
ตัวอย่างเกณฑ์การออกสอบสวนโรค
ถ้าเป็ นไปได้ควรสอบสวนโรคทุกครั้งที่มีการระบาด แต่กรณีที่บุคลากร
จากัด อาจกาหนดเกณฑ์ดงั นี้
• การระบาดที่ทาให้มีผูป้ ่ วยจานวนมาก
• โรคที่มีความรุนแรง ทาให้เกิดผลแทรกซ้อนหรือเสียชีวติ
• โรคใหม่ท่ไี ม่เคยพบมาก่อน
• ไม่ทราบสาเหตุของการระบาด
• ไม่สามารถควบคุมการระบาดได้
• เพือ่ การฝึ กอบรม
• ผูบ้ ริหารให้ความสาคัญ หรือได้รบั ความสนใจจากประชาชนจานวนมาก
หลักเกณฑ์เพิม่ เติมสาหรับบางหน่ วยงาน เช่น
– ผูป้ ่ วยรายแรกของพื้นที่
– ได้รบั การร้องขอ
– เป็ นโรคที่ควรสอบสวนผูป้ ่ วยเฉพาะราย (โรคที่สาคัญ แต่พบได้นอ้ ย)
นโยบายการสอบสวนของสานักระบาดวิทยา
• เป็ นโรคที่มีความสาคัญทางนโยบาย:
– อหิวำตกโรค, ไข้ เลือดออก, ไข้ หวัดนก, ซำร์
• เป็ นโรคที่มีความสาคัญเชิงสาธารณสุข
• เป็ นโรคที่ประชาชนให้ความสนใจ
วัตถุประสงค์
• สร้ ำงองค์ ควำมรู้ เพือ่ พัฒนำงำนป้องกันควบคุม
• พัฒนำบุคลำกร
(พญ.วรรณา หาญเชาว์วรกุล)
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
KPI9 : การควบคุมโรคขั้นต้น
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+3S
รายการ
1) ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อรวมถึงอันตรายขณะสอบสวนโรค และ
ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อจากผูป้ ่ วยและพาหะในชุมชนได้
2) บอกได้ถึงสิ่งที่เกินขีดความสามารถและขอรับการสนับสนุนจาก
หน่วยงานเฉพาะด้านหรือทีมที่เชี่ยวชาญกว่า
3) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น หรือสารวจความเสี่ยงด้าน
อนามัยสิ่งแวดล้อมขณะควบคุมโรคได้
4) ควบคุมการระบาดจากแหล่งโรคร่วมได้
5) ดาเนินการป้องกันกลุ่มเสี่ยงสูงขณะที่มีการระบาดได้อย่างเหมาะสม
6) สื่อสารให้ชุมชนเข้าใจสถานการณ์ และร่วมมือควบคุมการระบาดได้
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
[S]
องค์ความรูท้ ี่ใช้ในการควบคุมโรค
วิธีการควบคุม
องค์ความรู ้
• ป้ องกันตนเอง
• ป้ องกันการแพร่กระจาย
จากผูป้ ่ วย/พาหะ
• ควบคุม Commom
source outbreak
• ป้ องกันกลุม่ เสีย่ งสูง
• สารวจความเสีย่ งด้าน
สิง่ แวดล้อม
• ชุมชนเข้าใจและร่วมมือ
• ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
(Precaution – Standard,
Transmission based)
• อนามัยสิ่งแวดล้อม
• ประเมินความเสี่ยง (Risk
assessment)
• สื่อสารความเสี่ยงระหว่างที่มี
การระบาด (Outbreak
communication)
หลักฐานการประเมิน
• การป้องกันตนเอง  รายงานสอบสวนโรค และภาพถ่ายขณะ
ปฏิบตั งิ าน
• ผลงานควบคุมโรคขั้นต้นอื่น ๆ  รายงานสอบสวนโรค หัวข้อ
“มาตรการป้องกันควบคุมโรคที่ดาเนินการ”
• สิ่งที่เกินขีดความสามารถ  รายงานสอบสวนโรค หัวข้อ
“ข้อเสนอแนะ”
(สิ่งที่เกินขีดความสามารถของทีม หมายถึง สิ่งที่ทีม SRRT
พิจารณาแล้วเห็นว่าควรเสนอผูบ้ ริหารสั ่งการหรือขอรับการ
สนับสนุน ได้แก่ สิ่งที่ตอ้ งดาเนินการโดยทีมที่เชี่ยวชาญกว่า หรือ
โดยหน่วยงานอื่น หรือใช้ระยะเวลานาน)
ตัวอย่างผลงานที่อาจใช้ประกอบการประเมิน
• ป้องกันควบคุมการแพร่กระจายเชื้อจากผูป้ ่ วย
และพาหะฯ กรณีไข้หวัดนก
• ควบคุมการระบาดจากแหล่งโรคร่วม กรณี
อหิวาตกโรคหรืออาหารเป็ นพิษ
• การป้องกันกลุ่มเสี่ยงสูงขณะที่มีการระบาด กรณี
AFP คอตีบ หรือโรคหัด
