ทิศทางเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง พ.ศ.๒๕๕๖ - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript ทิศทางเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง พ.ศ.๒๕๕๖ - Tanit Sorat V

“เศรษฐกิจไทยภายใต้ พลวัตรเศรษฐกิจโลกและการ
เชื่อมโยงภาคประชาสั งคม”
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
รองประธานคณะทางานเศรษฐกิจ มหภาค การเงิน การคลัง
สภาที่ปรึ กษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1
www.tanitsorat.com
มูลค่าเศรษฐกิจไทยและการขยายตัว
5 ปี เฉลี่ยเติบโตร้อยละ 3.86
ปี พ.ศ.
2551
2552
2553
2554
2555
มูลค่ าGDP
(ล้านบาท)
9,102,785
9,041,551
10,102,986
10,540,134
11,362,871
การขายตัว
(%)
-0.1
8.3
4.6
0.1
6.4
2556*(คาคการณ์)
11,817,385
4 – 4.5
2
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
GDP รายภาค แสดงถึงการไม่ เท่ าเทียมกันของเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจทีใ่ หญ่ ไม่ ได้ สะท้ อนความร่ารวยของประเทศ
อันดับ
ภาค
GRP and GDP
(ล้านบาท)
สัดส่ วน
(%)
อับดับ
รายได้ เฉลีย่ นต่ อ
(รายได้ เฉลีย่ ต่ อ
คน/ปี (บาท)
คน/ปี )
1
กทม.และปริมณทล
4,885,915
43.94%
422,141
2
2
ตะวันออก
2,016,694
18.13%
436,479
1
3
ใต้
1,187,420
10.68%
125,270
4
4
ตะวันออกเฉียงเหนือ
1,114,945
10.03%
48,549
7
5
เหนือ
889,914
8.00%
72,925
6
6
ภาคกลาง
622,966
5.60%
204,166
3
7
ตะวันตก
402,664
3.62%
108,727
5
รวม
11,120,518
ที่มา : วิเคราะห์จาก ข้อมูล สศช. ปี 2554
3
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
สั ดส่ วนเชิงมูลค่ าต่ อ GDP ของแต่ ละภาคส่ วนเศรษฐกิจ
ประเทศไทยพึง่ พิงการค้ าระหว่ างประเทศสู งถึงร้ อยละ 128 ของ GDP
ข้ อมูล : สศช.ปี 2555 GDP มูลค่า 11,362,871 ล้านบาท
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
4
เศรษฐกิจโลกเป็ นปัจจัยกาหนดเศรษฐกิจไทย (1)
ต้องรู ้วา่ เกิดอะไรขึ้นกับเศรษฐกิจโลกเพื่อสามารถรับมือกับเศรษฐกิจไทย
 สหรัฐอเมริกามีสัญญาณการฟื้ นตัว : เป็ นผูบ้ ริ โภค 1 ใน 4 ของโลก เศรษฐกิจติดหล่ม
มาตั้งแต่ปี 2551 (การล่มสลายของเลห์แมน บราเธอร์ ) เริ่ มเห็นสัญญาณการฟื้ นตัว แต่
อัตราการว่างงานยังสู งถึง 7.5% ความเสี่ ยงจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจและการยกเลิก
QE-3 ในกลางปี 2557 ส่ งผลต่อความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
 สหภาพยุโรปชะลอตัวและถอถอย : ยังไม่เห็นสัญญาณการฟื้ นตัว การว่างงานสู ง
 โปรตุเกส เข้าสู่ IMF แต่เศรษฐกิจยังถดถอย การว่างงาน 17.6%
 กรี ซ /สเปน/อิต าลี เผชิ ญปั ญหาคล้า ยโปรตุ เ กส และเผชิ ญปั ญหารั ดเข็ดขัดส่ ง ผลกระทบทาง
การเมือง
 ฝรั่งเศส การขยายตัวทางเศรษฐกิจไม่ถึง 1% รัฐบาลตัดงบประมาณ 14,000
ล้านดอลลาร์ แต่เศรษฐกิจยังชะลอตัว
 เยอรมัน ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในยุโรป จะมีการเลือกตั้ง
ในเดือนกันยายนถึงตุลาคม อาจส่ งผลต่อการเปลี่ยนนโยบายช่วยเหลือ EU
5
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
เศรษฐกิจมีสัญญาณการชะลอตัว
 ญี่ปุ่น : “อาเบะโนมิกส์” การกระตุน้ เศรษฐกิจแต่เม็ดเงินจริ งลงไม่มากส่ งผลให้ค่าเงิน
แข็งเฉลี่ย 7% ไตรมาสแรกเศรษฐกิจโต 4.1% ใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยต่า 0.025%
 จีน : ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ใช้นโยบายเน้นการปฏิรูปเศรษฐกิจแบบไม่อดั ฉี ดเม็ดเงิน
เหมือนสมัยประธานาธิ บดี หู จินเ ทา การลดความร้อนแรงทางเศรษฐกิจทาให้
เศรษฐกิจเริ่ มชะลอตัว ดัชนีการผลิตลดลง อัตราดอกเบี้ยสู ง 13%
 อาเซียน : ทุกประเทศกาลังเผชิญกับการผันผวนของค่าเงิน และการส่ งออกชะลอตัวลง
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
6
เครื่องมือชีวดั เศรษฐกิจ (1)
เศรษฐกิจคู่ค้าชะลอตัวส่ งผลกระทบภาคส่ งออกของไทย
เดือน พ.ค. 56 ติดลบ 5.25%
ประเทศ
สหรัฐฯ
สหภาพยุโรป (15)
ญี่ปุ่น
จีน
ฮ่องกง
อาเซียน(9)
รวม
% สั ดส่ วนส่ งออก
ปี 2556
9.93
9.68
10.33
11.7
5.5
24.71
71.75
อัตราการขยายตัว(ปี 56)
พ.ค.
ม.ค.-พ.ค.
- 6.9
1.4
-12.1
2.2
-7.6
- 0.3
-16.3
-0.9
1.1
9.6
-1.2
3.7
สัดส่ วนอาเซียนรายประเทศ: มาเลาเซีย 5.6%,อินโดนีเซีย 5.4% , สิ งคโปร์ 4.7%, เวียดนาม 2.9
ที่มา : กระทรวงพาณิ ชย์
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
7
ตัวเลขส่ งออกเดือนพฤษภาคม 2556 หดตัวรุนแรง
ต่าสุ ดติดลบ -5.2 ชะลอตัวจากภาคอุตสาหกรรม -0.9 % ภาคเกษตร -16.4%
อัตราการ อัตราการ
ขยายตัว ขยายตัวสะสม
(%)
%
- 2.3
+2.9
อัญมณี -เครื่ องประดับ
ประเภท
อุตสาหกรรม
(ไม่รวมทองคา)
ประเภท
อัตราการ อัตราการ
อุตสาหกรรมเกษตร ขยายตัว ขยายตัวสะสม
และเกษตรแปรรู ป
(%)
%
- 26.0
-3.8
ข้าว
อีเล็กโทรนิค
- 14.5
- 3.1
ยางพารา
- 22.0
-11.0
เครื่ องใช้ไฟฟ้ า
- 4.9
+4.8
มันสาปะหลัง
- 1.0
+13.9
กระดาษ สิ่ งพิมพ์
- 4.8
+2.0
กุง้ แช่แข็ง-แปรรู ป
- 38.6
-24.2
อาหารสัตว์
- 4.9
+7.6
อาหารทะเลแปรรู ป
- 5.2
+3.2
เครื่ องนุ่งห่ม
- 9.12
-
น้ าตาลทราย
ไก่แช่แข็ง-แปรรู ป
- 31.0
-33.2
- 10.5
+0.3
ผักผลไม้
- 10.0
+1.5
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
8
ภาคส่ งออกไทยอยู่ใน GDP 62% มีแรงงานทั้งทางตรงและทางอ้ อม
ประมาณ 17 ล้ านคน
ภาคการส่ งออกของไทยในปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่า 229,518.8 ล้านดอลลาร์
สหรัฐ มีตวั เลขอยูใ่ นจีดีพีร้อยละ 61 – 62
5 เดือนแรก ปี พ.ศ. 2556 (มกราคม – พฤษภาคม) สามารถส่ งออกได้มูลค่า
94,206.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวได้ร้อยละ 1.86 แต่หากคานวณมูลค่าใน
เชิงบาท การส่ งออกจะหดตัวร้อยละ 2.72
 คาดว่าปี 2556 การส่ งออกอาจขยายตัวมูลค้า 233,016 ล้านเหรี ยญสหรัฐ
ขยายตัวได้ร้อยละ 3.0 – 4.0
9
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
การบริโภคเอกชน (Private Consumption)
เครื่ องมือชี้วดั ทางเศรษฐกิจ (2)
การบริโภคเอกชน (Private Consumption) สั ญญาณชะลอตัว
แสดงให้ เห็นถึงความสามารถในการซื้อสิ นค้ าที่ลดลงของประชาชน
 ครึ่ งปี แรก การบริ โภคภาคประชาชน อาจขยายตัวได้ร้อยละ 4.2 – 4.5 เทียบกับปี
2555 ทั้งปี ขยายตัวได้ร้อยละ 6.7
 ตัวเลขภาคการค้าปลีก ขยายตัวลดลงร้อยละ 2.0 โดยเฉพาะสิ นค้าฟุ่ มเฟื อย
 ดัชนีผบู ้ ริ โภคในเดือนมิถุนายน ของศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจ ม.หอการค้า ที่ลดลง
ต่าสุ ดในรอบ 6 เดือน
 ตัวเลขเงินเฟ้ อทัว่ ไปในเดือนมิถุนายน ซึ่ งขยายตัวได้ในระดับที่ค่อนข้างไม่ดีนกั ที่
ร้อยละ 2.25 เป็ นระดับต่าสุ ดในรอบ 43 เดือน
10
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
การลงทุนภาคเอกชนครึ่งปี แรกชะลอตัวครึ่งปี หลังมีแนวโน้ มเป็ นบวก
เครื่ องมือชี้วดั ทางเศรษฐกิจ (3)
 ตัวเลขการลงทุนของภาคเอกชนในไตรมาสแรก ขยายตัวได้ร้อยละ 3.1 เทียบกับการขยายตัวในไตร
มาสที่ 4 ของปี 2555 ขยายตัวได้ถึงร้อยละ 20.9
 การลงทุนภาคเอกชนในเดือนพฤษภาคม กลับถดถอยลงร้อยละ 1.8 ส่ งผลให้การลงทุนในช่วง 5
เดือนที่ผา่ นมา ขยายตัวได้ร้อยละ 2.7
