“ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ EU ผลกระทบภาคส่งออกของไทย”

Download Report

Transcript “ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ EU ผลกระทบภาคส่งออกของไทย”

“ฝ่ าวิกฤติเศรษฐกิจ EU ผลกระทบภาคส่ งออกของไทย”
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
และรองประธานคณะทางานเศรษฐกิจมหภาค การเงิน การคลัง
สภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม 2555
ณ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
1
ความเสี่ ยงเศรษฐกิจไทยภายใต้ วกิ ฤตเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป
ภายใต้วิกฤตเศรษฐกิจถดถอยของประเทศสมาชิกยูโรโซนซึ่ งเป็ น
ผลกระทบจากความอ่อนแอของสถาบันการเงินและหนี้ สาธารณะที่สูง
ของประเทศต่างๆ ได้ลุกลามจนทาให้หลายประเทศประสบปั ญหาสภาพ
คล่อง จนต้องขอความช่วยเหลือทางการเงิน ทั้งจาก IMF, ECB และ
กองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป เช่น ไอร์ แลนด์ โปรตุเกส กรี ซ
สเปน อิตาลี และล่าสุ ดคือประเทศไซปรัส
2
สั ญญาณเศรษฐกิจ EU กระทบภาคส่ งออกไทย
 วิกฤตหนีย้ ูโรโซนจะส่ งผลกระทบต่ อเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งพึง่ พาการส่ งออกเป็ นหลัก
 วิกฤตของยุโรป ลุกลามไปในประเทศคู่ค้าของไทย ทาให้ แต่ ละประเทศลดการสั่ งซื้อสินค้ า
โดยเฉพาะสิ นค้ าที่ฟุ่มเฟื อย หรือสิ นค้ าซึ่งมีทางเลือกในการสั่ งซื้อจากประเทศอืน่ ซึ่งมี
ราคาตา่ กว่ าไทย
 วิกฤตเศรษฐกิจ EU ทาให้ผบู ้ ริ โภคในประเทศคู่คา้ เริ่ มที่จะรัดเข็มขัด ส่ งผลต่ออุปสงค์การ
นาเข้าสิ นค้า
 ธนาคารพาณิ ชย์บางราย เริ่ มส่ งสัญญาณในการไม่ให้บริ การประกันความเสี่ ยงสิ นค้าที่จะ
ส่ งออกไปกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป เพราะไม่คุม้ ค่ากับความเสี่ ยง
 EUได้ประกาศตัด GSP หรื อสิ ทธิลดหย่อนภาษีนาเข้า ทาให้สินค้าไทยซึ่ งนาเข้ายูโรโซน
ต้องเสี ยภาษีนาเข้าในอัตราปกติ ขณะที่คู่แข่งไทย เช่น อินเดีย อินโดนีเซีย ยังคงได้ GSP
คงเดิม
3
วิกฤตอียูกระทบภาคส่ งออกไทย
1) วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดในประเทศยูโรโซน ถึงแม้จะมีสดั ส่ วนส่ งออกของ
ไทยประมาณร้อยละ 9.5 แต่ส่งผลกระทบทางอ้อมต่อคู่คา้ ส่ งออกของไทย
2) คู่ค้าหลักทั้ง 6 ประเทศ กลุ่มอาเซียน จีน ฮ่ องกง ญีป่ ุ่ น สหรัฐอเมริกา
และสหภาพยุโรป มีสัดส่ วนการส่ งออกถึงประมาณ ร้อยละ 73
3) สถานะความถดถอยของประเทศยูโรโซน จึงส่ งผลกระทบต่อภาคการ
ส่ งออกไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
4) ส่ งออกไทยในช่ วงเดือนมกราคม – พฤษภาคม 2555 มีมูลค่ า 92,494 ล้าน
เหรียญสหรัฐ หดตัวลงร้ อยละ 1.47
4
ตัวเลขการส่ งออกของไทยไปคู่ค้าสาคัญ ในเดือนพฤษภาคม
กลับมาเป็ นบวกร้ อยละ 7.68
• ประเทศทีส่ ่ งออกเป็ นบวก :
– สหรัฐอเมริ กา ขยายตัว ร้อยละ 10.9
– ญี่ปุ่นขยายตัว
ร้อยละ 5
– จีนขยายตัว
ร้อยละ 22.3
- อียู (15) ขยายตัว ร้อยละ 6.8
- อาเซียน (9) ขยายตัว ร้อยละ 13.4
• ประเทศทีส่ ่ งออกเป็ นลบ :
– ฮ่องกง ขยายตัวลดลง ร้อยละ 38.9
– ไต้หวันลดลง
ร้อยละ 9.6
- เกาหลีใต้ลดลง
ร้อยละ 6.7
• สิ นค้ าเกษตรทีน่ ่ าเป็ นห่ วง :
– ข้าว มีการหดตัวสูงถึง ร้อยละ 29
- ยางพาราลดลง
ร้อยละ 27.5
สิ นค้าเกษตรส่ วนใหญ่การส่ งออกยังขยายตัวได้ โดยภาพรวมการส่ งออกภาคเกษตรติด
ลบร้อยละ 5 ขณะที่ภาคอุสาหกรรมขยายตัวได้ร้อยละ 9.5
5
การส่ งออกไทยภายใต้ วกิ ฤตอียู จะสามารถส่ งออกได้ ตามเป้าหรือไม่ ...
