2. ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้

Download Report

Transcript 2. ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้

ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ ภาคใต้
คณะการจัดการสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
(Southern Regional Geo-Informatics and Space Technology Center :
SOUTHGIST
Faculty of Environmental Management
Prince of Songkhla University)
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ประวัตกิ ารจัดตั้งศูนย์ ภูมภิ าคฯ ภาคใต้
บันทึกความร่ วมมือ
ศูนย์ภูมิภาค ภาคเหนือ
ศูนย์ภูมิภาค ภาคตะวันออกเหนือ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศูนย์ภูมิภาค ภาคเหนือตอนล่าง
ศูนย์ภูมิภาค ภาคตะวันออก
มหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยนเรศวร
สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(องค์การมหาชน)
ศูนย์ ภูมภิ าคเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (ภาคใต้ )
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (หาดใหญ่ )
วันที่ 31 สิ งหาคม 2544
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
วิสัยทัศน์
ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้)
เป็ นหน่วยงานวิจยั และเผยแพร่ เทคโนโลยีระดับสู งด้าน Geo-Informatics
ของมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการประยุกต์ในการ
นาเอาเทคโนโลยีดงั กล่าวมาใช้ในด้านการเรี ยน การสอน การวิจยั
และการบริ การวิชาการในภูมิภาคภาคใต้
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
พันธกิจ
1. ดาเนินการวิจยั และ/หรื อการให้บริ การวิชาการด้าน Geo-Informatics ให้แก่หน่วย
งานทั้งของภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับ
ท้องถิ่น เพื่อตอบสนองตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย
2. จัดหาและรวบรวมข้อมูลด้าน Geo-Informatics ของภาคใต้ เพื่อไว้ให้บริ การแก่
หน่วยงาน/บุคคล ผูส้ นใจที่จะนาข้อมูลดังกล่าวไปประยุกต์ใช้
3. เป็ นศูนย์ขอ้ มูลด้าน Geo-Informatics ของภูมิภาค
4. เป็ นศูนย์ฝึกอบรมบุคลากรด้านเทคโนโลยี Geo-Informatics
5. เผยแพร่ ผลงานด้านการวิจยั และข้อมูลด้าน Geo-Informatics ให้แก่หน่วยงาน
ท้องถิ่นของภูมิภาค
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ผลการดาเนินงานของศูนย์ ภูมภิ าคฯ ภาคใต้
ปี พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
แผนการดาเนินงานแบ่ งออกเป็ น :
งานวิจยั
บริ การวิชาการ ประชุมสัมมนา
อบรมเชิงปฏิบตั ิการ
การเรี ยนการสอน
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
โครงการวิจัยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 -2554 จานวน 14 โครงการ
ปี งบประมาณ 2550
โครงการวิจัยจานวน 3 โครงการ
• การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม SPOT-5 เพื่อศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงของพื้นที่นาข้าวเป็ นพืชเศรษฐกิจ ยางพารา ปาล์น้ ามันและไม้ผลผสม
กรณี ศึกษาจังหวัดพัทลุง
• การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลดาวเทียม SPOT Enhancement
เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลบริ เวณจังหวัดปัตตานี
• การวิเคราะห์ที่ต้ งั ของอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามันในจังหวัดกระบี่โดยใช้
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ปี งบประมาณ 2551
โครงการวิจัยจานวน 2 โครงการ
• การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม SPOT - 5พื่เพื่อศึกษาการเปลี่ยน
แปลงของพื้นที่นาข้าวเป็ นพืชเศรษฐกิจอื่น และการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
ในจังหวัดพัทลุง
• การวิเคราะห์ที่ต้ งั ของอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามันในจังหวัดกระบี่โดยใช้
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ปี งบประมาณ 2552
โครงการวิจัยจานวน 3 โครงการ
