ประเมินมาตรฐาน srrt 28Feb2011 - กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย

Download Report

Transcript ประเมินมาตรฐาน srrt 28Feb2011 - กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย

มาตรฐานทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลือ่ นทีเ่ ร็ว
(Surveillance and rapid response team: SRRT)
โทรศัพท์ 0-2972-9606- 9
โทรสาร 0-2972-9606- 9
http://dpc1.ddc1.dd.moph.
go.th/
www.dpc1.in.th/dpc1
วิสัยทัศน์ สคร.ที่ ๑ กรุงเทพฯ
เป็ นองค์กรชั้นนำระดับเขตที่สงั คมเชื่อถือและ
ไว้วำงใจ เพื่อปกป้ องประชำชนในเขตรับผิดชอบ
จำกโรคและภัยสุ ขภำพด้วยควำมเป็ นเลิศทำง
วิชำกำร ภำยในปี 2563
พันธกิจ
1.
2.
3.
4.
5.
ส่ งเสริ มกระบวนกำรประสำนควำมรู ้ เครื่ องมือ ร่ วมมือกับ
เครื อข่ำยภำยในเขต ในกำรผลิตและพัฒนำผูเ้ ชี่ยวชำญ องค์ควำมรู ้
ข้อมูลข่ำวสำร รวมทั้งให้บริ กำรเฉพำะโรค
ส่ งเสริ ม สนับสนุน ถ่ำยทอด แลกเปลี่ยนควำมรู ้ ให้เครื อข่ำยและ
ประชำชนในเขตรับผิดชอบ
ผลักดันและติดตำมกำรบังคับใช้กฎหมำยที่จำเป็ นต่อกำรปกป้ อง
ประชำชนจำกโรคและภัยสุ ขภำพในเขตรับผิดชอบ
เตรี ยมควำมพร้อมในกำรจัดกำรภำวะคุกคำมและภัยสุ ขภำพ
ใหม่ๆ ได้ทนั กำรณ์
พัฒนำและประเมินศักยภำพระบบ กลไกของเครื อข่ำยกำร
ดำเนินงำนเฝ้ ำระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภำพ
ยุทธศาสตร์ ดาเนินงานแบบมุ่งเน้ นผลงาน สู่ วิสัยทัศน์
1. กำรพัฒนำและร่ วมมือกับเครื อข่ำยภำคีภำยในจังหวัดที่
รับผิดชอบรวมทั้งสนับสนุนพื้นที่ในกำรดำเนินงำนเฝ้ ำ
ระวังป้ องกันและควบคุมโรคและภัยสุ ขภำพอย่ำงมี
ประสิ ทธิภำพและยัง่ ยืน
2. กำรพัฒนำ ถ่ำยทอดนโยบำย ยุทธศำสตร์ มำตรกำร
นวัตกรรม ข้อมูลอ้ำงอิงและมำตรฐำนวิชำกำรเฝ้ ำระวัง
ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภำพของชำติ ที่ได้
มำตรฐำนสำกล
3. กำรสื่ อสำรสำธำรณะและประชำสัมพันธ์อย่ำงทัว่ ถึงและ
ได้ผล ในจังหวัดที่รับผิดชอบเพื่อป้ องกันควบคุมโรค
และภัยสุ ขภำพ
4. กำรเตรี ยมควำมพร้อมและดำเนินกำรป้ องกันควบคุม
โรคและภัยสุ ขภำพในสถำนกำรณ์ฉุกเฉิ นและภัย
พิบตั ิ อย่ำงรวดเร็ ว ตำมควำมต้องกำรของพื้นที่และ
ได้มำตรฐำนสำกล
5. กำรติดตำมและประเมินผลภำพรวมของกำรเฝ้ ำระวัง
ป้ องกันควบคุมโรคและภัยสุ ขภำพของเขตตำม
มำตรฐำนสำกล
6. กำรพัฒนำคุณภำพระบบกำรบริ หำรจัดกำรองค์กรตำม
มำตรฐำนสำกล
บทบำทหน้ำที่ของกลุ่มระบำดวิทยำและข่ำวกรอง
1. ดูแลระบบการเฝ้ าระวังโรคและประเมินความเสี่ ยงเพือ่ เตือนภัย ทั้ง
โรคติดต่ อ โรคไม่ ติดต่ อ โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่ งแวดล้อม
2. ตรวจจับเหตุการณ์ ทผี่ ดิ ปกติ และออกปฏิบัตกิ ารสอบสวนโรคประเมิน
สถานการณ์ และควบคุมการระบาดร่ วมกับพืน้ ที่
3. สนับสนุนส่ งเสริมทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลือ่ นทีเ่ ร็ว (SRRT) ในพืน้ ที่ให้ มี
