ส่งเสริมการผลิตปาล์มน้ำมัน (ต่อ)

Download Report

Transcript ส่งเสริมการผลิตปาล์มน้ำมัน (ต่อ)

การสัมมนาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
กับการเปิดตลาดสินค้าเกษตร
เรือ่ ง
นโยบายการบริหาร
ผลผลิต/ส่งเสริมการผลิต
สินค้าเกษตรในประเทศ
สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร
8 กรกฎำคม 2553
เรือ่ งที่นาเสนอ
 ยุทธศาสตร์ กาแฟ ปี 2552-2556
 แผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์ มนา้ มันและนา้ มันปาล์ม
ปี 2551-2555
 ยุทธศาสตร์ พฒ
ั นายางพารา พ.ศ. 2552-2556
ยุทธศาสตร์ กาแฟ ปี 2552-2556
(มติ ครม. เห็นชอบ เมื่อ 16 มิ.ย. 52)
กาแฟ
9,
48
35
160
136
350,000
131
180
9
5,
33
154
38
36
8,
66
2
4,
63
400,000
300,000
กิโลกรัม
7
2
8
9,
87
42
450,000
42
500,000
ไร่ /ตัน
การผลิตกาแฟ ปี 2549-2553
130
140
120
109
100
250,000
80
200,000
60
5
,9
5
48
56
,3
1
5
2
,4
4
50
,6
6
55
46
100,000
,8
7
3
0
150,000
50,000
0
40
20
0
2549
้ ทีใ่ ห้ผล(ไร่) GR - 4.95
เนือ
2550
2551
ผลผลิต(ต ัน) GR 0.99
2552
2553
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) GR 6.23
จังหวัดแหล่ งผลิตกาแฟ ปี 2553
อาราบีก้า 4,743 ตัน
โรบัสต้ า 44,212 ตัน
4%
14%
6%
24%
66%
7%
43%
36%
ชุมพร
ระนอง
สุราษฎร์ ธานี
อื่นๆ
ี งราย
เชย
่ งสอน
แม่ฮอ
ี งใหม่
เชย
อืน
่ ๆ
เปรี ยบเทียบต้ นทุนการผลิตกับราคาสารกาแฟคละ
โรบัสต้ าทีเ่ กษตรกรขายได้ ปี 2549-53
80
68.35
59.81
60
40
20
57.5
45.57
36.49
29.33
32.83
39.06
40.19
GR = 14.05
GR = 9.90
42.5
0
2549
2550
ต้ นทุนการผลิต (บาท/กก.)
2551
2552
2553
ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.)
ยทุ ธศาสตร์ กาแฟ ปี 2552-2556
 วิสัยทัศน์ เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน รักษาคุณภาพและเอกลักษณ์
กาแฟไทย
 พันธกิจ 1) ส่ งเสริ ม/สนับสนุนการเพิ่มผลผลิตต่อไร่
ลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มคุณภาพ
2) ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ดีและเหมาะสม
3) สร้าง/พัฒนาเครื อข่ายระหว่างเกษตรกรและ
กลุ่มเกษตรกร
4) สร้างมาตรฐานและภาพลักษณ์กาแฟไทย
ยทุ ธศาสตร์ กาแฟ ปี 2552-56 (ต่ อ)
 เป้าหมาย
1) ลดต้นทุนการผลิตเท่ากับหรื อสู งกว่าเวียดนาม
ไม่เกิน 10%
2) เพิ่มผลผลิตต่อไร่
- สวนเดี่ยว จาก 200 กก./ไร่ เป็ น 300 กก./ไร่
- สวนผสม จาก 143 กก./ไร่ เป็ น 180 กก./ไร่
3) แปลงกาแฟ GAP ไม่นอ้ ยกว่า 50%
ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการดาเนินงาน 4 ด้ าน