 ผู้ประกอบการส่ งออกได้ ส่งสั ญญาณแสดงความกังวลตัวเลขส่ งออกในไตรมาสที่ 3 ตัวเลขยัง
อาจไม่ ดนี ัก
 ความกังวลด้ านสภาพคล่ อง ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน รวมถึงเสถียรภาพราคา
น้ามัน
 ภาคการส่ งออกของไทยยังคงมีความเสี่ ยงไปจนถึงไตรมาสที่ 4 ของปี 2555
 ปัจจัยเสี่ ยงเศรษฐกิจไทยในครึ่งปี หลัง เกิดจากรายได้ เกษตรกรที่ลดลงจากราคาสิ นค้ าเกษตร
ที่มีการหดตัวร้ อยละ 5 โดยเฉพาะราคายางพาราที่จะผันผวนไปตามราคาน้ ามันที่ลดต่าลง
 รายได้ เกษตรกรในช่ วงที่ผ่านมา หดตัวประมาณร้ อยละ 13.5 ความเสี่ ยงจากมาตรการจานา
ข้าว ภายใต้การกดดันด้านราคาจากตลาดโลก ทาให้ในช่วง 5 เดือนแรกของปี นี้ การส่ งออก
ติดลบร้อยละ 45.66 คาดว่าทั้งปี การส่ งออก (ข้าวสาร) คงส่ งออกได้ประมาณ 7.0 ล้าน
เมตริ กตัน เทียบจากปี ที่แล้วที่ส่งออกได้ประมาณ 10.5 ล้าน
6
กระทรวงพาณิชย์ ยนื ยันส่ งออกได้ ตามเป้าที่ร้อยละ 15
(มิถุนายน 2555)
1. ต้ องผลักดันให้ การส่ งออกในช่ วง 7 เดือนสุ ดท้ าย (มิ.ย. – ธ.ค. 2012) ทีเ่ หลือ ส่ งออก
ให้ ได้ เฉลีย่ เดือนละ 23,816 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือขยายตัวโดยเฉลีย่ ที่อตั ราร้ อยละ
25-26
2. เดือนพฤษภาคม ซึ่ งการส่ งออกกลับมาเป็ นบวก ตัวเลขส่ งออกมีมูลค่าเพียง 20,932
ล้านเหรี ยญสหรัฐ
3. ความท้าทายของผูป้ ระกอบการส่ งออกไทย ว่าในช่วงเวลาที่เหลือภายใต้ปัจจัย
เศรษฐกิจโลก ซึ่ งยังเป็ นเชิงลบ จะสามารถทาได้หรื อไม่
4. ตัวเลขการนาเข้าตูค้ อนเทนเนอร์ เปล่า เดือนพฤษภาคม ลดลงถึงร้อยละ 20
7
กระทรวงพาณิชย์ ยนื ยันส่ งออกได้ ตามเป้าที่ร้อยละ 15 (ต่อ)
(มิถุนายน 2555)
5.
6.
7.
8.