ความเข้ มแข็ง
4. ประเมินสถานการณ์ และเสนอยุทธศาสตร์ หรือมาตรการเพือ่ ควบคุมภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุ ขในระยะฉับพลัน
5. เป็ นศูนย์ ข้อมูลเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยาและเป็ นศูนย์ ประสานข้ อมูลการ
เฝ้ าระวังโรคและภัยสุ ขภาพ ของหน่ วยงาน
6. จัดทาและพัฒนาฐานข้ อมูลทางระบาดวิทยาของโรคและภัยสุ ขภาพที่
สาคัญในพืน้ ที่รับผิดชอบ
7. ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาองค์ ความรู้ และเทคโนโลยีด้านการเฝ้ าระวัง
สอบสวนโรคทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ที่
SRRT
กรมควบคุมโรค โดยสำนักระบำดวิทยำได้มีกำรพัฒนำทีม เฝ้ ำระวัง
สอบสวนเคลื่อนที่เร็ ว (SRRT) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548
กฎอนำมัยระหว่ำงประเทศ (International Health Regulation, IHR2005)
กำหนดให้ทุกประเทศต้องเร่ งรัดพัฒนำขีดควำมสำมำรถด้ำนกำรเฝ้ ำ
ระวังและตอบ สนองทำงสำธำรณสุ ขตั้งแต่ระดับท้องถิ่นถึงระดับชำติ
ภำยในปี 2555
ปัจจุบนั กรมควบคุมโรคมีทีม SRRT จำนวน 1,030 ทีม อยูใ่ นระดับ
ส่ วนกลำง เขต จังหวัด อำเภอ
เป้ ำหมำยปี 2554 ขยำยทีมลงไปในระดับตำบล ให้ได้จำนวน 2,000 ทีม
เพื่อให้สำมำรถตอบสนองภำวะฉุกเฉินทำงสำธำรณสุ ขในระดับพืน้ ที่
อย่ำงมีประสิ ทธิภำพ ซึ่งเป็ นคุณลักษณะสำคัญประกำรหนึ่งในกำรที่จะ
ขับเคลื่อนให้พ้นื ที่เป็ นอำเภอป้ องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็งและยัง่ ยืน
Road map ของทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลือ่ นทีเ่ ร็ว (SRRT)
• ปัจจุบันทัว่ ประเทศไทย จานวน 1,030 ทีม
• เป้าหมายปี 2554 ขยาย 2,000 ทีม
• ขยายผลสู่ ระดับตาบล เริ่ม ปี 2554
ทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลือ่ นทีเ่ ร็ว (Surveillance and
rapid response team: SRRT) มีภารกิจ
•
•
•
•
กำรเฝ้ ำระวังโรคติดต่อที่แพร่ ระบำดรวดเร็ วรุ นแรง
ตรวจจับภำวะฉุกเฉินทำงสำธำรณสุ ข (Public health emergency)
สอบสวนโรคอย่ำงมีประสิ ทธิภำพทันกำรณ์
ควบคุมโรคฉุกเฉิน(ขั้นต้น) เพื่อหยุดยั้งหรื อจำกัดกำรแพร่ ระบำดไม่ให้
ขยำยวง
• แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้ ำระวังโรคตลอดจนร่ วมมือกันในกำรเฝ้ ำระวัง
ตรวจจับกำรระบำดเป็ นเครื อข่ำย
สมาชิกในทีม SRRT
• ทีม SRRT ประกอบด้วยบุคลำกร 3 ส่ วนคือ
- หัวหน้ าทีมหรือผู้บริหารทีม เป็ นผูน้ ำทีมออกปฏิบตั ิงำนในพื้นที่ หรื ออำนวยกำรให้
ทีมออกปฏิบตั ิงำนได้อย่ำงรำบรื่ น
- แกนหลักของทีม (Core group) เป็ นกลุ่มบุคลำกรที่ทำหน้ำที่เฝ้ ำระวังโรคในยำม
ปกติ และเมื่อมีกำรระบำดของโรค จะเป็ นแกนหลักในกำรระดมทีมออกปฏิบตั ิงำน
ได้รวดเร็ วทันที
- ผู้ร่วมทีม เป็ นกลุ่มบุคลำกรที่ยำมปกติมีหน้ำที่ภำรกิจของตนเอง เช่น แพทย์,