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
KPI10 : การสนับสนุนมาตรการด้าน
อนามัยสิ่งแวดล้อม
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+2S
รายการ
1) ประเมินสถานการณ์ดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมขณะมีการระบาดหรือ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้
2) ให้คาแนะนาและความรูด้ า้ นสุขาภิบาลแก่ผรู ้ บั ผิดชอบพื้นที่หรือ
ท้องถิ่นได้
3) ประสานผูเ้ กี่ยวข้องเพื่อร่วมดาเนินการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
4) ปฏิบตั งิ านที่ตอ้ งการความชานาญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
5) ติดตามประเมินผลการดาเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับพื้นฐานที่คาด
ว่าทีม SRRT ควรทาได้
การดาเนินงานหรือให้คาแนะนาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
เบื้องต้น ตัวอย่างเช่น
- การตรวจหาคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ าบริโภคของชุมชน เช่น
ประปาหมู่บา้ น รถบริการน้ า ฯลฯ
- การใช้คลอรีน 2% (หยดทิพย์)ในน้ าดื่มแก่ประชาชน
- การปรับปรุงคุณภาพน้ าอย่างง่ายโดยใช้สารส้ม
- การใช้ชุดทดสอบภาคสนามของกรมอนามัยหาการปนเปื้ อนของโค
ลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร/น้ าดื่ม ภาชนะอุปกรณ์ ผูป้ รุง ผูเ้ สริฟ ผู ้
สัมผัสอาหาร
- การจัดการขยะในเบื้องต้น โดยใช้ถุงดา
- การจัดการแหล่งเพาะพันธุส์ ตั ว์และแมลงนาโรคเบื้องต้นโดยใช้ปูน
ขาว
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
KPI11 : การสนับสนุนมาตรการด้าน
ควบคุมโรคและตอบโต้ทางสาธารณสุข
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 3B
ดี = 3B+2S
รายการ
1) เป็ นทีม SRRT ที่มีความชานาญและพร้อมร่วมปฏิบตั กิ ารสนับสนุ น
2) เป็ นสื่อกลางในการติดต่อขอความเห็นชอบจากผูบ้ ริหารระดับสูง และ
ประสานงานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน องค์กรอาสาสมัคร สถาน
ประกอบการ และทุกภาคส่วน
3) สนับสนุนและประสานงานในการนาวัตถุตวั อย่างส่งตรวจและติดตามผล
4) มีการสารองสิ่งสนับสนุน และตรวจสอบวัสดุคงคลังทั้งปริมาณและคุณภาพ
อย่างสมา่ เสมอ รวมถึงมีแผนจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ กรณีฉุกเฉินฯ
5) มีการสนับสนุนและประสานงานในการขอคาปรึกษาจากผูเ้ ชี่ยวชาญ หรือ
ความช่วยเหลือด้านปฏิบตั กิ ารจากทีมเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ให้กบั ทีม SRRT
ระดับรอง
[B]
[B]
[B]
[S]
[S]
การสนับสนุนด้านควบคุมโรค
•
•
•
•
•
สนับสนุนกาลังคน (ทีมที่ชานาญกว่า)*
ช่วยขออนุมตั แิ ละประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ
ช่วยเรื่องการตรวจวัตถุตวั อย่าง
สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ตา่ ง ๆ
ช่วยติดต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ
* หมายเหตุ มติ/ความเห็น ของคณะกรรมการที่ประเมิน
มาตรฐานผลงาน
KPI12 : ผลงานการแจ้งเตือนและ
รายงานเหตุการณ์ทนั เวลา
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 1B
ดี = 1S
รายการ
มีการแจ้งเตือนข่าวเกิดโรค/ภัยได้ภายใน 24 ชม. หรือประเมิน
สถานการณ์และรายงานเหตุการณ์ได้ภายใน 48 ชม.