การส่ งออกของไทยภายใต้ สมมติฐานสภาวะการณ์ ที่เป็ นบวก ทาได้ ดสี ุ ดน่ าจะขยายตัว
ได้ ไม่ เกินร้ อยละ 10.0 - 10.5
ปั จจัยการหดตัวของเศรษฐกิจคู่คา้ หลัก โดยเฉพาะจีน ฮ่องกง อาเซี ยน และญี่ปุ่น หาก
เศรษฐกิจมีการชะลอตัวตามการถดถอยของกลุ่มประเทศอียูมากกว่ าที่เป็ นอยู่ปัจจุบนั
การส่ งออกของไทยก็อาจขยายตัวได้ ประมาณร้ อยละ 8.0 – 8.5
กระทรวงการคลังได้มีการทาแบบจาลองสถานการณ์เศรษฐกิจไทยกับวิกฤตเศรษฐกิจ
ยุโรป พบว่าไม่มีผลกระทบกับภาคส่ งออกของไทยอย่างเป็ นนัย และสามารถหาตลาด
อื่นทดแทนได้
ผูส้ ่ งออกส่ วนใหญ่เห็นว่าการส่ งออกปี นี้จะไม่สดใสและอาจส่ งออกได้ต่ากว่าร้อยละ 8
8
ผลจากการประชุม “EU SUMMIT”
1. การตั้งกองทุนคุ้มครองเงินยูโรโซน
2. การตั้งกองทุนไถ่ ถอนพันธบัตร
3. การจัดตั้งสหภาพการธนาคารยูโรโซนในการทาหน้ าทีใ่ นการรับฝากและ
ประกันเงินฝากของประเทศสมาชิกอียู
4. ผ่ อนคลายแนวทางชาระหนีข้ องสเปน และเงินช่ วยเหลืออิตาลี
5. สาหรับกรีซ อยู่ระหว่ าง IMF และสหภาพยุโรป (EU) กาลังทบทวน
ฐานะการเงินและเจรจาการปฏิบัติตามเงื่อนไขของเจ้ าหนี้ ซึ่งรัฐบาล
กรีซต้ องการเงินช่ วยเหลือ 1.3 แสนล้านยูโร
9
วิกฤตเศรษฐกิจของยุโรปยังไม่ เห็นแนวทางในการแก้ปัญหาทีช่ ัดเจน
แนวโน้ มผลกระทบเศรษฐกิจถดถอยกลับขยายตัวไปยังประเทศซึ่งมี
เศรษฐกิจแข็งแรง เช่น ประเทศฝรั่งเศส คาดว่าปี นี้เศรษฐกิจอาจลดลงจาก
เดิมที่ร้อยละ 0.7 เหลือเพียงร้อยละ 0.3 หรื อโตได้เพียงร้อยละ 0
เยอรมันเริ่ มมีปัญหาด้านกาลังซื้อ ซึ่งเศรษฐกิจในปี นี้คงขยายตัวได้ต่ากว่า
ร้อยละ 0.5
อิตาลีและสเปน เศรษฐกิจถดถอยจะยืดเยื้อไปอย่างน้อยต้นปี หน้า
คาดว่าการขยายตัวของยุโรป ในปี 2555 ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปอาจ
ขยายตัวติดลบร้อยละ 0.5 หรื อสูงกว่านี้
10
การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยช่ วงครึ่งปี หลังต้ องอาศัยปัจจัยภายในประเทศ
(1) การขับเคลือ่ น จากภาคการบริโภคในประเทศ ซึ่ งคาดว่าจะขยายตัวได้ร้อยละ 5.2
ซึ่ งได้รับปั จจัยจากรายได้ค่าจ้างที่เพิ่ม
(2) การกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลตามโครงการต่ างๆ จะทาให้การลงทุนภาครัฐ
ขยายตัวได้ร้อยละ 9.7
(3) ผลทางจิตวิทยาจะเป็ นแรงกระตุน้ ให้เกิดการลงทุนในภาคเอกชน
(4) นโยบายการกระตุ้นค่ าใช้ จ่ายของประชาชน เช่น โครงการรถยนต์คนั แรก และ
บ้านหลังแรก เงินช่วยเหลือน้ าท่วม ฯลฯ
(5) รัฐบาลมีแผนลงทุนโครงสร้ างพืน้ ฐานระยะ 7 ปี ใช้ เม็ดเงินลงทุน 2.27 ล้ านล้าน
บาท ตั้งกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ประมาณ 1.6 – 2.0 ล้านล้านบาท ส่ วนที่
เหลือเป็ นการร่ วมทุนกับภาคเอกชน (PPPs)
11
วิกฤตเศรษฐกิจสหภาพยุโรปยังยืดเยือ้ อีกนาน