พยำบำล, เจ้ำหน้ำที่หอ้ งปฏิบตั ิกำร, นักวิชำกำรด้ำนควบคุมโรค - สุ ขำภิบำล - สุ ข
ศึกษำ ฯลฯ จะได้รับกำรติดต่อระดมทีม เมื่อมีเหตุกำรณ์สงสัยเกิดขึ้น
กำรปฏิบตั ิงำนของทีม SRRT บำงครั้งจำเป็ นต้องร่ วมกับทีมของหน่วยงำนอื่น หรื อ
ภำคเอกชน สนธิ กำลังเป็ นทีมขนำดใหญ่ ภำยใต้กำรอำนวยกำรของผูบ้ ญั ชำกำร
เหตุกำรณ์ที่แต่งตั้งขึ้นเฉพำะกรณี
มาตรฐานทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลือ่ นที่เร็ว (SRRT)
ข้ อกาหนดเกีย่ วกับคุณลักษณะ แนวทางปฏิบัติ และผลงานที่พงึ
ประสงค์ ของทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลือ่ นทีเ่ ร็ว (Surveillance
and Rapid Response Team หรือ SRRT)
มาตรฐาน SRRT เป็ นมาตรฐานสาหรับทีม SRRT ทุกระดับ ทุกทีม
ของทุกหน่ วยงาน โดยมีความแตกต่ างด้ านจานวนตัวชี้วดั
ปัจจัยแวดล้อมหลำยด้ำน
มาตรฐานทีมเฝ้ าระวัง
สอบสวนเคลือ่ นที่เร็ว
(SRRT) พ.ศ. 2548
ข้อจำกัดบำงประกำร
ของมำตรฐำนเดิม
ปัจจัยที่มีผลต่ อการพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
1. กฎอนามัยระหว่ างประเทศ พ.ศ.
2548 (International Health
Regulation, IHR2005)
1.1 ทุกประเทศต้องพัฒนำหน่วยเฝ้ ำ
ระวังและตอบสนองทำงสำธำรณสุ ข
ตั้งแต่ระดับท้องถิ่น ระดับต้น
ระดับกลำง และระดับชำติ
กำรจำแนกทีม SRRT เพื่อพัฒนำ
ขีดควำมสำมำรถตำมข้อกำหนดใน
IHR2005
ส่วนกลำง
C-SRRT
(National Level)
เขต
R-SRRT
(National Level)
กทม.
จังหวัด
อำเภอ
ศบส.กทม.
รพสต.
อปท.
P-SRRT
(Intermediate PH Response Level)
D-SRRT
(Primary PH Response Level)
*ทีม SRRT ท้องถิ่น
(Local Community Level)
ปัจจัยที่มีผลต่ อการพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
1.2 ขีดควำมสำมำรถ (Core capacity) ที่ตอ้ งพัฒนำ ได้แก่ กำรตรวจจับ
เหตุกำรณ์ กำรรำยงำนข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็ น กำรควบคุมโรคขั้นต้น
(Containment) กำรประเมินสถำนกำรณ์ กำรแจ้งควำม และกำร
สนับสนุน ซึ่ งมำตรฐำนทีม SRRT ฉบับเดิมไม่มีกำรประเมินด้ำนขีด
ควำมสำมำรถ
1.3 ภัยคุกคำมที่สำคัญได้แก่ ภำวะฉุกเฉิ นทำงสำธำรณสุ ขระหว่ำง
ประเทศ (Public health emergency of international concern,
PHEIC) ซึ่ งทีม SRRT ต้องทรำบและใช้เครื่ องมือตรวจจับได้
ปัจจัยที่มีผลต่ อการพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
1.4 กำหนดเวลำพัฒนำศักยภำพของทุกประเทศภำยในปี 2555
องค์กำรอนำมัยโลกจะส่ งผูแ้ ทนมำประเมินขีดควำมสำมำรถโดยใช้รำยกำร
ตรวจสอบ (checklists)
1.5 ระบบเตือนภัยและตอบสนอง (Early warning and response system)
เป็ นระบบที่เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรตรวจจับเหตุกำรณ์ที่ผดิ ปกติ โดย
บูรณำกำรระบบเฝ้ ำระวังโรคจำกกำรรำยงำนผูป้ ่ วย (Case - based
surveillance) กับระบบเฝ้ ำระวังเหตุกำรณ์ (Event - based surveillance)
ปัจจัยที่มีผลต่ อการพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
2. การเปลีย่ นแปลงของระบบงาน ระบบราชการและการกระจายอานาจ
2.1 สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร (ก.พ.ร.) กำหนดให้มีกำรบูรณำ
กำรงำนอนำมัยสิ่ งแวดล้อมเข้ำกับงำนเฝ้ ำระวัง ป้ องกันควบคุมโรค โดยผ่ำน
กลไกของทีม SRRT ตั้งแต่ปีงบประมำณ 2551
2.2 หน่วยงำนหรื อองค์กรที่ตอ้ งรับผิดชอบกำรป้ องกันควบคุมโรคให้กบั ประชำชน
หรื อกลุ่มประชำกรเฉพำะ มีแนวโน้มที่จะจัดให้มีทีม SRRT โดยเฉพำะอย่ำงยิง่
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นที่มีหน้ำที่รับผิดชอบในกำรระงับโรคติดต่อฯ และมี
งบประมำณ
2.3 กำรเปลี่ยนแปลงของระบบบริ กำรสำธำรณสุ ข มีผลต่องบประมำณ กำรถ่ำยโอน
หรื อออกนอกระบบรำชกำร
2.4 ควำมก้ำวหน้ำของงำนระบำดวิทยำ ซึ่งมีขอบเขตภำรกิจขยำยตัวมำกขึ้น จึงมี
แนวโน้มกำรแบ่งส่ วนงำนให้เหมำะสม เช่น งำนเฝ้ ำระวังทำงระบำดวิทยำตำม
ระบบโรค/ภัยต่ำง ๆ และงำนเฝ้ ำระวังสอบสวนโรค หรื องำนพัฒนำทีม SRRT
ปัจจัยที่มีผลต่ อการพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
3. ข้ อจากัดของมาตรฐาน SRRT ฉบับเดิม (2548)
3.1 ใช้ได้เฉพำะทีม SRRT ของหน่วยงำนในข่ำยงำนเฝ้ ำระวังทำงระบำด
วิทยำโรคติดต่อ
3.2 เน้นผลงำนรวม แต่ไม่สะท้อนขีดควำมสำมำรถแต่ละด้ำน ทำให้ไม่
สำมำรถใช้เป็ นแนวทำงในกำรพัฒนำทีมได้
3.3 ขำดเนื้อหำบำงด้ำน เช่น กำรทำงำนเป็ นทีม กำรควบคุมโรคขั้นต้นฯ
3.4 กำรประเมินใช้วิธีให้คะแนนรำยตัวชี้วดั และผ่ำนเกณฑ์โดยใช้คะแนน
รวม ทำให้บำงตัวชี้วดั ไม่ได้รับกำรประเมิน
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับจากมาตรฐาน SRRT ฉบับใหม่
1. ผลักดันให้ ทมี SRRT มีการทางานเป็ นทีมอย่ างแท้ จริงและมีประสิ ทธิภาพ
2. เพิม่ ความพร้ อม โดยทีมมีการจัดทาแผนปฏิบัติการเพือ่ รับมือโรค/ภัยทีส่ าคัญและ
การฝึ กซ้ อม
3. เพิม่ ขีดความสามารถของทีมเพือ่ พัฒนาสู่ ความเป็ นมืออาชีพ โดยมีการปรับพืน้ ฐาน
ด้ านอนามัยสิ่ งแวดล้ อม พัฒนาศักยภาพการสอบสวนโรคแต่ ละขั้นตอน การ
ควบคุมโรคขั้นต้ น (Containment) และด้ านสื่ อสารการระบาด (Outbreak
communication)
4. ทาให้ เกิดระบบเตือนภัยและตอบสนองทางสาธารณสุ ข (Early warning and
response system) โดยเพิม่ ความเข้ มแข็งของทีม SRRT ในการเฝ้ าระวังเหตุการณ์
(Event - based surveillance)
องค์ประกอบของมำตรฐำน SRRT
มาตรฐานทีม SRRT มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่
• 1. ด้ านความเป็ นทีม : ทีมมีควำมเป็ นทีมชัดเจนและมีศกั ยภำพในกำร
ปฏิบตั ิงำน
• 2. ด้ านความพร้ อม : ทีมมีควำมพร้อมในกำรปฏิบตั ิงำนเมื่อเกิดภำวะ
ฉุกเฉินทำงสำธำรณสุ ข
• 3. ด้ านความสามารถ : ทีมมีควำมสำมำรถหลักตำมข้อกำหนดในกฎ
อนำมัยระหว่ำงประเทศ
• 4. ด้ านผลงาน : ทีมมีผลงำนที่มีคุณภำพ
การผ่ านเกณฑ์ และการประเมิน
1.
ตัวชี้วดั ทีใ่ ช้ ในการประเมิน
ทีมระดับท้องถิ่น, ทีมอำเภอ, ทีมจังหวัด และทีมเขต/ส่ วนกลำง ใช้ตวั ชี้วดั ใน
กำรประเมินจำนวน 10, 13, 14 และ 15 ตัวชี้วดั ตำมลำดับ แต่ละตัวชี้วดั มีตวั ชี้วดั
ย่อย (Sub - indicator) ซึ่ งแบ่งเป็ น 2 ชนิด ได้แก่
- ตัวชี้วดั ย่อยระดับพื้นฐำน (Basic requirement, B) เป็ นรำยกำรหรื อข้อกำหนดขั้นต่ำ
ของทีม
- ตัวชี้วดั ย่อยระดับดี (Special requirement, S) แสดงศักยภำพและประสิ ทธิภำพที่
เพิ่มขึ้นของทีม เฉพำะมำตรฐำนองค์ประกอบที่ 4 แบ่งผลงำนที่ดีเป็ น 2 ระดับ
(S1, S2)
การผ่ านเกณฑ์ และการประเมิน
2. การผ่ านเกณฑ์
2.1 การผ่านเกณฑ์ ตวั ชี้วดั ย่อย ส่ วนใหญ่พิจำรณำจำกเอกสำรต่ำง ๆ เช่น คำสั่ง แฟ้ ม
ประวัติ แผนงำน ตำรำงเวร รำยกำรสิ่ งสนับสนุน เกณฑ์/เงื่อนไขที่ทีมกำหนด
ทะเบียน/รำยงำน ภำพถ่ำยขณะปฏิบตั ิงำนฯ กำรผ่ำนเกณฑ์จำแนกเป็ น ผ่ำน และไม่
ผ่ำน
2.2 การผ่านเกณฑ์ ตวั ชี้วดั พิจำรณำจำกจำนวนตัวชี้วดั ย่อยที่ผำ่ นเกณฑ์ ซึ่ งแบ่งเป็ น
- ไม่ผำ่ น
- ผ่ำนเกณฑ์ตวั ชี้วดั ระดับพื้นฐำน หมำยถึง มีตวั ชี้วดั ย่อยระดับพื้นฐำน (B) ผ่ำนเกณฑ์
ทั้งหมด
- ผ่ำนเกณฑ์ตวั ชี้วดั ระดับดี หมำยถึง ทุกตัวชี้วดั ย่อยผ่ำนเกณฑ์ท้ งั หมด หรื อผ่ำนเกณฑ์
ระดับ S1 ขึ้นไป (เฉพำะมำตรฐำนองค์ประกอบที่ 4)
การผ่ านเกณฑ์ และการประเมิน
2.3 การผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน พิจำรณำจำกจำนวนตัวชี้วดั ที่ผำ่ นเกณฑ์ ซึ่ งแบ่งเป็ น 3
ระดับ
- ผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำนระดับพื้นฐำน หมำยถึง ทุกตัวชี้วดั ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย
ระดับพื้นฐำน
- ผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำนระดับดี หมำยถึง ทุกตัวชี้วดั ผ่ำนเกณฑ์ระดับดี
- ผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำนระดับดีเยีย่ ม หมำยถึง ผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำนระดับดีติดต่อกันโดย
มีระยะห่ำงจำกครั้งก่อน 3 ปี และควรมีจำนวนตัวชี้วดั ผลงำนระดับ S2 มำกกว่ำครั้ง
ก่อน
• ผลกำรผ่ำนเกณฑ์ใช้ได้ 3 ปี แต่สำมำรถประเมินใหม่ได้ทุกปี ถ้ำทีมพัฒนำมำตรฐำน
สู งขึ้น
การผ่ านเกณฑ์ และการประเมิน
3. การประเมินมาตรฐานและรับรองผล
3.1 ทีม SRRT แต่ละทีมประเมินตนเอง โดยเริ่ มจำกกำรจัดหำเอกสำรประกอบ
เป็ นรำยตัวชี้วดั ย่อยของตัวชี้วดั ที่ใช้ในกำรประเมิน เมื่อคำดว่ำผ่ำนเกณฑ์