1. ยุทธศาสตร์ ด้านการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิตและ
ลดต้ นทุนการผลิต
1) จัดระบบการผลิต
2) พัฒนาและส่ งเสริ มการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิภาพ
3) ปรับปรุ งสวนกาแฟเสื่ อมโทรม
- ส่ งเสริ มการตัดทาสาวต้นกาแฟที่ให้ผลผลิตติดต่อกันเกิน 5 ปี
- ปรับเปลี่ยนสวนเก่า โดยใช้กาแฟพันธุ์ดีให้ผลผลิตสู ง
4) พัฒนาการผลิตของเกษตรกรให้ได้มาตรฐาน GAP
5) วิจยั และพัฒนาการผลิต
ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการดาเนินงาน 4 ด้ าน (ต่ อ)
2. ยุทธศาสตร์ ด้านการเพิม่ มูลค่ าผลิตภัณฑ์ กาแฟ
- ส่ งเสริ มการแปรรู ปในสถาบันเกษตรกร
3. ยุทธศาสตร์ ด้านการสร้ างเสถียรภาพราคา
4. ยุทธศาสตร์ ด้านการปรับฐานการบริหารจัดการ
การส่ งเสริ มการผลิตกาแฟ
 โครงการปรับโครงสร้ างสิ นค้ ากาแฟแบบครบวงจร (เริ่มปี 53)
1. กิจกรรมการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิตและลดต้ นทุนการ
ผลิตกาแฟ ระยะเวลา 4 ปี งบประมาณ 21.881 ล้ านบาท
2. กิจกรรมด้ านการดาเนินธุรกิจและเพิม่ มูลค่ ากาแฟของ
สถาบันเกษตรกรระยะเวลา 7 ปี เงินกู้ปลอดดอกเบีย้
31.229 ล้ านบาท
รวมใช้ เงินจากกองทุน FTA 53.110 ล้ านบาท
ตัวชี้วัดความสาเร็ จของโครงการฯ
1) ผลผลิตต่ อไร่ แปลงปลูกกาแฟ
- สวนเดี่ยว จาก 200 กก. เพิม่ เป็ น 250 กก.
- สวนผสม จาก 143 กก. เพิม่ เป็ น 180 กก.
2) ต้ นทุนการผลิตสู งกว่ าเวียดนามไม่ เกิน 10 %
( 35-40 บาท/กก.)
แผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์ มนา้ มันและนา้ มันปาล์ ม
ปี 2551-2555
(มติ ครม. เห็นชอบ เมื่อ 25 ธ.ค. 50)
ปาล์ มน้ามัน
3,214
8,000,000
7,000,000
6,
38
9,
98
3
2,828
6,
71
5,
03
6
9,000,000
57
3
10,000,000
8,
16
2,
37
9
9,
22
9,
ไร่ /ตัน
9,
27
0,
51
0
การผลิตปาล์ มน้ามัน ปี 2549-2553
2,399
2,560
2,537
6,000,000
3,
63
7,
53
6
3,
18
8,
83
2
2,
88
4,
72
0
2,
66
3,
25
2
2,
37
4,
20
2
3,000,000
3,500
3,000
2,500
2,000
5,000,000
4,000,000
กิโลกรัม
1,500
1,000
2,000,000
500
1,000,000
0
0
2549
้ ทีใ่ ห้ผล(ไร่) GR 10.89
เนือ
2550
2551
2552
ผลผลิต(ต ัน) GR 9.21
2553
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) GR -1.51
เปรี ยบเทียบต้ นทุนการผลิตกับราคาผลปาล์ มสด
ทีเ่ กษตรกรขายได้ ปี 2549-53
5
4.07
4
3
3.64
3.55
2.39
2
1
4.23
1.53
1.84
2.12
2.58
GR = 12.71
2.35
0
2549
2550
ต้ นทุนการผลิต(บาท/กก.)
2551
2552
GR = 7.03
2553
ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.)
แหล่ งผลิตปาล์ มน้ามันที่สาคัญปี 2553
ผลผลิต 9,229,573 ตัน
ภาค
จังหวัด
0.05% 0.45%
23.00%
10.19%
28.00%
5.00%
20.00%
24.00%
89.31%
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ภาคกลาง
ภาคใต้
กระบี่
สุ ราษฎร์ ธานี
ชุ มพร
ประจวบคีรีขนั ธ์
อืน่ ๆ
แผนพัฒนาอตุ สาหกรรมปาล์ มและน้ามันปาล์ ม ปี 2551-55
 วิสัยทัศน์ มุ่งสู่การพัฒนาและสร้างสรรค์มูลค่าปาล์มน้ ามันและ
ผลิตภัณฑ์น้ ามันปาล์มทั้งระบบอย่างยัง่ ยืน
 พันธกิจ ขยายการผลิต สร้างสรรค์การแปรรู ปอย่างง่ายเป็ น
ผลิตภัณฑ์มูลค่าสู ง สร้างเสถียรภาพอุตสาหกรรมทั้งระบบ จัดการ
บริ หารองค์กรอย่างมีประสิ ทธิภาพ
แผนพัฒนาอตุ สาหกรรมปาล์ มและน้ามันปาล์ ม ปี 2551-55 (ต่ อ)
 เป้าหมาย
1) พื้นที่ที่เหมาะสมปลูกปาล์มน้ ามันตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ปีละ 5 แสนไร่ รวม 2.50 ล้านไร่
2) ปลูกทดแทนสวนเก่าด้วยพันธุ์ดีปีละ 1 แสนไร่
รวม 0.50 ล้านไร่
3) เพิม่ ผลผลิตจาก 3 ตัน/ไร่ เป็ น 3.50 ตัน/ไร่
4) เพิ่มอัตราน้ ามันจาก 17 % เป็ น 18.5 %
ยทุ ธศาสตร์ 5 ด้ าน
1. ยุทธศาสตร์ เพิม่ ผลิตภาพและคุณค่ าผลปาล์ มนา้ มันและผลิตภัณฑ์
1) เพิ่มพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในเขตเหมาะสม ปรับปรุ งสวนเก่าโดยปลูก
ทดแทนด้วยพันธุ์ดี และการจัดการผลิตที่ถูกต้อง
2) เร่ งรัด และรณรงค์ในการปรับปรุ งฟื้ นฟูสวนเก่าในเขตเหมาะสม โดยปลูก
ทดแทนด้วยพันธุ์ดี และการจัดการผลิตที่ถูกต้อง
3) สนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิตอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน
และน้ ามันปาล์ม สู่ภาคการผลิตที่มีประสิ ทธิภาพ
4) สนับสนุนการบูรณาการการผลิต การตลาด บนพื้นฐานศักยภาพและความ
เข้มแข็งของเกษตรกร
ยทุ ธศาสตร์ 5 ด้ าน (ต่ อ)
2. ยุทธศาสตร์ การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการตลาด
3. ยุทธศาสตร์ การใช้ พลังงานทดแทน
4. ยุทธศาสตร์ การวิจัยและพัฒนาบุคลากร
5. ยุทธศาสตร์ การบริหารและการจัดการ
การส่ งเสริ มการผลิตปาล์ มน้ามัน
1. กรมพัฒนาทีด่ นิ จัดทาเขตเหมาะสมการปลูกปาล์ มนา้ มัน
1.1 พื้นที่เหมาะสมตามโครงสร้างดินและสภาพแวดล้อม
มีจานวน 10.58 ล้านไร่ แยกเป็ น
- ภาคใต้
- ภาคตะวันออก
- ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
- ภาคกลาง
7.31
2.64
0.56
0.07
ล้านไร่
ล้านไร่
ล้านไร่
ล้านไร่
การส่ งเสริ มการผลิตปาล์ มน้ามัน (ต่ อ)
1.2 พื้นที่เหมาะสมตามสภาพภูมิอากาศ แต่ตอ้ งปรับปรุ งดินหรื อ
สร้างระบบน้ า (พื้นที่นาร้าง ทิ้งร้าง ที่ลุ่ม เสื่ อมโทรมและดินเปรี้ ยว)
มีจานวน 2.44 ล้านไร่
- ภาคใต้
- ภาคตะวันออก
- ภาคกลาง
1.84 ล้านไร่
0.45 ล้านไร่
0.15 ล้านไร่
เขตส่ งเสริ มการปลกู ปาล์ มน้ามันตามประกาศ กษ.
 ภาคตะวันออก 7 จังหวัดได้แก่ จันทบุรี ตราด ชลบุรี ระยอง
ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และสระแก้ว
 ภาคใต้ 15 จังหวัดได้แก่ กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรี ธรรมราช
พังงา พัทลุง ภูเก็ต ระนอง สงขลา สตูล สุ ราษฎร์ ธานี
นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และประจวบคีรีขนั ธ์
 ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือบางพื้นที่คือ จังหวัดหนองคาย
การส่ งเสริ มการผลิตปาล์ มน้ามัน (ต่ อ)
2. กรมวิชาการเกษตร ได้พฒั นาพันธุ์ปาล์มน้ ามัน 6 สายพันธุ์ และจะให้
การรับรองเพิ่มอีก 1 สายพันธุ์ในปี 2554 โดยมีกาลังการผลิตเมล็ดพันธุ์ปาล์ม
เฉลี่ยปี ละ 5-7 ล้านเมล็ด หรื อคิดเป็ นพื้นที่ 200,000 ไร่
3. กรมส่ งเสริมสหกรณ์ จัดทาโครงการเพิ่มพื้นที่ปลูกใน 3 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่ปี 2547-2552 ผลการดาเนินการมีสมาชิกเข้าร่ วม
โครงการ 4,239 ราย พื้นที่ปลูก 36,534 ไร่
ส่ งเสริ มการผลิตปาล์ มน้ามัน (ต่ อ)
4. สานักงานปฏิรูปทีด่ ินเพือ่ เกษตรกรรม (ส.ป.ก.)
- กาหนดพื้นที่เพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิตสวนเดิม 150,000 ไร่
ในเขตปฏิรูปที่ดิน 7 จังหวัดได้แก่ กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรี ธรรมราช
พังงา ระนอง และสุ ราษฎร์ธานี
- กาหนดพื้นที่ปลูกใหม่ในเขตปฏิรูปที่ดิน 500,000ไร่ ใน 6 จังหวัด
ได้แก่ กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรี ธรรมราช พังงา และสุ ราษฎร์ธานี
5. กรมส่ งเสริมการเกษตร ได้ดาเนินโครงการส่ งเสริ มเพิ่มประสิ ทธิภาพ
ปาล์มน้ ามันปี 2551-2555 โดยใช้เงินกองทุน FTA จานวน 19.577 ล้านตัน
6. ธ.ก.ส. สนับสนุนสิ นเชื่อแก่เกษตรกรทัว่ ไป 3,644 ล้านบาท และ
โครงการปลูกทดแทนพลังงาน 905.17 ล้านบาท ในปี 2552/53
ยุทธศาสตร์ พฒ
ั นายางพารา
พ.ศ. 2552-2556
(มติ ครม. เห็นชอบ เมื่อ 4 พ.ค. 53)
ยางพารา
การผลิตยางพารา ปี 2549-2553
ล้านไร่
12
.0
72
11
.6
00
11
.3
71
11
.0
51
12.000
285
282
10
.8
93
14.000
กิโลกรัม
280
278
10.000
273
274
8.000
270
3.
15
8
3.
16
7
3.
02
4
3.
07
1
4.000
3.
09
0
266
6.000
275
265
260
2.000
0.000
255
2549
2550
้ ทีก
เนือ
่ รีดยาง(ล้านไร่) GR 2.57
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) GR -0.94
2551
2552
2553
ผลผลิต(ล้านต ัน) GR 0.78
แหล่ งผลิตยางพารา ปี 2553
ผลผลิต 3.158 ล้ านตัน
ภาค
0.72%
จังหวัด
7.68%
13.35%
12.10%
59.92%
9.67%
79.50%
ภาคเหนือ
7.90%
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ภาคกลาง
ภาคใต้
สุ ราษฎร์ ธานี
ตรัง
นครศรีธรรมราช
9.16%
นราธิวาส
อืน่ ๆ
เปรี ยบเทียบต้ นทุนการผลิตกับราคายางแผ่ นดิบชั้น3
ทีเ่ กษตรกรขายได้ ปี 2549-53
120
96.93
GR = 6.15
100
80
66.24
68.90
73.66
58.47
60
GR = 6.08
40
20
32.55
34.73
39.7
41.47
40.01
0
2549
2550
2551
2552
ต้ นทุนการผลิต(บาท/กก.)