1) มีการแจ้งเตือนฯและรายงานเหตุการณ์ ร้อยละ 40 - 59
2) มีการแจ้งเตือนฯและรายงานเหตุการณ์ ร้อยละ 60 - 79
3) มีการแจ้งเตือนฯและรายงานเหตุการณ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
[B]
[S1]
[S2]
การแจ้งเตือนและรายงานเหตุการณ์ทนั เวลา
• ตัวชี้วัดเชิงเวลา
• การคานวณ (ร้อยละ)
จานวนการแจ้งเตือนฯ
หรือประเมินสถานการณ์ และรายงานได้ภายในกาหนด x 100
จานวนข่าวการระบาดที่ตรวจสอบ
หรือประเมินสถานการณ์แล้ว
สมควรแจ้งเตือน/รายงาน
• ผลงานการแจ้งเตือน เป็ นผลงานตามตัวชี้วัดที่ 6 ของทีมระดับ
ท้องถิ่นและอาเภอ
• ผลงานการประเมินสถานการณ์และรายงานเป็ นผลงานตาม
ตัวชี้วัดที่ 7 ของทีมระดับจังหวัดขึ้นไป
การนับผลงานที่แจ้งเตือน/รายงาน
ทีมท้องถิ่น/อาเภอ
ข่าวที่รบั แจ้งทัง้ หมด
ทีมจังหวัดขึ้นไป
คัดกรอง เบื้องต้น
รับข่าว
ตรวจสอบ ประเมิน
ยืนยัน สถานการณ์
ข่าวที่น่าเชื่อถือ/แจ้งเตือน
เร่งด่วน & เข้าข่าย PHEIC
แจ้งเตือนใน แจ้งข่าวต่อ
หน่ วยงาน
ข่าวที่แจ้งเตือนทันเวลา
รายงาน(ต่อ) ทัง้ หมด
รายงาน(ต่อ) ทันเวลา
การแจ้งเตือนและรายงานเหตุการณ์ทนั เวลา
• ข่าวการระบาดที่สมควรแจ้งเตือน หมายถึง ข่าวการระบาดที่
กรองข่าวแล้วน่าเชื่อถือ และมีสญ
ั ญาณภัย (Signals) ที่แสดง
ความผิดปกติของเหตุการณ์ ควรมีการแจ้งเตือนไปยังผูเ้ กี่ยวข้อง
เพื่อป้องกันแก้ไข รวมถึงแจ้งทีมระดับเหนือขึ้นไปเพื่อการ
ตรวจสอบยืนยันและประเมินสถานการณ์
• การแจ้งเตือนหรือรายงานภายในกาหนด หมายถึง
1. ทีมที่ได้รบั ข่าวเกิดโรค/ภัย (ทีมระดับท้องถิ่นและอาเภอ)
สามารถแจ้งเตือนได้ภายใน 24 ชม. หรือ
2. ทีมที่ตรวจสอบยืนยันและประเมินสถานการณ์ (ทีมระดับจังหวัด
ขึ้นไป) สามารถรายงานเหตุการณ์ได้ภายใน 48 ชม.
