นักบริหารมืออาชืพยุคใหม่ก้าวไกล-03 - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript นักบริหารมืออาชืพยุคใหม่ก้าวไกล-03 - Tanit Sorat V

นักบริหารมืออาชืพยุคใหม่ ก้าวไกล
สู่ ประชาคมอาเซียน
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
www.tanitsorat.com
1
การเมือง
Political
Security
Community
เศรษฐกิจ
ASEAN
Economic
Community
นักบริหารมืออาชีพ
Professional Management
in
ASEAN Community
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
สั งคม
SocioCultural
Community
2
นักบริหารร่ ุ นใหม่
ความหมาย : เป็ นนักบริ หารไม่วา่ จะเป็ นภาครัฐ-เอกชนซึ่งไม่ยดึ ติด
กับ การบริ ห ารในรู ป แบบเก่ า และพร้ อ มที่ จ ะบริ ห ารงานภายใต้ ก าร
เปลี่ยนแปลงแบบพลวัตรและสภาวะแวดล้อมแบบไร้พรมแดนภายใต้
โลกและคนยุคดิจิตอลซึ่ งมีความแตกต่ างจากเดิมอย่ างสิ้ นเชิ งโดยไม่ มี
การจ ากัด ขอบเขตและพื้ น ที่ ร วมทั้ง การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งใน
รู ปแบบต่างๆทั้งที่เกิดจากฎกเกณฑ์ การค้ าใหม่ ของโลกและหรื อภายใต้
การเปลีย่ นแปลงของสิ่ งแวดล้อม
ที่มา : ธนิต โสรัตน์
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
3
นักบริหารรุ่นใหม่ ...กับการเตรียมพร้ อม
ศตวรรษแห่ งพลวัตร(ใหม่ )ของการค้าและลงทุนข้ ามชาติ
Lack of Production Force
การขาดแคลนปัจจัยการผลิต
โดยเฉพาะแรงงาน
AEC Single Market
การเข้ าสู่ เศรษฐกิจแบบตลาดเดียวกัน การ
แข่ งขันจากภายนอก ต้ องเร่ งเสร้ างขีด
ความสามารถในการแข่ งขันระดับภูมภิ าค
Global Warming Risk
ความเสี่ ยงจากภัยธรรมชาติ
และภูมอิ ากาศแปรปรวน
(FATF)
การต่ อต้ านการฟอกเงินและ
การต่ อต้ านการก่อการร้ าย
การบริหารจัดการภายใต้ บริบทพลวัตร(ใหม่ )ของโลก
Global Link
เศรษฐกิจโลกเชื่อมต่ อกัน
Human Right Alert
ประเด็นสิทธิมนุษยชน
World Agenda Green & Health
& GMO
การให้ ความสาคัญต่ อสิ่ งแวดล้ อม
และสุ ขอนามัย
New World Rule & NTBs
กฎเกณฑ์ และการกีดกันทาง
การค้ า
Borderless Trade
การเปิ ดเสรีการค้ า –บริการการเงิน-การลงทุน
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
Digital Age
โลกธุรกิจแบบดิจิตอล
(Change & Fast Attack)
การเปลีย่ นแปลงของภูมภิ าคส่ งผลต่ อบทบาทใหม่ ของนักบริหาร
Country
East India
South China
Population (Million)
1) Thailand
66.7
2) Malaysia
27.9
3) Indonesia
231.3
ASEAN + CHINA+INDIA PLUS 4) Philippines
92.2
5) Singapore
5.0
6) Brunei
0.4
7) Vietnam
90.5
8) Lao PRD
6.8
9) Myanmar
60.0
10) Cambodia
14.8
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
11) China
1,345.9
12) India
1,198.3
5
AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
จุดเปลี่ยนประเทศไทยโอกาสและความท้าทาย
Trade &
Investment
Across the
Asean
countries
Free Flow of
Business &
Investment
Free Trade
Finance
Free
Logistics Free
Flow???
neighbor
Investment
Free
Co-Tourism
Cross border Trade
Immigrant
Labour
Borderless
Economy
Skill Labour
Free
6
การบริหารภายใต้ การค้ า-การค้ า-การลงทุน ไร้ พรมแดน
Free Trade under Borderless
การเชื่อมโยงกับเส้ นทางในภูมิภาค
 การเชื่อมโยงการค้ า
 การเชื่อมโยงการลงทุน
 การเชื่อมโยงภาคบริการ
 การเชื่อมโยงด้ านการท่ องเที่ยว
 การเชื่อมโยงด้ านโทรคมมนาคม
 การเชื่อมโยงด้ านพลังงาน
 การเชื่อมโยงValue Chain
 การเชื่อมโยงคนกับคน
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
7
AEC Connectivity Content
การเชื่อมโยงภายใต้ การเป็ นประชาคมเดียวกัน
1. Single Market การเชื่อมโยงตลาดไทยให้เป็ นผูน้ าด้านตลาดภายใต้ฐานประชากรรายได้เป็ นอันดับ
3 ของภูมิภาค
2. Production Base Connectivity อุตสาหกรรมไทยมีความพร้อมด้านเทคโนโลยี ทักษะแรงงาน โซ่
อุปทานอุตสาหกรรม
3. Tourism ไทยมีความพร้อมด้านแหล่งท่องเที่ยวและทักษะด้านท่องเที่ยว ด้วยนักท่องเที่ยวปี ละ 2728 ล้านคน
4. Infrastructure Connect Across Border การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ งของ
ภูมิภาค ทั้งท่าเรื อ สนามบิน ถนน ทางรถไฟ สะพาน
5. Telecommunication Link การเชื่อมโยงการสื่ อสารทั้งด้านข้อมูลและมัลติมีเดีย
6. Regional Logistics Service ผูป้ ระกอบการไทยมีความพร้อมด้านการขนส่ งในระดับนานาชาติ
7. Law & Regulation Connectivity การเชื่อมโยงกฎ ระเบียบของแต่ละประเทศสมาชิกซึ่ งแตกต่างกัน
8. Supporting ความพร้อมของหน่วยงานต่างๆ ในการสนับสนุนเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC เช่น BOI
หน่วยงานรัฐ สถาบันการเงิน องค์กรเอกชนต่างๆ ฯลฯ
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
8
HOW TO CONNECT SINGLE MARKET ??