 สัญญาณการชะลอตัวการลงทุนภาคเอกชนครึ่ งปี แรก สะท้อนจากตัวเลขนาเข้าเครื่ องจักร เดื อน พ.ค.
ติดลบร้อยละ 15.9 ขณะที่การลงทุนสะสม 5 เดือนยังเป็ นบวกที่ร้อยละ 7.5 สาหรับการนาเข้าวัตถุดิบ
เดือนพฤษภาคมติดลบร้อยละ 7.1 ขณะที่ตวั เลขสะสม 5 เดือนแรกยังเป็ นบวกที่ร้อยละ 7.8
 สัญญาณการชะลอสิ นเชื่อสถาบันการเงินในช่วงครึ่ งปี หลังโดยเฉพาะโครงการเกี่ยวกับ
อสังหาริ มทรัพย์
 ตัวเลขของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ครึ่ งปี แรก ของปี 2556 ออกใบประกอบกิจการโรงงาน
ใหม่ จานวน 2,156 แห่ง เทียบกับช่ วงเดียวกันในปี ทีแ่ ล้ ว เพิม่ ขึน้ 15.6 % มูลค่าการลงทุน 178,854
ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1.89 เท่าเป็ นสัญญาณที่ดี ว่าการลงทุนในครึ่ งปี หลังจะมีแนวโน้มในทางบวก
11
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
เครื่องมือทางเศรษฐกิจบ่ งชี้ว่าเศรษฐกิจไทยปี 2556 มีแนวโน้ มขยายตัวติดลบ









ภาคส่ งออก(ม.ค.-พ.ค.)ขยายตัวชะลอตัวลงเหลือ
ภาคการนาเข้า (ม.ค.-พ.ค.)ขยายตัวชะลอตัวเหลือ
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม เดือนพฤษภาคม
ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม
อัตราการใช้กาลังการผลิต เดือนพฤษภาคม
การนาเข้าเครื่ องจักรเดือนพฤษภาคม
การนาเข้าวัตถุดิบเดือนพฤษภาคม
ค้าชายแดนเดือนพฤษภาคม
เงินสารองระหว่างประเทศ 28 มิ.ย.56 ลดลง
1.83 % (เดือน พ.ค. ติดลบร้อยละ -5.25)
5.70 %
-3.38 %
- 4.4 %
60.28 % (ลดลงจากปี 55 ร้อยละ 8.33)
-15.9 %
-7.1 %
-2.8% (ม.ค.-พ.ค. + 1.6%)
10,759 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(คงเหลือ 170,841.08 ล้านดอลลาร์)
 GDP ปี 2555
ปี 2556
ขยายตัว
สศช. ขยายตัว
สศค. ขยายตัว
ศูนย์วจิ ยั ฯกสิ กรไทย
6.5%
4.2 – 4.5%
4.5%
4.0%
12
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ความเสี่ ยงเศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลังจะเผชิญกับกระแสเงินทุนเคลือ่ นย้ าย
ส่ งผลต่ อความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น
 ธนาคารกลางสหรัฐมีการออกแถลงการณ์ที่จะชะลอการอัดฉี ดเม็ดเงินในปลายปี นี้ จากเดือนละ 85,000
ล้านดอลลาร์ อาจเหลือเดือนละ 36,000 ล้านดอลลาร์ และอาจยุติมาตรการ QE-3 อย่างสิ้ นเชิงในกลางปี
2557 ส่ งผลต่อกระแสเงินไหลออกไปในแหล่งที่ปลอดภัยและสามารถเปลี่ยนเป็ นสภาพคล่องได้ง่าย
 มีการโยกเงินออกจากตลาดทุนเพื่อปรับพอร์ตการลงทุนส่ งผลให้ดชั นีตลาดหุ น้ ของเอเชียและไทยรวมทั้ง
ราคาทองคาซึ่งมีการรี บาวน์ต่าสุ ดขณะที่การเทขายตราสารหนี้ทาให้พนั ธบัตรไทยถือครองโดยนักลงทุน
ต่างชาติ (ณ 14 มิ.ย.) เหลือ 791,000 ล้านบาท จากเดือนพฤษภาคมที่ 850,000 ล้านบาทลดลง 7.4%
 อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2556 อยูท่ ี่ระดับ 31.423 บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ กลายเป็ นเงินบาท