มาตรฐานผลงาน
KPI13 : ผลงานด้านความครบถ้วนของ
การสอบสวนโรค
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 1B
ดี = 1S
รายการ
มีการสอบสวนโรคครบถ้วน
1) มีรายงานสอบสวนโรคครบถ้วน ร้อยละ 40 - 59
2) มีรายงานสอบสวนโรคครบถ้วน ร้อยละ 60 - 79
3) มีรายงานสอบสวนโรคครบถ้วน ร้อยละ 80 ขึ้นไป
หมายเหตุ ใช้ผลงานสอบสวนโรคทัง้ หมด
[B]
[S1]
[S2]
ความครบถ้วนของการสอบสวนโรค
• ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
• การคานวณ (ร้อยละ)
จานวนรายงานสอบสวนโรคของทีม x 100
จานวนเหตุการณ์ที่เข้าเกณฑ์ตอ้ งออกสอบสวนโรคของทีม
• ผลงานการสอบสวนโรค เป็ นผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั งิ าน
ตามตัวชี้วัดที่ 8 และ 9 ของทีมระดับท้องถิ่นและอาเภอ หรือ
ตัวชี้วัดที่ 8, 10 และ 11 ของทีมระดับจังหวัดขึ้นไป
• เหตุการณ์ที่เข้าเกณฑ์ตอ้ งออกสอบสวนโรคของทีม หมายถึง
การนาข่าวการระบาดที่ตรวจสอบหรือประเมินสถานการณ์แล้ว
สมควรแจ้งเตือน/รายงาน (ตามตัวชี้วัดที่ 6 และ 7) มา
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ตอ้ งออกสอบสวนโรค (ตามตัวชี้วัดที่ 8)
มาตรฐานผลงาน
KPI14 : ผลงานด้านคุณภาพการ
สอบสวนและควบคุมโรค
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 1B
ดี = 1S
รายการ
มีการสอบสวนและควบคุมโรคที่มีคุณภาพ ตามเกณฑ์ที่กาหนด
1) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคณ
ุ ภาพ ร้อยละ 40 - 59
2) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคณ
ุ ภาพ ร้อยละ 60 - 79
3) มีรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
หมายเหตุ เฉพาะผลงานสอบสวนการระบาด
[B]
[S1]
[S2]
คุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
• ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
• การคานวณ (ร้อยละ)
จานวนรายงานสอบสวนโรคที่มีคณ
ุ ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด x 100
จานวนรายงานสอบสวนโรคทั้งหมด
• ผลงานการสอบสวนโรค เป็ นผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั งิ านตาม
ตัวชี้วัดที่ 8 และ 9 ของทีมระดับท้องถิ่นและอาเภอ หรือตัวชี้วัดที่
8, 10 และ 11 ของทีมระดับจังหวัดขึ้นไป
• ผลงานที่ใช้ในการประเมิน ใช้เฉพาะผลงานการสอบสวนการ
ระบาด ซึ่งออกสอบสวนตามเหตุการณ์ที่เข้าเกณฑ์ออกสอบสวน
โรคของทีม ทั้งที่ดาเนินการเองหรือร่วมกับทีมอื่น
การสอบสวนและควบคุมโรคที่มีคณ
ุ ภาพ
หมายถึง ได้ผลตามข้อ ก.และข้ออื่นอีก 1 ข้อ ได้แก่
ก. ควบคุมโรคสงบไม่เกิน generation ที่ 2
ข. หาสาเหตุได้ หรือ ยืนยันได้ดว้ ยผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร
หรือสรุปสาเหตุได้จากการเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา
ค. สามารถหาแหล่งโรค หรือ รังโรค หรือที่มาของการระบาดได้
ง. อธิบายการถ่ายทอดโรคได้
• ควบคุมโรคสงบไม่เกิน generation ที่ 2 หมายถึง ควบคุมโรค
ได้ภายในระยะเวลาสองเท่าของระยะฟั กตัวเฉลี่ย โดยนับจากวัน
เริม่ ป่ วยของผูป้ ่ วยรายแรกถึงวันเริม่ ป่ วยของผูป้ ่ วยรายสุดท้ายใน
การระบาดเหตุการณ์เดียวกัน