• โครงการวิจยั เรื่ อง การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาการ
ชะล้างพังทลายของดินพื้นที่ลุ่มน้ าเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา
• การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาการใช้ที่ดินบนพื้นที่ภูเขา
• โครงการศึกษาวิจยั เพื่อพัฒนาระบบให้บริ การแผนที่ผา่ นเว็บ
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ปี งบประมาณ 2553
โครงการวิจัยจานวน 3 โครงการ
• การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลดาวเทียมรายละเอียดสูงในการจาแนกอายุยางพารา
เพื่อประเมินผลผลิตไม้ยางพาราสาหรับภาคอุตสาหกรรม : กรณี ศึกษา จังหวัด
สงขลา
• การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อประเมินศักยภาพของลุ่มน้ าสาหรับการ
สร้างโรงไฟฟ้ าพลังน้ าขนาดเล็ก : กรณี ศึกษาทะเลสาบสงขลา
• การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยว
ในจังหวัดสตูล
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ปี งบประมาณ 2554
โครงการวิจัยจานวน 3 โครงการ
• การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่ชุ่มน้ า
ทะเลน้อย
• การประเมินศักยภาพของน้ าตกบริ เวณเทือกเขาหลวง จังหวัดนครศรี ธรรมราช
สาหรับการสร้างโรงไฟฟ้ าพลังน้ าขนาดเล็ก โดยใช้ขอ้ มูลในระบบภูมิ
สารสนเทศ
• การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่นากุง้ ใน
ลุ่มน้ าทะเลสาบสงขลา
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ปี งบประมาณ 2550 - 2554
บริ การวิชาการ / อบรมเชิ งปฏิบัติการ / ประชุมวิชาการ
(กิจกรรมที่จัดประจาทุกปี )
•
•
•
•
•
กิจกรรม GISTDA Day
กิจกรรมประชาสัมพันธ์ดาวเทียมไทย THEOS (ไทยโชต : Thaichote)
นิทรรศการการประยุกต์ใช้ ข้อมูลดาวเทียมในงาน มอ.วิชาการ
การประชุมวิชาการร่วมศูนย์ภมู ิภาค 5 ศูนย์ และสทอภ.
นาเสนอผลงานและนิทรรศการในงานประชุมวิชาการเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ
สารสนเทศแห่งชาติ ประจาปี 2552
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ปี งบประมาณ 2550 - 2554
บริ การวิชาการ / อบรมเชิ งปฏิบัติการ / ประชุมวิชาการ (ต่ อ)
• การจัดฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การประยุกต์ใช้ ข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่อ
การพัฒนาสิง่ แวดล้ อม
• การจัดฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่ อง ภูมิสารสนเทศสาหรับเยาวชน
• อบรมเชิงปฏิบตั ิการ การพัฒนาระบบแผนที่โดยใช้ UMN
• โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง การประยุกต์ใช้ ข้อมูลภูมิสารสนเทศเพื่อ
การเรี ยนการสอน (ครู 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ )
• โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศเพื่อการ
วางแผนพัฒนาท้องถิ่น–การจัดทาผังชุมชน อบต. เทศบาลตาบล
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
การเรียนการสอน
เปิ ดสอนรายวิชา
• ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้ อม (Geographic
Information System for Environmental Management)
ระดับปริญญา โท –เอก คณะการจัดการสิ่งแวดล้ อม
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
• สนับสนุนการใช้ ข้อมูล GIS /RS ในการเรี ยนการสอนของอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัย
• สนับสนุนการใช้ ข้อมูล GIS /RS ในการงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี – โท –เอก
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
ภาพถ่ ายกิจกรรมศูนย์ ภูมภิ าคฯ ภาคใต้
ศูนย์ ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้
กิจกรรม GISTDA Day ประจาปี 2553
โรงแรมธรรมริ นทร์ ธนา อาเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
27 พฤศจิกายน 2552
อบรมเชิงปฏิบตั ิการ การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น
ณ ศูนย์ภมู ิภาค ฯ ภาคใต้ คณะการจัดการสิ่ งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
4-8 กรกฎาคม 2554