การเข้ าถึงโอกาส....บนบริบทใหม่ ของธุรกิจอาเซียน
East India
South China
REAL ECONOMIC CONNECTIVITY
TRADE-SERVICE-INVESMENT ACROSS
AEC BORDER
LOCAL BUSINESS CONNECT TO
INTERNATIONAL
REGIONAL LOGISTICS CONNECTIVITY
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
9
AEC Single Market Base
อาเซียน+1 คู่ค้าอันดับ 1 และมีสัดส่ วนส่ งออกร้ อยละ 36.41
อาเซียน
จีน
คู่ค้า 3.041 ล้านล้านบาท สั ดส่ วนส่ งออก 24.71 %
คู่ค้า 2.041 ล้านล้านบาท สั ดส่ วนส่ งออก 11.7 %
มูลค่าการค้าระหว่างไทยกับประเทศในกลุ่มอาเซียน+1 ปี 2555
(หน่ วย:เหรียญสหรัฐ)
ประเทศ
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
สิ งคโปร์
เวียดนาม
ฟิ ลิปปิ นส์
พม่ า
ลาว
กัมพูชา
บรู ไน
จีน
ที่มา :กระทรวงพาณิ ชย์
มูลค่าการค้า
การนาเข้ า
การส่ งออก
ดุลการค้า
25,532
13,106
12,426
-680
19,297
8,087
11,209
3,122
18,668
7,832
10,836
3,003
9,674
2,986
6,688
3,701
7,585
2,724
4,861
2,137
6,801
3,674
3,127
-547
4,848
1,238
3,610
2,372
4,032
250
3,782
3,533
633
442
191
-251
63,856
36,957
26,900
-10,057
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
10
AEC One Production Base
แนวคิดการย้ ายฐานการผลิต
1. ต้ นทุนการผลิตไทยแข่ งขันไม่ ได้ ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคการค้า-บริ การ
ของไทย เริ่ มที่จะมีแนวคิดการย้ายฐานการผลิตไปสู่ ประเทศเพื่อนบ้านที่มีตน้ ทุนการผลิตที่
ต่ากว่าไทย
2. อุตสาหกรรมใช้ แรงงานเข้ มข้ น/OEM ไม่ มีที่ยืนในประเทศไทย นโยบายค่าจ้างสู งและการ
ขาดแคลนแรงงานอย่างรุ นแรง ตัวเลขการว่างงานปี 2555 อัตราว่างงานอยูเ่ พียงร้อยละ 0.6 –
0.7 กอปรทั้งนโยบายค่าจ้าง 300 บาททัว่ ประเทศ ทาให้ทางรอดคือต้องย้ายฐานการผลิต
3. การขาดแหล่ งวัตถุและทรั พยากรธรรมชาติ จาเป็ นที่ จะต้องแสวงหาแหล่งผลิ ตใหม่ซ่ ึ งมี
ทรัพยากรที่พอเพียงและมีราคาที่ต่ากว่าการผลิตในประเทศ
4. ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของภาคการผลิ ต ในประเทศลดลง จะเป็ นปั จ จัย ที่
ภาคอุ ต สาหกรรมจะต้องมี ก ารย้ายฐานการผลิ ต เช่ น ด้าน ผัง เมื อง,ชุ ม ชนการตื่ น ตัว ด้า น
สิ่ งแวดล้อม, ข้อจากัดของกฎหมายกฎระเบียบของรัฐ รวมทั้ง NTB และ NGO
5. ประเทศไทยถูกตัด GSP ทาให้ตน้ ทุนในการนาเข้าประเทศคู่คา้ หลักต้องเสี ยภาษีสูงกว่า
ประเทศเพื่อนบ้าน
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
11
การขาดแคลนแรงงานและค่ าแรงประเทศเพือ่ นบ้ านมีอตั ราตา่ กว่ าไทย 2-3 เท่ า
เป็ นตัวเร่ งให้ ผู้ประกอบการต้ องย้ ายฐานการผลิต
อัตราค่ าจ้ างขั้นต่าและค่ าจ้ างโดยเฉลีย่
 ประเทศ สปป.ลาว : ค่าจ้าง (เวียงจันทน์) ประมาณวันละ 100-120 บาท
 ประเทศกัมพูชา : ค่าจ้าง (พนมเปญ) ประมาณวันละ 100 บาท (ปรับใหม่)
 ประเทศพม่ า
: ค่าจ้าง (ย่างกุง้ ) ประมาณวันละ 1,900 – 2,000 จ๊าด หรื อ 70-80 บาท
แรงงานมีฝีมือ วันละ 2,600-3,000 จ๊าด หรื อวันละ 100-125 บาท
 ประเทศอินโดนีเซีย : ค่าจ้าง (จาการ์ตา้ ) ประมาณวันละ 160-180 บาท
 ประเทศเวียดนาม : ค่าจ้าง (โฮจิมินห์) เดือนละ 3.0-4.0 ล้านด่อง (VND) ตกเป็ นเงินไทย
ประมาณวันละ 130-180 บาท หากเป็ นแรงงานมีทกั ษะวันละประมาณ 225250 บาท ทั้งนี้ ค่าจ้างในเวียดนาม การทาสัญญามักต่ากว่าที่จ่ายจริ ง เพราะ
นายจ้างต้องจ่ายค่าประกันสังคมหรื อ Social Insurance ต่างหากอีกร้อยละ 27
ของค่าจ้าง
หมายเหตุ : เป็ นอัตราค่าจ้างแรงงานทัว่ ไป ซึ่ งจ่ายจริ ง ไม่ใช่อตั ราค่าจ้างขั้นต่า
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
12
ประเทศอาเซียนบนแผ่ นดินใหญ่
 ประเทศพม่ า มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยตั้งแต่จงั หวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก
กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร และระนอง รวมระยะทาง 1,800 กิโลเมตร
 ประเทศ สปป.ลาว มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยตั้งแต่สามเหลี่ยมทองคา จังหวัดเชียงราย พะเยา
น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อานาจเจริ ญ และอุบลราชธานี รวม
ระยะทาง 1,754 กิโลเมตร
 ประเทศกัมพูชา มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยตั้งแต่ช่องบก (สามเหลี่ยมมรกต) จังหวัด
อุบลราชธานี ศรี สะเกษ สุ รินทร์ บุรีรัมย์ สระแก้ว จันทบุรี และตราด รวมระยะทาง 803 กิโลเมตร
 ประเทศมาเลเซีย มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยตั้งแต่จงั หวัดสตูล สงขลา ยะลา และนราธิ วาส
รวมระยะทางเขตแดน 506 กิโลเมตร
 ประเทศเวียดนาม มีสะพานข้ามแม่น้ าโขง มีถนนสาย R9 (สะหวันเขต/ด่งฮา/กวางตรี ), R12 (คา
ม่วน/ด่งเห่ย/ฮาติงซ์/หวุงอาง) และ R8 (บอริ คาไซ/วินซ์) ผ่านประเทศลาว เชื่อมกับภาคกลางของ
ประเทศ
 ประเทศจีน(ตอนใต้ ) มีสะพานข้ามแม่น้ าโขง (เชียงของ-บ่อแก้ว) ถนน R3E ระยะ 240 กิโลเมตร
เชื่ยมโยง บ่อแก้ว-หลวงน้ าทา บ่อเต็น-หม่อฮัน—จิ่งหง-คุณหมิง
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
13
OVERNIGHT PASS
ไทยมีถนนสะพานข้ ามชายแดนเชื่อมเมืองสาคัญของภูมภิ าค
ทีม่ า: กระทรวงคมนาคม
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
14
Thailand 2020
ระบบการขนส่ งด้ วยระบบรางทางคู่ทวั่ ประเทศ เชื่อมโยงชายแดนทั้ง 5 ภาค
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
•หนองคาย
•มุกดาหาร
•นครพนม
ภาคเหนือ
• เชียงของ
ภาคตะวันออก
ภาคใต้
• ปาดังเบซาร์
ภาคกลาง
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
15
ประเทศเพือ่ นบ้ านที่สาคัญ
ไทยเป็ นศูนย์ กลางของระเบียงเศรษฐกิจ GMS
1. North-South Economic Corridor (NSEC)
2. East-West Economic Corridor (EWEC)
3. South Economic Corridor (SEC)
16
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ประเทศสาธารณรัฐแห่ งสหภาพพม่ า
ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ หรื อ พม่า เป็ นประเทศ
เพื่อนบ้าน อยูภ่ ายใต้โครงข่ายเศรษฐกิจ “East-West Economic Corridor”
มีเนื้อที่ 676,578 ตร.กม. ประชากรประมาณ 60 ล้านคน
ตัวเลขทางเศรษฐกิจ
GDP : 82.0 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ
มีการเติบโตร้อยละ 5.3
มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 855 เหรี ยญสหรัฐ
การค้ าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555
นาเข้า 110,496 ล้านบาท
ส่ งออก 69,976 ล้านบาท
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
17
ด่ านชายแดนซึ่งมีศักยภาพ ไทย-เมียนมาร์
ด่ านแม่ สอด-เมียวดี-ร่ างกุ้ง (จ.ตาก)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,410.58 ล้านบาท
ส่ งออก 37,966.31 ล้านบาท
ด่ านสิ งขร-มะริด (จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ )
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 27.34 ล้านบาท
ส่ งออก 47.36 ล้านบาท
ด่ านแม่ สาย-ท่ าขีเ้ หล็ก-ตองจี-เนปิ ดอร์ (จ.เชียงราย)
ด่ านพุนา้ ร้ อน-ทิกกี-้ ทวาย-เยห์ (จ.กาญจนบุรี)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 115.81 ล้านบาท
ส่ งออก 9,443.06 ล้านบาท
ท่ าเรือทวาย
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ท่ าเรือระนอง -เกาะสอง (จ.ระนอง)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,801.02 ล้านบาท
ส่ งออก 18,195.41ล้านบาท
18
โครงการก่อสร้ างท่ าเรือทวายในประเทศพม่ า
รัฐบาลไทย-พม่ า ลงทุนร้ อยละ 50:50
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
19
ปัญหาและอุปสรรคการลงทุนไทย-พม่ า
1. กฎหมายการลงทุนของพม่าฉบับใหม่ยงั ไม่เอื้อต่อการลงทุนมากนัก
2. ค่าเช่าที่ดินสูงเกินกว่าความเป็ นจริ ง
3. ระเบียบข้อบังคับมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย
4. ปัญหาความล้าหลังด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบไฟฟ้ าไม่พอเพียง
5. ปัญหาการขาดแคลนแรงงานทักษะและแรงงานวิชาชีพ
6. ระบบธนาคารของพม่ายังมีความล้าหลัง
7. พม่าขาดฐานข้อมูลเชิงลึกในการลงทุน
8. การขาดอุตสาหกรรมและธุรกิจบริ การสนับสนุนการผลิต
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
20
ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรื อ สปป.ลาว
อยู่ภายใต้โครงข่าย “East-West Economic Corridor” มีเนื้ อที่
236,880 ตร.กม. มีประชากร 6,835,345 คน
ตัวเลขทางเศรษฐกิจ
GDP : 8,297.66 ล้านเหรี ยญสหรัฐ
มีการเติบโตร้อยละ 8-10
มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 2,866 เหรี ยญสหรัฐ
การค้ าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555
นาเข้า 22,957.14 ล้านบาท
ส่ งออก 109,059.22 ล้านบาท
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
21
โครงสร้ างพืน้ ฐานเชื่อมโยงไทย – สปป.ลาว –เวียดนาม - จีนตอนใต้
ด่ านนครพนม-คาม่ วน-วิงข์ (เวียดนาม)
รถไฟ ไทย-ลาว หนองคาย-ท่ านาแล้ ง
ด่ านช่ องเม็ก – ปากเซ (สปป.ลาว) – สะหวายเรียง(กัมพูชา)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,628.72ล้านบาท
ด่ านศุลกากรหนองคาย-เวียงจันทน์
ส่ งออก 9,396.45 ล้านบาท
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 1,998.73 ล้านบาท
ส่ งออก 61,349.80 ล้านบาท
ด่ านมุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ด่ งฮา(เวียดนาม) ลังซอน- ผิวเซียง-หนานหนิง(จีน)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 16,670.24 ล้านบาท
เส้นทาง R12 – ท่าเรือวิ งช์ (เวียดนาม)
ส่ งออก 12,006.95 ล้านบาท
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ด่ านเชียงของ – คุณหมิง (R3E)
มูลค่ าการค้ าชายแดน
นาเข้ า 540.08 ล้านบาท
22
ส่ งออก 4,265.94 ล้านบาท
ปัญหาและอุปสรรคด้ านการลงทุนทีส่ าคัญ (สปป.ลาว)
1. กฎหมายและกฎระเบียบของ สปป.ลาว ขาดความเป็ นสากล
2. การจดทะเบียนตั้งบริ ษทั ใน สปป.ลาว ค่อนข้างยุง่ ยาก
3. สปป.ลาวมีแรงงานน้อยและเริ่ มหายาก
4. ปัญหาด้านทักษะของแรงงาน
5. ปั ญหาการให้สมั ปทานและหรื อการเช่าที่ดินของรัฐมีความทับซ้อนกัน
6. ต้นทุนโลจิสติกส์สูง
7. กฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคับไม่เป็ นสากลและมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย
8. สิ นค้าผ่านแดนยังมีปัญหา
9. ปั ญหาการนาเข้าสิ นค้าเกษตรเข้ามายังฝั่งประเทศไทย
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
23
ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา
ประเทศราชอาณาจัก รกัม พูช า เป็ นประเทศอยู่ภ ายใต้โ ครงข่ า ย
เศรษฐกิจ “South Economic Corridor” มีพ้ืนที่ 181,035 ตร.กม
ประชากร 14,805,000 คน
ตัวเลขทางเศรษฐกิจ
GDP : 12,875.31 ล้านเหรี ยญสหรัฐ
มีการเติบโตร้อยละ 6.9
มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 931 เหรี ยญสหรัฐ
24
การค้ าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555
นาเข้า 7,167.55 ล้านบาท
ส่ งออก 74,921.52 ล้านบาท
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
โครงสร้ างพืน้ ฐานเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา
ด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต-ศรี โสภณ (กัมพูชา)
มูลค่าการค้าชายแดน
นาเข้า 3,143.17 ล้านบาท
ส่งออก 44,976.38 ล้านบาท
ด่านหาดเล็ก (ตราด)– เกาะกง (กัมพูชา)
มูลค่าการค้าชายแดน
นาเข้า 482.58 ล้านบาท
ส่งออก 24,454.14 ล้านบาท
ท่าเรื อสี หนุววิ ล์
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
25
ปัญหาอุปสรรคด้ านการลงทุนในประเทศกัมพูชา
1) การแข่ งขันด้ านการจ้ างแรงงานสู ง
2) บทบาทของสหภาพแรงงานมีสูง
3) ต้ องศึกษากฎหมายการลงทุนและกฎหมายให้ ชัดเจนก่อนตัดสิ นใจ
4) ระบบศุลกากร ทั้งที่ท่าเรื อและชายแดนมีความเข้มงวด ค่าธรรมเนียมนอก
ระบบสูง
5) ระบบการค้ ายังไม่ มีความเป็ นสากล
6) ระบบไฟฟ้าและโครงสร้ างพืน้ ฐานยังไม่ พอเพียง
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
26
ประเทศสาธารณรัฐสั งคมนิยมเวียดนาม
ประเทศสาธารณรั ฐสังคมนิ ย มเวียดนาม เป็ นประเทศอยู่ภ ายใต้
โครงข่ายเศรษฐกิจ “South Economic Corridor” มีพ้ืนที่ 331,689 ตร.
กม. ประชากร 87,800,000 คน
ตัวเลขทางเศรษฐกิจ
GDP : 121.7 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ
มีการเติบโตร้อยละ 5.9
มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 1,375 เหรี ยญสหรัฐ
27
การค้ าระหว่ างไทย-เวียดนาม ปี 2555
นาเข้า 93.359.5 ล้านบาท
ส่ งออก 206,675.2 ล้านบาท
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
โครงสร้ างพืน้ ฐานเชื่อมโยงไทย-เวียดนาม
ถนน R 8 บึงกาฬ-บอริ คาไซ-วินซ์
ด่านมุกดาหาร – สะหวัดนะเขต-ลาวบ๋ าว-ดงฮา
เชื่อมโยงไปสู่เวียดนาม
ถนน R 12
ในลาวและเวียดนาม
นครพนม-ดาม่วน-ฮาติงซ์-หวุงอาง
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
28
โครงสร้ างพืน้ ฐานเชื่อมโยงไทย-มาเลเซีย
ด่ านสะเดา จ.สงขลา-ปะริส
การค้าชายแดน
นาเข้ า 165,815.88 ล้านบาท
ส่ งออก 144,236.46 ล้านบาท
ด่ านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา
การค้าชายแดน
นาเข้ า 165,815.88 ล้านบาท
ส่ งออก 42,675.08 ล้านบาท
ท่ าเรือปี นัง ประเทศมาเลเซีย
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ด่ านประกอบ จ.สงขลา
29
นักบริหารร่ ุ นใหม่ มองไกลกว่ า AEC
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
30
คุณสมบัตทิ จี่ าเป็ นของนักบริหารสมัยใหม่ ภายใต้ การเข้ าสู่ AEC (1)
1. VISION : วิสัยทัศน์และความสามารถในการปรับตัวและปรับเปลี่ยนธุ รกิจภายใต้
การเข้าสู่ AEC การเปิ ดเสรี การค้าและบริ การ
2. FREE TRADE & BORDERLEES : ต้องเข้าใจสถานะการณ์ของโลกธุ รกิจภายใต้
การไร้พรมแดนการค้าและธุรกิจ
3. CHANGE : มีความสามารถในการบริ หารความเปลี่ยนแปลง ภายใต้สถานะการณ์
และบริ บททางธุรกิจ ซึ่ งมีการเปลี่ยนแปลงผันผวนและคาดการณ์ไม่ได้
4. STRATEGIC MAN : ต้องมีกลยุทธ์ในการเข้าถึงโอกาสของการเป็ นตลาดเดียว
ของอาเซี ยน ปรับความท้าทายไปสู่ โอกาสใหม่ของธุรกิจ
5. FLEXIBILITY & DIFFERTIATE : มีความยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ ต้อง
บริ ห ารงานภายใต้ค วามแตกต่ าง และเข้า ใจต่ อ คน กฎหมายระเบี ย บปฏิ บ ัติ แ ละ
วัฒนธรรมประเพณี ซึ่ งต่างไปจากที่คุน้ เคย
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
31
คุณสมบัตทิ จี่ าเป็ นของนักบริหารสมัยใหม่ ภายใต้ การเข้ าสู่ AEC (2)
6. INNOVATION & TECHNOLOGY : แก้ปัญหาและพัฒนาองค์กรด้วยเครื่ องมือ
สมัยใหม่ท้ งั ด้านนวตกรรม เทคโนโลยีสาร
7. CHALLENT : ต้องเป็ นผูม้ ีความสามารถท้าทายต่อการที่จะเข้าไปในตลาดหรื อเข้า
ไปลงทุ นในประเทศเพื่ อ นบ้าน ต้อ งมี ค วามกล้าที่ เริ่ ม ต้นและพร้ อ มจะรั บ มื อ กับ
ปัญหา-อุปสรรคต่างๆ
8. ETHIC : ต้องมีหลักจริ ยธรรมและคุณธรรมรักษากฎหมายของประเทศที่เข้าไปทา
การค้าและลงทุน ดาเนิ นธุ รกิจด้วยการไม่เอารัดเอาเปรี ยบ รักษาคุณคุณภาพสิ นค้า
รักษาข้อตกลงทางการค้าและรับผิดชอบรวมท้งมีความซื่ อตรงรักษาคาพูด ทั้งต่อคู่คา้
และหุ น้ ส่ วน
9. RISK & UNPREDICT MANAGEMENT : การบริ หารความเสี่ ยงภายใต้
สถานะการณ์ความไม่แน่ นอนทั้งด้านการเมืองเศรษฐกิจกฎหมายรวมทั้งด้านความ
ไม่พร้อมของคนและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งภัยธรรมชาติซ่ ึ งคาดไม่ถึง
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
32
นักบริหารรุ่นใหม่ กบั การเคลือ่ นย้ ายแรงงานเสรีของอาเซียน (1)
 คุณสมบัติของแรงงานอาเซี ยน ต้ องเป็ นแรงงานอาชี พ จึ งจะสามารถโยกย้ายการ
ทางานเสรี ในอาเซี ยน 7 สาขา (วิศวกรรม, พยาบาล, สถาบัตยกรรม, สารวจ,
แพทย์,ทันตแพทย์, นักบัญชี) และอนาคตจะเพิ่มอีก 1 สาขาคือนักวิชาชีพท่องเที่ยว (ไทยยัง
ไม่ลงนาม)
 ปัจจุบันประเทศไทยมีแรงงานฝี มือจากอาเซี ยนเข้ ามาทางานภายใต้ BOI อยูใ่ น
ประเทศไทยจานวนประมาณ 14,300 คน ประกอบด้วยแรงงานฟิ ลิปปิ นส์ร้อยละ
55.5 , มาเลเซี ยร้อยละ 15.4, สิ งคโปร์ร้อยละ 10.5 ที่เหลือเป็ นพม่าและชาติอื่นๆ
 ความท้ ายทายของไทยคือการรั กษาแรงงานอาชี พที่มีอยู่แล้ วและที่จะจบการศึกษา
ในอนาคตให้ อยู่ในประเทศ ท่ามกลางการแข่งขันช่วงชิงตัว ซึ่ งจะส่ งผลให้ค่าจ้างคน
กลุ่มนี้สูงขึ้น เป็ นต้นทุนการบริ หารและเป็ นต้นทุนของประเทศ
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
33
นักบริหารรุ่นใหม่ กบั การเคลือ่ นย้ ายแรงงานเสรีของอาเซียน (2)
 การเคลื่อนย้ายแรงงาน (ทักษะ) ของอาเซี ยนเป็ นทั้งโอกาสและความท้าทาย ซึ่ งไทย
อาจจะได้ประโยชน์จากแรงงานมีผมี ือซึ่ งไทยจากเศรษฐกิจ
แรงงานอาเซียน
อินโดนีเซี ย
120
ล้านคน
เวียดนาม
52.6 ล้านคน
ฟิ ลิปปิ นส์
40
ล้านคน
ไทย
36
ล้านคน
มาเลเซี ย
12
ล้านคน
กัมพูชา
7.7
ล้านคน
สปป. ลาว
2.5 – 3 ล้านคน
สิ งคโปร์
2.9
ล้านคน
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
34
การเปลีย่ นแปลงหลังเข้ าสู่ AEC
1.
2.
3.
4.
5.
โครงสร้ างเศรษฐกิจจะมีการขยายตัว ทั้งด้านการค้าการบริ การ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว,
สถานศึกษานานาชาติ, โรงพยาบาล ฯลฯ
การเปลี่ยนแปลงภายใต้ ฐานการผลิตร่ วมกัน การเคลื่อนย้ายการลงทุนของไทยไปประเทศ
CLMV จะขยายตัว ขณะที่ผปู้ ระกอบการที่มีศกั ยภาพจะขยายการลงทุนไปอินโดนี เซีย ซึ่งจะ
เป็ นตลาดขนาดใหญ่ของอาเซียน
อุตสาหกรรมที่แข่ งขันไม่ ได้ จะหายไป อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้นรวมทั้งอุตสาหกรรม
ที่รับจ้างผลิต (OEM) จะมีโอกาสสูงที่จะไม่สามารถแข่งขันได้และอาจไม่สามารถอยูใ่ น
ประเทศ (หากย้ายฐานการผลิตไม่ได้อาจต้องยุติกิจการแบบถาวร)
ภาคบริการและภาคเกษตรบางประเภทได้ รับผลกระทบ เช่นภาคบริ การโลจิสติกส์, ธุรกิจ
โทรคมนาคม, ค้าปลีกรายย่อย ขณะที่สินค้าเกษตรเกือบทุกชนิดจะได้รับผลกระทบ เช่น
ข้าวโพด ปาล์ม กาแฟ
การปรับเปลี่ยนกฎหมาย กฎระเบียบ ข้ อบังคับของไทยให้ เป็ นสากล ประเทศไทยจะต้องมี
การปรับปรุ งกฎหมายข้อบังคับทั้งที่เกี่ยวกับการค้า-การลงทุน-โลจิสติกส์-การเงิน ให้
สอดคล้องกับการเป็ นศูนย์กลางของภูมิภาค
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
35
ทาการค้ ากับนักธุรกิจอาเซียน...ต้ องเข้ าใจอะไรบ้ าง??(1)
1. ก่ อนทาการค้ าและลงทุนต้ องเข้ าใจ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ประวัติศาสตร์
และอุปนิสยั โดยเฉพาะไม่จาเป็ นไม่ควรพูดหรื อวิจารณ์การเมือง
2. มาเลเซียและสิ งคโปร์ การค้ าเป็ นลักษณะสากล เน้นผลประโยชน์นา ขณะที่
สิ งคโปร์ตอ้ งการหา Partner หรื อซื้อกิจการไทย
3. นักธุรกิจ สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ ขาดความเป็ นสากล มีความระแวง
ตัดสิ นใจช้า การเจรจาต้องใช้เวลาอย่าเร่ งรัดคาตอบ เน้นความสัมพันธ์ก่อน
ธุรกิจ และต้องรู ้จกั หุน้ ส่ วนให้ดี
4. ประเทศเพือ่ นบ้ านไทยให้ ความสาคัญด้ านศักดิ์ศรีเป็ นเรื่องสาคัญ และความเท่า
เทียมการประชุมทางการเน้นรู ปแบบความสาเร็ จอยูท่ ี่นอกห้องประชุม
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
36
ทาการค้ ากับนักธุรกิจอาเซียน...ต้ องเข้ าใจอะไรบ้ าง??(2)
5. กฎหมายการลงทุน-ข้ อตกลงต่ างๆ ภายใต้ -AEC ส่ วนใหญ่ ทเี่ ขียนกับที่ปฏิบตั ิ
มักต่ างกันและเปลี่ยนแปลงได้บ่อย รัฐบาลและเจ้าหน้าที่รัฐ ให้ความสาคัญกับ
ประชาชนและผลประโยชน์ของประเทศมากกว่านักลงทุน
6. ระบบเศรษฐกิจและระบบยุตธิ รรมต่ างกับประเทศไทย
7. กฎหมายท้ องถิ่นและภาษีมีความต่ างกับไทยทั้งรัฐ มณฑล แขวง จังหวัด
(เวียดนาม) มีอานาจและมีกฎหมายรวมทั้งภาษีทอ้ งถิ่น
8. ระบบการเมืองทีแ่ ตกต่ างกับไทย ลาว-เวียดนาม-กัมพูชา ยังเป็ นสังคมนิยม
ขณะที่ เมียนมาร์ พึ่งเปลี่ยนจากรัฐทหารเป็ นประชาธิไตย เมื่อปี 2553
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
37
ทัศนคติประเทศเพือ่ นบ้ านที่มีต่อประเทศไทย
1.
2.
3.
4.
5.
กลุ่มมองไทยเป็ นคู่แข่ ง : สิ งคโปร์ มาเลเซีย
กลุ่มมองไทยเป็ นโอกาส : จีน (แต่ทาธุรกิจแบบกินรวบ)
กลุ่มทีก่ าลังตามหลังไทย (ติดๆ) : อินโดนีเซี ย-เวียดนาม
กลุ่มมองไทยเป็ นนักลงทุน : เมียนมาร์
กลุ่มเลือกนักลงทุน : สปป.ลาว กัมพูชา
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
38
การลงทุนในประเทศ AEC
ต้ องมีการบริหารความเสี่ ยง
1. เลือกลงทุนประเทศเพือ่ นบ้ านซึ่งมีชายแดนติดกับไทย อาจเลือกพื้นที่ซ่ ึงมี
ศักยภาพทั้งด้านตลาดต้นทุนการผลิตและด้านโลจิสติกส์
2. ศึกษากฎหมายลงทุน-กฎหมายอืน่ ๆ ให้เข้าใจและหาที่ปรึ กษาที่รู้จดั พื้นที่ดี
3. หุ้นส่ วนทีด่ ีเป็ นกุญแจแห่ งความสาเร็จ เลือกPartner ซึ่งมีศกั ยภาพรู ้จกั กลไก
ราชการ-การเมือง, เข้าใจการค้า มีการเงินที่ดีและมีความซื่อสัตย์
4. สายป่ านต้ องยาว ผลกาไรอาจใช้เวลามากกว่าที่คิด
5. เผือ่ ค่ าใช้ จ่ายให้ สูงกว่ าทีค่ านวณไว้ ทั้งด้านการซื้อที่ดิน-ก่อสร้าง ต้นทุน
ค่าแรงค่าภาษีท้ งั ในระบบและนอกระบบโดยเฉพาะการทางานที่มีข้ นั ตอน
มากกว่าไทย
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
39
ศักยภาพของ SMEs ไทยบนบริบทของ AEC
1. การบริหารจัดการไม่ เป็ นสากล ขาดบุคลากรที่มีความสามรถ ส่ วนใหญ่เป็ นธุรกิจขนาดเล็ก การบริ หาร
แบบครอบครัว ทาให้มีขอ้ จากัดในการเข้าถึงประโยชน์ AEC
2. ต้ นทุนการผลิตของไทยสู งกว่ า ประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
3. การขาดแคลนแรงงานอย่ างรุนแรง ทั้งระดับแรงงานไร้ฝีมือและแรงงานทักษะ และแรงงานขาดความ
กระตือรื อร้นที่จะพัฒนาตนเองไปสู่ AEC
4. สภาวะแลดล้ อมของอุตสาหกรรมไทยไม่ เอือ้ ต่ อการผลิต เช่น ด้านผังเมือง ชุมชน รวมทั้งด้าน
สิ่ งแวดล้อม และกฎระเบียบของหน่วยงานรัฐ ซึ่ งไม่อานาวยต่อการดาเนินธุรกิจ
5. มีข้อจากัดในการเข้ าเป็ นโซ่ อุปทานกับคู่ค้า การพัฒนาขาดความเชื่อมโยงกันระหว่างภาคการผลิตต้นกลาง-ปลายน้ า และขาดเครื อข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ
6. ขาดการพัฒนาและภาครัฐไม่ เข้ าใจ การพัฒนา-สนับสนุนของรัฐไม่ชดั เจนเกี่ยวกับการลงทุนใน
ต่างประเทศ และการรับมือภายใต้การแข่งขันของ AEC
7. ขาดการบูรณาการแบบ Value Chain รวมทั้งการสนับสนุนที่เป็ นรู ปธรรมจากองค์กรกลางของ
ภาคเอกชน
www.tanitsorat.com
40
การเข้ าสู่ AEC ต้ องการเปลีย่ นจากความท้ าทายเป็ นโอกาส
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
Infrastructure : การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานด้วยการเป็ นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาค
Single Market : การใช้ประโยชน์จากเศรษฐกิจแบบตลาดเดียวกันภาษี “0” และการลด
ขั้นตอนการอานวยความสะดวกทางการค้า โดยการขยายตลาดทั้งด้านการนาเข้าและส่ งออก
One Production Base : การใช้ประโยชน์ดา้ นการย้ายฐานการผลิตไปในประเทศเป้ าหมายซึ่ ง
มีตน้ ทุนการผลิตและทรัพยากรต่ากว่าไทยรวมทั้งรักษาตลาดส่ งออก
Cross Border Co-Production : การใช้ประโยชน์จากอุตสาหกรรมชายแดนด้วยการผลิตแบบ
ร่ วมกันโดยอาศัยแรงงานราคาถูกและส่ งกลับเข้าสู่ ตลาดไทยหรื อส่ งข้ามแดนไปสู่ ประเทศที่ 3
(Transshipment)
Single VISA : การใช้ประโยชน์จากนักท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวร่ วมกัน
Cross Border Trade : การเพิ่มปริ มาณและมูลค่าจากการค้าชายแดน
Medical & Education Hub : การเป็ นศูนย์การแพทย์และการศึกษาของภูมิภาค
41
การเตรียมพร้ อมของนักบริหารรุ่ นใหม่ ภายใต้ AEC
CLEAR VISSION
SWOT ANALYSIS
BUSINESS DIRECTION
STRATEGY PLAN
Business & Network Development
INTERNATIONAL COMPETTITIVENESS
: วิสัยทัศน์ เห็นโอกาสและความท้าทายภายใต้ AEC
: วิเคราะห์ศกั ยภาพของธุรกิจ(จุดแข็งและจุดอ่อน)
: กาหนดทิศทางธุรกิจให้ชดั เจนว่าจะไปทางไหน
: มีแผนกลยุทธ์ในระยะกลางและระยะยาว
: การพัฒนาธุรกิจและเครื อข่าย
: สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ
www.tanitsorat.com
42
นักบริหารรุ่นใหม่ ก้าวไกลสู่ อาเซียน
วิสัยทัศน์ มองเห็นโอกาสและการเปลีย่ นแปลง
 เน้ นจัดแข็ง ขจัดจุดอ่อน ปิ ดความเสี ยง
 ทิศทางธุรกิจชัดเจน มุ่งมั่นอนาคตสู่ จุดหมาย
 เชื่อมั่นในตนเองและรับฟังความคิดเห็นผู้อนื่
 ใช้ ภูมิปัญญาใฝ่ ความรู้คู่คุณธรรม
ที่มา : ธนิต โสรัตน์
 ผิดวันนี-้ ถูกวันหน้ า ไม่ ทาย่ อมไม่ รู้
43
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
AEC เหรียญสองด้ าน
เป็ นทั้งโอกาสและความท้ าท้ าย ขึ้นอยูก่ บั ว่าการปรับตัวหรื อรอโชคชะตา
เศรษฐกิจ (ใหม่ ) และชุ มชนไร้ พรมแดนของ AEC จะก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ
แน่ ใจแล้วหรือว่ าได้ มีการเตรียมพร้ อมสู่ AEC ??
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
44
END
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
45
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com