มำตรฐำน จึงขอรับรองผลกำรประเมิน
3.2 กำรรับรองผลกำรประเมิน
- สำนักงำนสำธำรณสุ ขจังหวัดรับรองมำตรฐำนทีมระดับท้องถิ่นและทีมอำเภอ
- สำนักงำนป้ องกันควบคุมโรคเขตร่ วมกับศูนย์อนำมัยเขต รับรองมำตรฐำนทีม
ระดับจังหวัด
- กลุ่มภำรกิจด้ำนพัฒนำกำรสำธำรณสุ ข รับรองมำตรฐำนทีมระดับเขต และทีม
ส่ วนกลำง
กำรดำเนินกำรรับรองมำตรฐำนทีม SRRT
• คณะกรรมกำรรับรองผลกำรประเมินมำตรฐำนของแต่ละหน่วยงำน
ประกอบด้วย สมำชิกทีม SRRT ของหน่วยงำนเอง สมำชิกทีม
SRRT ในพื้นที่ที่เป็ นที่ยอมรับของทีมอื่น ทีมระดับเดียวกันนอก
พื้นที่ และทีมระดับเหนือขึ้นไป ผูเ้ ชี่ยวชำญและผูท้ รงคุณวุฒิ จำก
หน่วยงำน องค์กร และสถำบันต่ำง ๆ
• กำรรับรองผลทำโดย
จัดให้คณะกรรมกำรไปประเมินทีมที่ขอรับกำรรับรอง หรื อ
มอบหมำยให้ผแู ้ ทนคณะกรรมกำรไปรวบรวมเอกสำรหลักฐำน แล้ว
นำมำพิจำรณำรับรองโดยคณะกรรมกำร
ตัวชี้วดั ทีม SRRT
มี 17 ตัวชี้วดั ได้ แก่
I
N
P
U
T
ด้ านความเป็ นทีม
1. การจัดตั้งทีม SRRT
2. ทีมมีศักยภาพทางวิชาการ
ด้ านความพร้ อม
3. ทีมมีศักยภาพด้ านการบริหารทีมงาน
4. ทีมมีความพร้ อมในการปฏิบัติงาน
5. ทีมมีแผนปฏิบัตกิ ารกรณีเร่ งด่ วนและการฝึ กซ้ อม
ตัวชี้วดั ทีม SRRT
P
R
O
C
E
S
S
ด้ านความสามารถการปฏิบัติงาน
6. การเฝ้ าระวังและเตือนภัย
7. การประเมินสถานการณ์ และรายงาน
8. การสอบสวนโรคและภัยสุ ขภาพ
9. การควบคุมโรคขั้นต้ น
11. การสนับสนุนมาตรการควบคุมโรคและตอบสนองทางสาธารณสุ ข
10. การสนับสนุนมาตรการด้ านอนามัยสิ่ งแวดล้ อม
ตัวชี้วดั ทีม SRRT
O
U
T
P
U
T
ด้ านผลงาน
12. ผลงานการแจ้ งเตือนและรายงานเหตุการณ์ ทนั เวลา
13. ผลงานด้ านความครบถ้ วนของการสอบสวนโรค
14. ผลงานด้ านคุณภาพการสอบสวนและควบคุมโรค
15. ผลงานด้ านความรวดเร็วในการสอบสวนโรค
16. ผลงานด้ านคุณภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค
17. ผลงานการนาเสนอความรู้ จากการสอบสวนโรค
หรือการตอบสนองทางสาธารณสุ ข ทีเ่ ผยแพร่ ในวารสาร
เวทีวชิ าการ เว็บไซต์
มาตรฐานทีม SRRT จาแนกตามองค์ ประกอบ
ตัวชี้วดั และระดับทีม
ระดับทีม SRRT
องค์ประกอบ / ตัวชี้วดั
องค์ประกอบด้ำนควำมเป็ นทีม
1. กำรจัดตั้งทีม SRRT
2. ทีมมีศก
ั ยภำพทำงวิชำกำร
3. ทีมมีศก
ั ยภำพด้ำนกำรบริ หำรทีมงำน
องค์ประกอบด้ำนควำมพร้อม
4. ทีมมีควำมพร้อมในกำรปฏิบต
ั ิงำน
5. ทีมมีแผนปฏิบต
ั ิกำรกรณี เร่ งด่วนและกำรฝึ กซ้อม
องค์ประกอบด้ำนควำมสำมำรถกำรปฏิบตั ิงำน