 เดือนกรกฎาคม การว่ างงานในกลุ่มประเทศยูโรโซนอยู่ในระดับทีส่ ู งทีส่ ุ ดเป็ นประวัติการณ์ ถึงร้ อยละ
11.1 มีคนว่ างงานถึง 1.8 ล้ านคน (เฉพาะประเทศสเปน การว่างงานอยูท่ ี่ระดับร้อยละ 25 และประเทศกรี ซ การ
ว่างงานอยูท่ ี่ร้อยละ 52)
 เยอรมัน ซึ่งมีเศรษฐกิจดีทสี่ ุ ด คาดว่ าเศรษฐกิจอาจโตได้ ไม่ เกินร้ อยละ 0.3 และฝรั่งเศสเศรษฐกิจอาจ
โตได้ เพียงร้ อยละ 0 – 0.3 แสดงให้เห็นว่า วิกฤตเศรษฐกิจของอียคู งยืดเยื้อไปอีกนาน
 วิกฤตเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป เป็ นปัญหาทางความน่ าเชื่อถือของสถาบันการเงิน
และความสามารถในการชาระหนี้ ทั้งของเอกชนและรัฐบาล กระทบต่ อกาลังซื้อสิ นค้ า และส่ งผล
กระทบเป็ นลูกโซ่ ไปยังภูมภิ าคอืน่ ของโลก ซึ่งเป็ นคู่ค้าส่ งออกของไทย
 วิกฤตเศรษฐกิจซึ่งไม่ ใช่ มเี ฉพาะในยุโรป แต่ ได้ ขยายกลายเป็ นวิกฤตเศรษฐกิจโลก เห็นได้ จากการ
เติบโตทางเศรษฐกิจของจีน ในไตรมาส 2 ขยายตัวได้ ร้อยละ 7.6 ต่าสุ ดในรอบ 3 ปี จากทีไ่ ตรมาสแรก
ขยายตัวได้ ร้อยละ 8.1 ซึ่งเป็ นสั ญญาณทีไ่ ม่ ค่อยจะดีสาหรับประเทศจีน ทุกฝ่ ายหวังว่ าจีนจะเป็ นเสา
คา้ เศรษฐกิจโลก
 อินเดีย การเติบโตทางเศรษฐกิจในไตรมาสแรกก็เติบโตได้ แค่ ร้อยละ 5.3
 ธนาคารโลกคาดว่ า เศรษฐกิจโลกในปี นี้ อาจขยายตัวได้ เพียงร้ อยละ 2.5
12
มีสัญญาณในทางลบ จากการที่ตวั เลขการส่ งออกขยายตัวไม่ ได้ ตามเป้าหมาย
1. ช่ วง 5 เดือนแรก ปี 2555 ดุลการค้ าไทยติดลบไปถึง 9,794 ล้ านเหรียญสหรัฐ
2. เงินสารองระหว่ างประเทศในช่ วงที่ผ่านมาลดลง 900 ล้ านเหรียญสหรัฐ ทาให้เงินสารอง
ระหว่างประเทศ ณ 22 มิถุนายน 2555 อยูท่ ี่ระดับ 1.731 แสนล้านเหรี ยญสหรัฐ
3. เสถียรภาพของเงินบาทมีความผันผวน อ่อนค่าลงไปกว่าที่ควรจะเป็ น โดย ธปท. ต้องใช้
เงินจานวนมากในการแทรกแซงเงินบาท ไม่ให้อ่อนตัวมากเกินไป
4. ช่ วงไตรมาส 3 เงินบาทจะมีความผันผวนไปตามตลาดการเงินโลก ที่มีความอ่อนไหว ไม่
สามารถระบุได้วา่ แนวโน้มเสถียรภาพเงินบาทจะไปในทางใด
5. ตัวเลขสถานประกอบการในการขอจัดตั้งประกอบกิจการโรงงานในช่ วงมกราคม –
มิถุนายน ในเชิงปริมาณ ลดลงร้ อยละ 6.0 และเชิงมูลค่ าการลงทุนลดลงร้ อยละ 53.75
จานวนการจ้ างงานลดลงร้ อยละ 19.0
6. ปัญหาสภาพคล่ อง ของภาคเอกชนลดลง สะท้อนได้จากตัวเลขสิ นเชื่อของภาคธุรกิจขยาย
ได้ในอัตราสูงถึงร้อยละ 16 เป็ นการขยายตัวที่สูงที่ผดิ ปกติ จนสถาบันการเงินหลายแห่ง
ทยอยตั้งสารองเผือ่ หนี้สูญ เนื่องจากเห็นว่าภาคธุรกิจมีความเสี่ ยงจากภาวะเศรษฐกิจ 13
พืน้ ฐานเศรษฐกิจไทยมีความเข้ มแข็ง
ในการรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจ
 สถาบันการเงินไทยยังมีความแข็งแกร่ ง มีสภาพคล่ องผ่ านเกณฑ์ ในระดับสู ง ประมาณ 3.5-4.0
ล้ านล้ านบาท (ธปท.)