อ่อนค่าร้ อยละ 2.49 เมื่อเทียบกับอัตราแลกเปลี่ยนเมื่อปลายปี 2555 และในช่วงต้นเดื อนกรกฎาคม
( 5 ก.ค.) อัตราแลกเปลี่ยนวันต่อวันมีการทั้งอ่อนค่าและแข็งค่า ในช่วงร้อยละ 0.7 - 0.95
 เศรษฐกิจไทยพึ่งพิงทั้งการนาเข้าและส่ งออกอยูใ่ นระดับที่สูงถึงร้อยละ 128 ของ GDP เงินบาทที่มีการ
ผันผวนแข็งค่า ก็จะกระทบการส่ งออก ขณะเดียวกัน เงินบาทที่อ่อนค่าก็จะกระทบกับราคาวัตถุดิบนาเข้า
สิ นค้าทุน รวมทั้งเชื้อเพลิง ซึ่งจะกระทบกับประชาชนโดยภาพรวม
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
13
กราฟแสดงความผันผวนอัตราแลกเปลีย่ น(ถัวเฉลีย่ )
มกราคม – 8 กรกฎาคม 2556
อัตราแลกเปลี่ยน
บาท/ดอลลาร์สหรัฐ(เฉลี่ย/เดือน)
32.00
31.50
31.423
*(31.137)
30.77
31.00
30.50
30.60
30.00
29.75
29.83
29.77
29.50
29.50
28.71
29.00
*(28.40)
28.50
28.00
ธ.ค.๕๕
ม.ค.๕๖
ก.พ.๕๖
มี.ค.๕๖
เม.ย.๕๖
(อ่อนค่า 7.2%)
พ.ค.๕๖
หมายเหตุ : * เป็ นอัตราเงินบาทแข็งค่า/อ่อนค่า สูงสุด/ต่าสุด
มิ.ย. ๕๖
*8 ก.ค. 56
(แข็งค่า 2.68%)
14
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
เศรษฐกิจไทยครึ่งปี หลังเผชิญการขาดเม็คเงินจริงรัฐบาล
ในการช่ วยกระตุ้นเศรษฐกิจ
 เครื่ องมือทางเศรษฐกิจจากภาคนาเข้า-ส่ งออก และการบริ โภคภายในไม่สามารถที่จะ
เป็ นหัวจักร จาเป็ นที่รัฐบาลจะต้องมีมาตรการและเม็ดเงินในการกระตุน้ เศรษฐกิจอย่าง
เป็ นระบบ
 หลายโครงการของรัฐบาลดูเหมือนกับจะติดหล่ ม เช่น การแก้ปัญหาข้าว โครงการ
บริ หารจัดการน้ า 3.5 แสนล้านของรัฐบาล ซึ่ งถูกศาลปกครองให้ไปทาประชาพิจารณ์
ทาให้โครงการอาจต้องล่าช้าออกไป 1-2 ปี และเม็ดเงิน 6.7 หมื่นล้าน ซึ่ งเดิมคาดว่าจะ
สามารถเบิกจ่ายได้ในช่วงไตรมาสที่ 4 ก็ไม่สามารถดาเนินการได้
 พ.ร.บ.กู้เงิน 2 ล้านล้านบาท ยังต้ องผ่ านสภาและอาจจะต้องไปดาเนินการในการทา
ประชาพิจารณ์ และดาเนินการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบทั้งด้านสิ่ งแวดล้อมและ
สุ ขอนามัย เม็ดเงินคงไม่เห็นในปี นี้
15
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
เศรษฐกิจทีช่ ะลอตัวลงส่ งผลต่ อหนีค้ รัวเรือนทีส่ ู งขึน้
เครื่ องมือชี้วดั ทางเศรษฐกิจ (6)
1. ตัวเลขหนี้ สินครั วเรื อน ซึ่ งมีอตั ราการขยายตัวต่อเนื่ องมาถึง 3 ไตรมาส
โดยในช่ ว งครึ่ งปี แรก หนี้ สิ น ภาคครั ว เรื อน เพิ่ ม ขึ้ นร้ อ ยละ 12-15
มีมูลค่า รวม 8.97 ล้านล้านคิดเป็ น 77.4 % ของ GDP
2. สิ นเชื่อส่ วนบุคคลผ่านสถาบันการเงิน ขยายตัวสูงสุ ดถึงร้อยละ 25.8 ส่ วน
ใหญ่เป็ นหนี้สินที่เกิดจากโครงการรถยนต์คนั แรก
3. ราคาสิ นค้าเกษตรตกต่าโดยเฉพาะสิ นค้าเกษตรส่ งออกหดตัว 5 เดือน –
5.9% ทาให้รายได้เกษตรกรติดลบร้อยละ 10
16
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
การเติบโตทางเศรษฐกิจต้ องเชื่อมโยงกับภาคประชาสั งคม
1. การยกระดับราคาสิ นค้าเกษตร จะต้องพัฒนาไปสู่การแปรรู ปสิ นค้า
เกษตรอุตสาหกรรมให้เป็ นรู ปธรรม
2. การบิดเบือนราคาสิ นค้าเกษตรภายใต้การค้าเสรี จะมีวิธีการจัดการ