ราคายางแผ่ นดิบชั้ น 3 ที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.)
2553
ยทุ ธศาสตร์ ยางพารา
ทิศทาง
 มีความสามารถในการแข่งขันเพิม่ ขึ้น
 สามารถเพิ่มประสิ ทธิ ภาพต่อหน่วยพื้นที่
 ลดสัดส่ วนการส่ งออกยางที่เป็ นวัตถุดิบ
 ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
 สามารถขยายตลาดผลิตภัณฑ์ยางทั้งในและต่างประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ ยางพารา (ต่ อ)
เป้าหมาย
1) เพิ่มผลผลิตต่อไร่ จาก 278 กก. ในปี 51 เป็ น 306 กก. ในปี 56 ทาให้
ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 3.09 ล้านตันในปี 2551 เป็ น 3.40 ล้านตันในปี 56
2) เพิม่ การใช้ยางธรรมชาติในประเทศจาก 397,495 ตัน ในปี 51
เป็ น 580,000 ตัน ในปี 56 หรื อเพิ่มขึ้น 46%
3) เพิ่มมูลค่าการส่ งออกผลิตภัณฑ์ยางและไม้จาก 178,935 ล้านบาท ปี 51
เป็ น 230,000 ล้านบาท ปี 56
4) เกษตรกรมีรายได้ไม่ต่ากว่า 15,000 บาท/ไร่ และที่ปลูกใหม่มีรายได้
จากการขายเครดิตคาร์บอน
5) เกษตรกรชาวสวนยางหรื อคนกรี ดยางมีสวัสดิการสังคม
แนวทาง/มาตรการดาเนินการ 8 กลยทุ ธ์
1) การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิตและคุณภาพยางที่เป็ นวัตถุดิบ
- พัฒนาการผลิตยางของเกษตรกรโดยใช้เทคโนโลยี
เหมาะสม เช่น พันธุ์ยางที่เหมาะสมกับพื้นที่ การเปิ ดกรี ดยางและ
การวิเคราะห์ดิน
- พัฒนาคุณภาพยางโดยสนับสนุนให้แปรรู ปผลผลิต
เบื้องต้นด้วยวิธีการที่ถูกต้อง
- พัฒนาระบบและกระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี
แนวทาง/มาตรการดาเนินการ 8 กลยทุ ธ์ (ต่ อ)
2) การพัฒนาระบบตลาดยางในประเทศและต่างประเทศ
3) การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมแปรรู ปยาง ผลิตภัณฑ์ยาง และ
ไม้ยางพารา
4) การปรับปรุ งระบบบริ หารจัดการภาครัฐ
แนวทาง/มาตรการดาเนินการ 8 กลยทุ ธ์ (ต่ อ)
5) ผลักดันความร่ วมมือระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
- ศึกษาผลกระทบ การปรับตัวและการใช้ประโยชน์จาก AEC
- ผลักดันการทางานร่ วมระหว่าง ITRC กับ เวียดนาม
- แสวงหาและร่ วมงานวิจยั และพัฒนาจากองค์กรระหว่างประเทศ
ผ่าน AEC
แนวทาง/มาตรการดาเนินการ 8 กลยทุ ธ์ (ต่ อ)
6) การสนับสนุนการวิจยั
7) เสริ มรายได้และยกระดับคุณภาพชีวติ เกษตรกร
ชาวสวนยาง
8) การพัฒนาบุคลากร
การส่ งเสริมการผลิตยางพารา
สานักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง (สกย.)
1. กาลังดาเนินการส่ งเสริ มการผลิตยางพาราตามโครงการปลูก
ยางพาราในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประมาณ 1 แสนไร่
(ปี 2553-2554)
2. อยูร่ ะหว่างการขออนุมตั ิโครงการขยายพื้นที่ปลูกยางพารา
ในที่แห่งใหม่ที่วา่ งเปล่า จานวน 8 แสนไร่ (ปี 2553-2555)