 ภาคเอกชนยังมีการลงทุนต่อเนื่อง เห็นได้จากดัชนีการลงทุนภาคเอกชน เดือนเมษายน ที่
ขยายตัวได้ ร้อยละ 12.5 สะท้ อนได้ จากการนาเข้ าสิ นค้ าทุน ขยายตัวได้ สูงถึงร้ อยละ 21.3
 การจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ ขยายตัวได้ระดับสูง ร้อยละ 35.2 คาดว่าการลงทุนภาคเอกชน
ในปี นี้ขยายตัวได้ถึงร้อยละ 13.5 เทียบกับปี ที่แล้วที่ขยายตัวได้ร้อยละ 7.2
 ผูป้ ระกอบการ SMEs และในสาขาเกษตรบางสาขายังมีความน่าเป็ นห่วงโดยเฉพาะที่เกิดจาก
สภาพคล่อง
 นโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลทาให้การบริ โภคในประเทศขยายตัวได้ดีร้อยละ 4.6 –
5.0
 ธปท.ส่ งสัญญานอาจตรึ งดอกเบี้ยนโยบาย ร้อยละ 3 ถึงสิ้ นปี และกระทรวงพาณิ ชย์คุมอัตรา
เงินเฟ้ อทัว่ ไปอยูท่ ี่ร้อยละ 3.2
14
รัฐบาลเข้ าใจปัญหาผลกระทบของเศรษฐกิจยุโรป
ซึ่งได้ ส่งผลกระทบต่ อเศรษฐกิจไทย
มาตรการดูแลเสถียรถาพเศษฐกิจของรัฐบาล
(1) ด้ านเสถียรภาพอัตราแลกเปลีย่ น
(2) เสถียรภาพดอกเบีย้ ซึ่งคาดว่ า กนง.จะยังคงยืนไว้ ที่ระดับร้ อยละ 3.0 ไปจนถึงสิ้นปี
(3) ด้ านการดูแลการว่ างงาน
(4) ด้ านเสถียรภาพราคานา้ มัน โดยยังคงนโยบายตรึงราคานา้ มันดีเซลไม่ เกินลิตรละ
30 บาท
(5) การเร่ งการใช้ จ่ายงบประมาณภาครัฐ
(6) รัฐบาลมีการตั้งคณะทางานหลายชุ ดในการติดตามปัญหาและแก้ ไขการส่ งออกและ
กระตุ้นเศรษฐกิจ
15
ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555
1. หากเศรษฐกิจยุโรปถดถอยร้ อยละ 0.4-0.5 จะส่ งผลให้ เศรษฐกิจของไทย หรือ GDP จะ
สามารถเติบโตได้ ร้อยละ 4.5 – 5.0
2. หากการเติบโตในภาคการส่ งออกในช่ วง 7 เดือนที่เหลืออาจขยายตัวได้ดี และปัญหายูโร
3.
4.
5.
6.