อย่างไร
3. การทบทวนนโยบายด้านการส่ งเสริ มเกษตรกรรม จะต้องสอดคล้อง
กับขีดความสามารถในการแข่งขัน การขาดแคลนแรงงาน การขาด
แคลนทรัพยากร ต้นทุนที่สูงขึ้น และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
เพื่อนบ้าน
17
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
การบูรณาการเชื่อมโยงภาคประชาสั งคม เศรษฐกิจ
กับนโยบายการเมืองบนพลวัตรของโลก
1. การเติ บ โตของเศรษฐกิจ ต้ อ งสนองตอบต่ อ การเข้ า ถึ ง ของกลุ่ ม ด้ อ ยโอกาส การ
แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ าและการกระจายรายได้ท้ งั ของ SMEs ชุมชนท้องถิ่น และ
กลุ่มเกษตรกรล้าหลัง
2. การทบทวนขีดความสามารถในการแข่ งขันของชาติ ทั้งด้านพลังงาน สุ ขอนามัย
สิ่ งแวดล้อม การขาดแคลนแรงงาน การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ปั ญหาราคา
สิ นค้าเกษตร
3. การตอบโจทย์ ของประเทศ คื อการเตรี ยมพร้ อมเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน
(AEC) ภูมิภาคและท้องถิ่ นให้มีความพร้ อมและรั บมื อต่อการเปลี่ ยนแปลงทั้ง
โครงสร้างเศรษฐกิจ-สังคม และการเมือง
4. ความท้ ายทายของผู้บริ หารทั้งรั ฐและเอกชนและผู้นาท้ องถิ่น ในการกระจายรายได้
และสร้างโอกาสให้กบั ประชากรทุกกลุ่มให้สามารถเข้าถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ได้อย่างเท่าเทียมกัน
18
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
AEC เหรียญสองด้ าน
เป็ นทั้งโอกาสและความท้ าท้ าย ขึ้นอยูก่ บั ว่าการปรับตัวหรื อรอโชคชะตา
เศรษฐกิจ (ใหม่ ) และชุ มชนไร้ พรมแดนของ AEC จะก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ
 เศรษฐกิจใหม่ ไม่ มีแต้ มต่ อ และไม่ รอใคร
 ความเหลือ่ มลา้ จะสู งขึน้ จากกลุ่มด้ อยโอกาสซึ่งเอือ้ มไม่ ถึงเออีซี (AEC)
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
19
เศรษฐกิจไทยบทบริบทของเศรษฐกิจทุนสากลเคลือ่ นย้ าย
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
รองประธานคณะทางานเศรษฐกิจ มหภาค การเงิน การคลัง
สภาที่ปรึ กษาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
20
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมสากล
“เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิ ยม โดยใช้กลไกการแข่งขันอย่างเสรี
และกลไกตลาดเป็ นตัวกากับ และการใช้ทรัพยากรรวมทั้งปั จจัยการผลิต
เพื่ อ แสวงหาผลก าไรของปั จ เจกบุ คคล เมื่ อ โลกไร้ พรมแดนทางการค้ า
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมก็เคลื่อนย้ ายไปในเศรษฐกิจแบบไร้ พรมแดน
เป็ นการค้าระหว่างประเทศ ทั้งด้านการค้า-บริ การและการลงทุนข้า มชาติ
ทั้งตลาดทุนตลาดโภคภัณฑ์และตลาดเงิน รวมทั้งตราสารหนี้ และอนุพนั ธุ์
ประเภทค่างๆ
ในยุคการสื่ อสารไร้สายแบบ @ ออนไลน์ ทาให้เป็ นซุปเปอร์ ไฮเวย์
ของตลาดทุนสากลสามารถแสวงหาผลประโยชน์ได้ทุกพื้นที่ของโลก”
ที่มา : ธนิต โสรัตน์
21