6. กำรเฝ้ ำระวังและเตือนภัย
7. กำรประเมินสถำนกำรณ์และรำยงำน
8. กำรสอบสวนโรคและภัยสุ ขภำพ
9. กำรควบคุมโรคขั้นต้น
10. กำรสนับสนุ นมำตรกำรด้ำนอนำมัยสิ่ งแวดล้อม
11. กำรสนับสนุนมำตรกำรควบคุมโรคและตอบสนองทำง
สำธำรณสุ ข
ท้องถิ่ อำเภอ จังหวั เขต ส่ วนกลำ
น
ด
ง
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
X
รำยกำรตัวชี้วดั ย่อย และเกณฑ์ผำ่ นรำยตัวชี้วดั
โดยทัว่ ไปกำหนดให้ตอ้ งสอบสวนโรคภำยใน 48 ชัว่ โมงนับจำกวันรักษำ
หรื อภำยใน 24 ชัว่ โมงนับจำกวันแจ้งข่ำวกำรระบำด (กรณี ไม่ใช่โรคที่มีควำมสำคัญสูง)
ตัวอย่ำงเครื่ องมือกำรดำเนินงำน
•
•
•
•
•
•
แบบประเมินตนเอง
แบบสรุ ปผลกำรประเมินมำตรฐำน
ทะเบียนรับแจ้งข่ำวของหน่วยงำน
เงื่อนไขกำรออกสอบสวนโรคที่สำนักระบำดวิทยำกำหนด
เกณฑ์กำรออกสอบสวนโรค
รำยกำรวัสดุ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์ PPE
ฯลฯ
การผ่ านเกณฑ์ ประเมินมาตรฐาน
จานวนทีมทีป่ ระเมิน
ร้ อยละ
ไม่ ผ่าน
142
56.13
ผ่ านระดับพืน้ ฐาน
103
40.71
8
3.16
253
100
ผ่ านระดับดี
รวม
ผลการประเมินมาตรฐาน ตามองค์ ประกอบ ปี 2552
ไม่ผำ่ นเกณฑ์
องค์ประกอบของมำตรฐำน
ผ่ำนเกณฑ์
ด้ำนควำมเป็ นทีม
จำนวนทีม ร้อยละ จำนวนทีม ร้อยละ
72
28.46 181
71.54
ด้ำนควำมพร้อม
48
18.97
205
81.03
ด้ำนควำมสำมำรถกำร
ปฏิบตั ิงำน
ด้ำนผลงำน
78
30.83
175
69.17
104
41.11
149
58.89
รวม
142
56.13
111
43.87
ผลการประเมินมาตรฐานทีมระดับอาเภอ/ศบส.กทม.
จาแนกตามตัวชี้วดั ปี 2552 (เฉพาะไม่ ผ่านเกณฑ์ มากกว่าร้ อยละ 20)
ตัวชี้วดั
ไม่ผำ่ นเกณฑ์
ผ่ำนเกณฑ์
จำนวนทีม ร้อยละ จำนวนทีม ร้อยละ
2.ทีมมีศกั ยภำพทำงวิชำกำร
55
21.74
198
78.26
8.กำรสอบสวนโรคและภัยสุ ขภำพ
64
25.30
189
74.70
13.ผลงำนด้ำนควำมครบถ้วนของกำร
สอบสวนโรค
14.ผลงำนด้ำนคุณภำพกำรสอบสวน
และควบคุมโรค
16.ผลงำนด้ำนคุณภำพกำรเขียน
รำยงำนสอบสวนโรค
63
24.90
190
44.27
67
26.48
186
41.11
86
33.99
167
40.71
การรับรองมาตรฐาน สคร.ที่ 1
• ดาเนินการสุ่ มตัวอย่ างทีมรับการประเมิน โดยสุ่ มตัวอย่ างร้ อยละ
25 ของทีมอาเภอ หรือ ศบส.กทม.
ศบส.กทม. 17 ทีม จากทั้งหมด 68 ทีม
3 จังหวัดในพืน้ ที่รับผิดชอบ 8 ทีม จากทั้งหมด 29 ทีม
• ประเมินตามตัวชี้วดั 13 ตัวชี้วดั จาก 17 ตัวชี้วดั
• ระยะเวลาประเมิน พฤษภาคม – สิ งหาคม
ผลกำรประเมิน
หน่ วยงาน
ผ่ านเกณฑ์ ประเมิน (ร้ อยละ)
ปี 2552
ปี 2553
ศบส.กทม.