อยู่ในวงจากัด การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยอาจขยายตัวได้ ร้อยละ 5.5 – 6.0
เศรษฐกิจไทยในช่ วงครึ่งปี หลังต้ องอาศัยแรงกระตุ้นจากการใช้ จ่ายของภาคเอกชน และ
จากการใช้ งบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจและประชานิยมของรัฐบาล ส่ งผลให้ การใช้ จ่าย
ผู้บริโภคจะขยายตัวได้ ร้อยละ 4.6
การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวได้ ท้งั ปี ประมาณร้ อยละ 10.8 ปี (2554 ขยายร้ อยละ 3.3)
การลงทุนภาค BOI ครึ่งปี แรกขยายตัวร้ อยละ 32.6 มูลค่ า 278,470 ล้ านบาทคาดว่ าทั้งปี จะ
ทะลุเกิน 500,000 ล้ านบาท
ภาคการท่ องเที่ยวขยายตัวได้ ดที ี่ร้อยละ 9.0 ครึ่งปี แรกมีนักท่ องเที่ยวเข้ ามาแล้ ว 9.9 ล้ าน
คน ทั้งปี คาดว่ าจะทะลุ 20.2 ล้ านคน มีรายได้ เข้ าประเทศประมาณ 7.92 แสนล้ านบาท
16
ความเสี่ ยงของเศรษฐกิจไทย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ความไม่ แน่ นอนของเศรษฐกิจโลก และการฟื้ นตัวของประเทศคู่ค้าหลัก
ความเสี่ ยงจากความผันผวนของราคาน้ามันโลก น้ามันดูไบในช่ วงเวลาสั้ นๆ ปรับสู งขึน้ ไป
ถึงร้ อยละ 6 และน้ามันตลาด นิวยอร์ คปรับสู งขึน้ ถึงร้ อยละ 9.5
ทิศทางราคาน้ามันยังผันผวนได้ อกี มาก เพราะกลุ่มโอเปคกาลังออกมาตรการผลักดันราคา
ให้กลับไประดับ 100 เหรี ยญสหรัฐต่อบาร์เรล
ความเสี่ ยงจากปัญหาการเมืองในประเทศของไทย สถานะการเมืองไทย ทั้งในสภาและ
นอกสภายังคงมีความคุกรุ่ นอยู่
เศรษฐกิจไทยยังขึน้ อยู่กบั ปัจจัยธรรมชาติ ปริ มาณน้ าฝนซึ่งค่อนข้างมากในช่วงนี้ทาให้
ปั จจัยน้ าท่วมกลับมาเป็ นความเสี่ ยงของเศรษฐกิจไทย ซึ่งหวังว่าปี นี้คงไม่มีปัญหาน้ าท่วม
เหมือนปี ที่แล้ว
รัฐบาลคงไม่ ออกมาตรการอะไรที่ซึ่งจะเป็ นการเพิม่ ต้ นทุนให้ กบั ภาคเอกชน รวมทั้งไม่
สร้างเงื่อนไขทางการเมืองมากกว่าที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั
17
ข้ อเสนอแนะและมาตรการเบือ้ งต้ น
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
ปัญหาเฉพาะหน้ าดูแลสภาพคล่ อง
ดูแลเสถียรภาพอัตราแลกเปลีย่ นไม่ ให้ ผนั ผวน
ปรับปรุงกฎระเบียบทีเ่ ป็ นอุปสรรคต่ อการนาเข้ า-ส่ งออก
ขอให้ กรมสรรพากรพิจารณาในการคืน VAT ให้ รวดเร็ว
ส่ งเสริมการส่ งออกกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
การส่ งเสริมการส่ งออกทดแทนตลาดหลัก
ส่ งเสริมให้ มกี ารจัดหาวัตถุดบิ ซึ่งขาดแคลนเพือ่ ผลิตและส่ งออก (Global Sourcing)
ให้ มกี ารเจรจาขอสิ ทธิ GSP กลับคืนมา
ให้ รัฐบาลเร่ งแก้ ปัญหาแรงงานขาดแคลน
การส่ งเสริมการลงทุนในต่ างประเทศให้ มคี วามชัดเจน
รัฐบาลควรมีการกาหนดเป้ าหมายการส่ งออกให้ สอดคล้ องกับความเป็ นจริง
18
19