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
1. เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบใช้ กลไกราคาตลาดและราคาทีแ่ ข่ งขันในการ
สร้างความสมดุล
2. เป็ นระบบเศรษฐกิจซึ่งในปัจจุบนั เป็ นที่ยอมรับว่ามี “ข้ อเสี ยน้ อยทีส่ ุ ด”
3. เป็ นระบบซึ่งเกือ้ กูลให้ เอกชนเข้ ามาแข่ งขันอย่ างเสรี โดยมีกาไรสูงสุ ด
หรื อมูลค่าส่ วนเกิน เป็ นปัจจัยจูงใจที่ทาให้เกิดการพัฒนานวตกรรม
ผลิตภัณฑ์ที่ดีแก่ผบู ้ ริ โภค
4. ระบบทุนนิยมก่อให้ เกิดพลวัตรในการผลิตและการขยายการผลิตอย่าง
ต่อเนื่อง
5. เศรษฐกิจแบบทุนนิยมถูกกล่าวว่าก่อให้ เกิดการสะสมทุนจนเกินพอดี
นาไปสู่การผูกขาด และมีผลต่อการเหลื่อมล้ าของเศรษฐกิจ
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
22
เศรษฐกิจไทยบนบริบทของเศรษฐกิจทุนสากล
1. ประเทศไทยพึ่ ง พิ ง การค้ า ระหว่ า งประเทศสู ง ร้ อยละ 128
ของ GDP ทั้ง
ภาคอุตสาหกรรม-บริ การ และเกษตร มีแรงงานในระบบประมาณ 28 ล้านคน กว่า 2
ใน3 เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม
2. ประเทศไทยเป็ นสมาชิ กขององค์ กรการค้ าประหว่ างประเทศ เช่น องค์การการค้า
โลก (WTO), องค์การศุลกากรโลก (WCO), องค์การการเงินระหว่างประเทศ (IMF),
ธนาคารโลก (World Bank) และ ฯลฯ มีพนั ธะกรณี ต่อการสนับสนุนเคลื่อนย้ายทุน
โลกอย่างเสรี
3. ภายใต้ พนั ธะกรณีของ FTA ประเทศไทยไม่ สามารถปิ ดกั้นทุนจากต่ างประเทศ โดย
ต้อ งเปิ ดเสรี ก ารค้า -บริ ก าร-ลงทุ น กับ เกื อ บทุ ก ประเทศซึ่ งเป็ นคู่ ค ้า ส าคัญ เช่ น
อาเซี ยน รวมทั้งการเปิ ดเสรี ดา้ นการเงิน (BIBF)
4. เศรษฐกิจของไทยเป็ นเศรษฐกิจแบบรวมศู นย์ ส่ งผลต่อการเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจ
และรายได้ รวมทั้งการพัฒนาเมืองศูนย์กลางและจังหวัดรอบนอก
23
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
เศรษฐกิจไทยภายใต้ บริบท
ศตวรรษแห่ งพลวัตร(ใหม่ )ของทุนโลก
Lack of Production Force
การขาดแคลนปัจจัยการผลิต
โดยเฉพาะแรงงาน
AEC Single Market
การเข้ าสู่ เศรษฐกิจแบบตลาดเดียวกัน การ
แข่ งขันจากภายนอก ต้ องเร่ งเสร้ างขีด
ความสามารถในการแข่ งขันระดับภูมภิ าค
(FATF)
การต่ อต้ านการฟอกเงินและ
การต่ อต้ านการก่อการร้ าย
เศรษฐกิจไทยภายใต้ บริบทพลวัตร(ใหม่ )ของโลก
Global Link
เศรษฐกิจโลกเชื่อมต่ อกัน
Human Right Alert
ประเด็นสิทธิมนุษยชน
Global Warming Risk
ความเสี่ ยงจากภัยธรรมชาติ
และภูมอิ ากาศแปรปรวน
World Agenda Green & Health
& GMO
การให้ ความสาคัญต่ อสิ่ งแวดล้ อม
และสุ ขอนามัย
New World Rule & NTBs
กฎเกณฑ์ และการกีดกันทาง
การค้ า
Borderless Trade
การเปิ ดเสรีการค้ า –บริการการเงิน-การลงทุน
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
Digital Age
โลกธุรกิจแบบดิจิตอล
(Change & Fast Attack)
ปัญหาการพัฒนาเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์ ส่งผลต่ อช่ องว่ าง
การพัฒนาและกระจายรายได้ (1)
1.
2.
เศรษฐกิจไทยพึง่ พิงกับเศรษฐกิจระหว่ างประเทศในอัตราที่สูง (ภาคส่ งออก/นาเข้ามีสดั ส่ วนใน GDP
ร้อยละ 128) ความผันผวนเศรษฐกิจส่ งผลกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยรวมทั้งเศรษฐกิจ
ครัวเรื อนและรายได้ภาคเกษตรพึ่งพิงกับเศรษฐกิจของโลกในอัตราสู ง
เศรษฐกิจและการเมืองมีการเชื่อมโยงและสัมพันธ์กนั ส่ งผลให้เศรษฐกิจไทยมีการเชื่อมโยงกับการเมือง
ของคูค่ า้ สาคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น ข้อตกลงการค้าเสรี ทั้ง อาเซียน + 6 และข้อตกลง FTA – USA, FTA-EU,
ACMECS, GMS-BF, BIMTEC ,ด้านสิ ทธิมนุษยชน & ชุมชน, ด้านสิ่ งแวดล้อมด้านการฟอกเงิน (FATF)
3.
4.
เศรษฐกิจไทยรวมศูนย์ ส่วนกลางและปริมณฑล ทาให้เกิดการเชื่อมโยงที่ไม่ตอ่ กันกับเศรษฐกิจของ
จังหวัดและท้องถิ่นรอบนอก ส่ งผลต่อการขาดการมีส่วนร่ วมและการเข้าถึงโอกาสต่อการพัฒนาและ
เติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่เท่าเทียมกัน
การเหลือ่ มลา้ ทั้งด้ านรายได้ และคุณภาพชี้วดั จากการพัฒนาที่ไม่ เชื่อมต่ อกัน ส่ งผลต่อการกระจายได้ราย
สะท้อนจากรายได้ต่อหัวของกรุ งเทพฯและปริ มณฑลมีมูลค่าเท่ากับ 422,141 บาท/คน/ปี แต่ภาคเหนือ
48,549 บาท/คน/ปี ห่างกัน 8.7 เท่า
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
25
ปัญหาการพัฒนาเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์ ส่งผลต่ อช่ องว่ าง
การพัฒนาและกระจายรายได้ (2)
5.
6.
7.
8.
9.
การด้ อยโอกาสของคุณภาพและการเข้ าถึงบริการสาธารณะ การพัฒนาทางเศรษฐกิจแบบกระจุก
ส่ งผลให้การเติบโตทางเศรษฐกิจไม่สมดุลระหว่างจังหวัดศูนย์กลางกับจังหวัดคู่ขนานและจังหวัด
รอบนอก
ภาคการเกษตรถูกละเลยและเสพติดการบิดเบือนราคา ส่ งผลต่อการเพิ่มการพึ่งพิงรัฐแบบไม่รู้จบ
สั งคมชมชนขาดแหล่ งจ้ างงานทีจ่ ูงใจของคนรุ่นใหม่ ทาให้การเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ กทม.และ
จังหวัดใหญ่เป็ นปัญหาที่แก้ไขไม่รู้จบ ส่ งผลต่อคุณภาพชีวติ
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยต้ องควบคู่ไปกับการพัฒนาองค์ กรทั้งระดับจังหวัดและท้ องถิ่น
โดยเฉพาะจังหวัดรอบนอกรวมทั้งการพัฒนาคุณภาพสถาบันการศึกษาจะต้องมีมาตรฐานเดียวกันทั้ง
ประเทศ
การพัฒนาเมืองคู่แฝดเชื่อมโยงเศรษฐกิจ (Twin City) จะต้องมีการสนับสนุนความเข้มแข็งให้กบั
ชุมชนด้วยการเชื่อมโยงเศรษฐจังหวัดศูนย์กลางเศรษฐกิจกับจังหวัดรอบนอกให้เกิดเมืองคู่แฝด
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
26
การปฎิรูปยุทธศาสตร์ จังหวัดและยุทธศาสตร์ ระดับท้ องถิ่น
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ต้องนาภาคเอกชนและภาคประชาสั งคมให้เข้ามามีส่วนร่ วมอย่างจริ งจัง
ยุทธศาสตร์ จังหวัด/อาเภอ ต้องเน้นขีดความสามารถในการแข่งขัน ความต่อเนื่องและการเชื่อมโยง
กับเศรษฐกิจในภาพใหญ่
การจัดตั้ง กรอ.ทั้งระดับจังหวัดและอาเภอโดยต้องนาภาค การค้า-อุตสาหกรรม-บริ การ-ท่องเที่ยว
และเกษตร เข้ามาเป็ นส่ วนร่ วม
การบูรณการทั้งด้ านเศรษฐกิจการผลิตทั้งด้ านอุตสาหกรรม-ท่องเที่ยว-บริ การ-เกษตรกรรมรวมทั้ง
ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การศึกษา สิ่ งแวดล้อมและการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ,สุ ขอนามัย
การยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน มากกว่ าเน้ นภาพลักษณ์ หรื อยุทธศาสตร์ดูดีแต่เลื่อนลอย
การเชื่อมโยงชุ มชนกับอุตสาหกรรมในพืน้ ที่ การยกระดับไปสู่ อุตสาหกรรม(ชุมชน)แปรรู ปสิ นค้า
เกษตรทั้งระดับวิสาหกิจชุมชน,OTOP และชมนุมสหกรณ์ต่างๆ โดยการเชื่อมโยงเป็ นโซ๋ อุปทาน
ให้กบั อุตสาหกรรมซึ่งมีศกั ยภาพ
27
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
การพัฒนาประเทศต้ องมุ่งเน้ นเศรษฐกิจชุมชน
1. ส่ งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานล่ างให้ มีศักยภาพ ด้วยการพึ่งพิงตนเองการใช้ระบบ
ตลาดและเทคโนโลยีการผลิตแทนระบบการพึ่งพิงและระบบความช่วยเหลือจากรัฐ
ซึ่ งทาให้ประชาชนฐานล่างตกเป็ นเครื่ องมือของนักการเมือง
2. การสร้ างเครือข่ ายภาคีความร่ วมมือของชุ มชน
1)
2)
3)
4)
การสร้างกระบวนการเรี ยนรู้ร่วมกันในการผลิตเชิงคุณภาพและเชิงพาณิ ชย์
การผลิตโดยใช้ตลาดเป็ นตัวตั้งไม่ใช่ให้การผลิตและใช้ชุมชนเป็ นตัวตั้ง
การใช้ปัจจัยการผลิตและทรัพยากรร่ วมกัน
แบ่งงานกันทาตามความสามารถและแบ่งผลประโยชน์ร่วมกันอย่างเป็ นธรรม
3. การยกระดับเศรษฐกิจชุ มชนให้ มีความยั่งยืน เป็ นการพัฒนาเศรษฐกิ จฐานล่างให้
สามารถต่อติดเชื่ อมโยงกับเศรษฐกิจในภาพใหญ่จะมีส่วนสาคัญต่อความยัง่ ยืนของ
การพัฒนาเศรษฐกิจ และการเติบโตทางเศรษฐกิจของชาติ โดยให้ประโยชน์ส่วนใหญ่
ตกอยูก่ บั ประชาชนโดยส่ วนรวม
28
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
การใช้ ยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจพอเพียงภายใต้ เศรษฐกิจแบบแข่ งขัน
1.
2.
3.
4.
5.
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งด้านพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน บน
เงื่ อ นไขความรู ้ แ ละคุ ณ ธรรม จะต้อ งสามารถประยุก ต์แ ละแปลงไปสู่ ยุท ธศาสตร์
ระดับประเทศภายใต้การเปิ ดเสรี การค้า-บริ การ-อุตสาหกรรม
แนวทางการนากลยุทธ์เศรษฐกิจพอเพียง ( Sufficiency Economy) ให้ประชาชนกลุ่ม
ด้อยโอกาสพ้นจากเศรษฐกิจพออยูพ่ อกิน (Primary Economy) ไปสู่ เศรษฐกิจที่ทาให้มี
คุณภาพชีวิตที่ดี (Quality of Life Economy)
ภายใต้การเปิ ดเสรี FTA ขีดความสามารถในการแข่งขันยังต้องพึง่ พิงเศรษฐกิจที่เป็ น
Mass Economy ซึ่ งต้องการผลิตจานวนมากให้ตน้ ทุนการผลิตต่าสุ ดและแข่งขันได้
ภายใต้ ทุนสามานย์ ซึ่ งเข้ามาภายใต้การเปิ ดเสรี ในรู ปแบบต่างๆ จะสามารถมีภูมิคุม้ กัน
และเงื่อนไขความรู ้ได้อย่างไร
การผลักดันให้ เกิดบรรษัทภิบาล (Good Government) เป็ นหลักคุณธรรมที่สามารถทา
ให้เกิดขึ้นจริ ง โดยไม่ใช่เป็ นภาพลักษณ์อยูแ่ ต่ในสื่ อมวลชน
29
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
กุญแจแห่ งความสาเร็จในชีวติ
ความรู้ประดุษดวงประทีปนาทางแห่งชีวติ
(แต่) คุณธรรมและความพอประมาณทาให้ชีวิตมีความสุ ข
เหตุผลสร้างปัญญาเป็ นภูมิคุม้ กันที่เป็ นเลิศ(แก่ชีวิต)
30
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
THE END
ข้ อมูลเพิม่ เติม www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
31