52.9
88
3 จังหวัด
62.5
87.5
ตัวชี้วดั ที่ไม่ผำ่ นเกณฑ์ ปี 2553
ตัวชี้วดั ที่ไม่ผำ่ นเกณฑ์
จำนวน (แห่ง)
1 กำรจัดตั้งทีม SRRT
2 ทีมมีศกั ยภำพทำงวิชำกำร
1
2
5 ทีมมีแผนปฏิบตั ิกำรกรณี เร่ งด่วน และกำรฝึ กซ้อม
6 กำรเฝ้ ำระวังและเตือนภัย
2
2
8 กำรสอบสวนโรคและภัยสุ ขภำพ
12 ผลงำนกำรแจ้งเตือนและรำยงำนเหตุกำรณ์ทนั เวลำ
3
2
13 ผลงำนด้ำนควำมครบถ้วนของกำรสอบสวนโรค
2
14 ผลงำนด้ำนคุณภำพกำรสอบสวนและควบคุมโรค
2
15 ผลงำนด้ำนควำมรวดเร็ วในกำรสอบสวนโรค
3
16 ผลงำนด้ำนคุณภำพกำรเขียนรำยงำนสอบสวนโรค
2
ประเด็นที่พบได้บ่อย
•
•
•
•
•
•
•
•
กำรเก็บเอกสำรหลักฐำน
กำรกำหนดเกณฑ์ของทีมในกำรออกสอบสวนโรค
กำรกำหนดนิยำมผูป้ ่ วยและผูส้ มั ผัส
กำรแจ้งเตือนภัย กำรส่ งข่ำว
กำรรำยงำนเหตุกำรณ์ทนั เวลำ
ควำมครบถ้วนของกำรสอบสวนโรค
คุณภำพกำรเขียนรำยงำนสอบสวนโรค เวลำ หัวข้อครบ เนื้อหำ
กำรจัดทำทะเบียนรับแจ้งข่ำว
กำรประยุกต์ใช้ผลกำรประเมินมำตรฐำน SRRT
พรบ.ระเบียบข้ าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ
การประเมิน
ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ
ผลสั มฤทธิ์ของงาน
ตัวชี้วดั เชิงเวลา
Core
competency
ตัวชี้วดั ระดับ
ความสาเร็จ
การประเมินสมรรถนะ
technical
competency
ตัวอยาง
: เกณฑการตั
ดสิ นรางวัล ผลงานปี
่
์
2553
1.
•
•
•
•
•
•
•
รางวัล คนดีศรีระบาด
ปฏิบัติงานด้ านระบาดวิทยามาไม่ ต่ากว่ า ๕ ปี ติดต่ อกันและปัจจุบันยัง
รับผิดชอบงานด้ านระบาดวิทยา
มีผลงานดีเด่ นด้ านระบาดวิทยาเป็ นที่ยอมรับ
ต้ องเป็ นผู้ทมี่ คี วามประพฤติดี มีความทุ่มเท เสี ยสละ
ได้ รับการรับรองจากผู้บังคับบัญชา
ต้ องไม่ เป็ นผู้เคยถูกลงโทษทางวินัย หรืออยู่ระหว่ างการสอบสวนทางวินัย
ไม่ เคยได้ รับการพิจารณาคัดเลือกเป็ นบุคคลดีเด่ นด้ านระบาดวิทยามาก่อน
ต้ องไม่ เป็ นกรรมการคัดเลือกหรือเป็ นผู้ทมี่ สี ่ วนได้ ส่วนเสี ยกับการคัดเลือก
2. รางวัล การสอบสวนโรคทรงคุณค่า
• ทาให้ เกิดวิธีการควบคุมโรคใหม่ ๆ
• มีการควบคุมโรคโดยพันธมิตรใหม่ ๆ (ทีไ่ ม่ ใช่ สาธารณสุ ข)
• นาผลไปจัดทารูปแบบ/แนวทาง/มาตรการควบคุมโรคระดับเขต-ประเทศ
• ทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงในระบบงานปกติ เช่ น ปรับปรุงรูปแบบ/
แนวทาง/มาตรการ/ระบบการปฏิบัติงานของหน่ วยงานฯลฯ
3. รางวัล ทีมและเครือข่ ายการเฝ้ าระวังและสอบสวนทางระบาดวิทยา
ระดับจังหวัดดีเด่ น
• ส่ งรายงาน 506 มาทีส่ านักระบาดวิทยาทุกสั ปดาห์ มากกว่ า 97.5%
• มีรายงานจานวนผู้ป่วยจากโรงพยาบาลของรัฐครบถ้ วนทุกสั ปดาห์อย่ าง
เหมาะสม มากกว่ า 90%
• ผลงาน One Team One Operation ครบทุกอาเภอ 100%
• ร้ อยละสะสมของทีม SRRT อาเภอ ผ่ านเกณฑ์ มาตรฐานมากกว่ า 20%