ตัวอย่างแผนผังการเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา
12
(Epidemiological linkage)
รายที่ยนื ยันทางห้อง
ปฏิบตั กิ าร (Laboratory Exposure
period
confirmed case)
รายที่เชื่อมโยง
ทางระบาดวิทยา
(Epidemiologically linked case)
เวลา
Latent
period
Infectious
period
Exposure Incubation Clinical
period
period
disease
การเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา (Epidemiological linkage)
หมายถึง บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมีการสัมผัสโรคเกี่ยวข้องกัน บาง
คนได้แสดงให้เห็นว่ามีการติดเชื้อ และอย่างน้อย 1 คนได้รบั การ
ตรวจสอบยืนยันทางห้องปฏิบตั กิ ารว่ามีการติดเชื้อจริง
มาตรฐานผลงาน
KPI15 : ผลงานด้านความรวดเร็วใน
การสอบสวนโรค (Response time)
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 1B
ดี = 1S
รายการ
มีการสอบสวนโรคภายใน 48 ชั ่วโมง
1) มีรายงานสอบสวนโรคจากการสอบสวนทันเวลาร้อยละ 40 - 59 [B]
2) มีรายงานสอบสวนโรคจากการสอบสวนทันเวลา ร้อยละ 60 - 79 [S1]
3) มีรายงานสอบสวนโรคจากการสอบสวนทันเวลา ร้อยละ 80 ขึ้นไป [S2]
หมายเหตุ ใช้ผลงานสอบสวนโรคทัง้ หมด
ความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
(Response time)
• ตัวชี้วัดเชิงเวลา
• การคานวณ (ร้อยละ)
จานวนรายงานสอบสวนโรคที่มีการสอบสวนทันเวลาที่กาหนด x 100
จานวนรายงานสอบสวนโรคทั้งหมด
• ผลงานการสอบสวนโรค เป็ นผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั งิ านตาม
ตัวชี้วัดที่ 8 และ 9 ของทีมระดับท้องถิ่นและอาเภอ หรือตัวชี้วัดที่
8, 10 และ 11 ของทีมระดับจังหวัดขึ้นไป
• ผลงานที่ใช้ในการประเมิน เป็ นผลงานการสอบสวนโรคทัง้ หมด ทั้ง
การสอบสวนผูป้ ่ วยเฉพาะรายและสอบสวนการระบาด (ตาม
ตัวชี้วัดที่ 13)
การสอบสวนโรคทันเวลาที่กาหนด
หมายถึง
• โรคหรือกลุม่ อาการที่มีความสาคัญสูงของประเทศไทย สานัก
ระบาดวิทยากาหนดให้ตอ้ งสอบสวนโรคภายใน 48 ชั ่วโมงนับ
จากวันรับรักษา
• การระบาดอื่นกาหนดให้สอบสวนโรค
– ภายใน 48 ชั ่วโมงนับจากวันรับรักษา หรือ
– ภายใน 24 ชั ่วโมงนับจากวันที่ได้รบั แจ้งข่าวการระบาด ตาม
ข้อมูลในทะเบียนรับแจ้งข่าว
• Response time เป็ นระยะเวลาตั้งแต่ทราบว่ามีผปู ้ ่ วยหรือการ
ระบาดจนถึงเวลาที่ออกปฏิบตั งิ าน การเฝ้ าระวังที่ดีเพิ่มโอกาสให้
ทราบการป่ วยตั้งแต่วนั ที่ผปู ้ ่ วยรับการรักษา
มาตรฐานผลงาน
KPI16 : ผลงานด้านคุณภาพการเขียน
รายงานสอบสวนโรค
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 1B
ดี = 1S
รายการ
มีการเขียนรายงานสอบสวนการระบาดที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด
1) มีการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคณ
ุ ภาพ ร้อยละ 40 - 59
[B]
2) มีการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคณ
ุ ภาพ ร้อยละ 60 - 79
[S1]
3) มีการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
[S2]
หมายเหตุ เฉพาะผลงานสอบสวนการระบาด
คุณภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค
• ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
• การคานวณ (ร้อยละ)
จานวนรายงานสอบสวนการระบาด
ที่การเขียนรายงานมีคณ
ุ ภาพตามที่กาหนด x 100
จานวนรายงานสอบสวนการระบาดทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน
• ผลงานการสอบสวนโรค เป็ นผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั งิ านตาม
ตัวชี้วัดที่ 8 และ 9 ของทีมระดับท้องถิ่นและอาเภอ หรือตัวชี้วัดที่
8, 10 และ 11 ของทีมระดับจังหวัดขึ้นไป
• ผลงานที่ใช้ในการประเมิน ใช้เฉพาะผลงานการสอบสวนการ
ระบาด ซึ่งออกสอบสวนตามเหตุการณ์ที่เข้าเกณฑ์ออกสอบสวน
โรคของทีม ทั้งที่ดาเนินการเองหรือร่วมกับทีมอื่น
เกณฑ์คณ
ุ ภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค
การเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคณ
ุ ภาพ หมายถึง
ก. ส่งรายงานสอบสวนเบื้องต้นทันเวลาตามเกณฑ์ที่กาหนด (ภายใน 48
ชม.นับจากเริม่ ต้นสอบสวนฯ)
ข. Final report มีหวั ข้อการเขียนรายงานที่สาคัญครบถ้วน (9 หัวข้อ ได้แก่
ชื่อเรือ่ ง ผูส้ อบสวน ที่มา วัตถุประสงค์ วิธีการ ผลการสอบสวน
มาตรการป้องกันควบคุมโรค สรุป ข้อเสนอแนะ)
ค. Final report เขียนเนื้อหาผลการสอบสวนถูกต้อง (บอกขนาดและความ
รุนแรงของเหตุการณ์ อธิบายลักษณะบุคคล เวลา และสถานที่ที่ชดั เจน
อธิบายต้นเหตุ แหล่งโรค หรือที่มาของการระบาดได้สมเหตุผล)
ง. Final report มีขอ้ เสนอแนะในการควบคุมโรค (ระยะกลาง/ยาว) ที่
สอดคล้องผลการสอบสวนฯ
จ. ส่ง Final report ภายใน 15 วัน หลังสอบสวนเสร็จ
มาตรฐานผลงาน
KPI17 : ผลงานการนา เสนอความรูจ้ าก
การสอบสวนโรคหรือการตอบโต้ทาง
สาธารณสุข ที่เผยแพร่ในวารสาร
เวทีวิชาการหรือเวบไซต์
การผ่านเกณฑ์
พื้นฐาน = 1B
ดี = 1S
รายการ
มีการเผยแพร่ความรูท้ ี่เป็ นผลงานวิชาการต่อเนื่องจากการสอบสวน
โรคหรือการตอบโต้ทางสาธารณสุข
1) เผยแพร่ในวารสารหรือเวทีวิชาการระหว่างหน่วยงาน
ภายในประเทศ
2) เผยแพร่ในวารสารหรือเวทีวิชาการระดับชาติ
3) เผยแพร่ในวารสารหรือเวทีวิชาการระดับนานาชาติ
[B]
[S1]
[S2]
ผลงานการนาเสนอความรู ้
• เป็ นผลงานวิชาการที่ตอ่ เนื่องหรือสังเคราะห์จากผลงานการ
สอบสวนโรคหรือการตอบสนองทางสาธารณสุข
• ตัวอย่างผลงานอาจแสดงได้ดงั นี้
1.1 บทความวิชาการ บทวิจารณ์ และบทความเผยแพร่ทางสื่อมวลชน
1.2 รายงานวิชาการฉบับสมบูรณ์
1.3 รายงานการสัมมนา /ประชุมวิชาการ/ประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร
1.4 Web blog
•
ผลงานที่ไม่นบั ตามตัวชี้วัดนี้ ได้แก่ รายงานสอบสวนโรค
เบื้องต้น และรายงานฉบับสรุปผลการสอบสวน (Final report) ทั้ง
ฉบับ หรือบางส่วน โดยไม่มีการวิเคราะห์สงั เคราะห์เพิ่มเติม
เป้าหมายการพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
1. ทีมมีความเป็ นทีมชัดเจน และมีศกั ยภาพฯ
2. ทีมมีความพร้อมในการปฏิบตั งิ านฯ
3. ทีมมีขีดความสามารถหลักตาม IHR2005
70
%
4. ทีมมีผลงานที่มีคณ
ุ ภาพ 60 %
80 %
40 %
ปี 52
ปี 53
ปี 54
ปี 55
ขอขอบคุณ ชุดสไลด์
คุณวันชัย อาจเขียน
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี