Transcript Document

โครงการแลกเปลีย่ นนิสิตนักศึกษา
(Student Exchange Program)
ขั้นตอนหลักการดาเนินโครงการแลกเปลีย่ น:
- การเซ็นสัญญาความร่ วมมือแลกเปลี่ยนนักศึกษา
- การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการไปแลกเปลี่ยน
- การประชาสัมพันธ์ให้นกั ศึกษาทราบและสมัครร่ วม
ไปแลกเปลี่ยน
- การอบรมก่อนเดินทางไปแลกเปลี่ยนต่างประเทศ
การเซ็นสั ญญาความร่ วมมือ
แลกเปลีย่ นนักศึกษา
เกณฑ์ พจิ ารณา:
1. ลาดับ และความมีชื่อเสี ยงของมหาวิทยาลัย
(Ranking & Accreditations)
2. จานวนรายวิชาที่สามารถเทียบเนื้อหารายวิชาได้
(Number of course equivalency)
การรวบรวมข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
การไปแลกเปลีย่ น
1. การเทียบเนื้อหาวิชา
2. ระบบการเปิ ด-ปิ ดภาคการศึกษาของ
ต่างประเทศ
3. ระบบการประเมินผล
4. การกาหนดกฎเกณฑ์การพิจารณารับ
สมัครไปแลกเปลี่ยน
5. ข้อมูลเรื่ องที่พกั วีซ่า การกิน และอื่นๆ
การประชาสั มพันธ์ ให้ นักศึกษาทราบ
และสมัครร่ วมไปแลกเปลีย่ น
1. เกณฑ์การพิจารณารับสมัครไปแลกเปลี่ยน
2. จานวนมหาวิทยาลัยที่รับเด็กไปแลกเปลี่ยน
3. ระยะเวลาการรับสมัคร
หมายเหตุ นักศึกษาที่สนใจควรจะต้องมาปรึ กษากับหลักสูตรฯ
เพื่อเตรี ยมความพร้อม และความเข้าใจที่ถูกต้อง
การอบรมก่ อนเดินทางไปแลกเปลีย่ นต่ างประเทศ
(Session before leaving)
1. การติดตามความคืบหน้าเรื่ อง ใบสมัคร
การลงทะเบียน ที่พกั วีซ่า ประกันภัย ตัว๋ เครื่ องบิน
2. การเข้าเรี ยน การเก็บเอกสารการเรี ยน
3. การศึกษาใบประมวลรายวิชา
(Course syllabus)
3. การเทียบเนื้อหาวิชาใหม่ หรื อเพิม่ เติม
4. การขอ Transcript
แนวทางการเทียบโอนหน่ วยกิตจาก
สถาบันการศึกษาต่ างชาติ
• ศึกษาระเบียบการโอนหน่วยกิตรายวิชา
จากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ
• การพิจารณาเทียบเนื้อหารายวิชา
• การพิจารณารับโอนหน่วยกิตหลังกลับมา
จากแลกเปลี่ยน
ระเบียบการโอนหน่ วยกิตรายวิชาจาก
สถาบันการศึกษาต่ างประเทศ
ระเบียบจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยว่ าด้ วยการโอนหน่ วยกิต
รายวิชาระดับปริญญาบัณฑิตจากสถาบัน การศึกษา
ต่ างประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544
ข้ อ 5 เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาอนุ ม ั ติ ก ารโอนหน่ ว ยกิ ต รายวิ ช า
คณะกรรมการประจ าคณะเป็ นผูพ้ ิ จ ารณาอนุ ม ัติการโอนหน่ ว ย
กิตรายวิชา โดยคานึ งถึงรายวิชาที่จะรับโอนหน่ วยกิตว่าจะต้องมี
เนื้ อหารายวิชาและเกณฑ์การประเมิ นผลอยูใ่ นมาตรฐานเดียวกับ
รายวิชาของจุ ฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และมี จานวนหน่ วยกิ ตไม่
เกิน 1 ใน 4 ของหน่วยกิตรวมตลอดหลักสู ตร
ระเบียบการโอนหน่ วยกิตรายวิชาจาก
สถาบันการศึกษาต่ างประเทศ (ต่ อ)
ระเบียบ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยว่ าด้ วยการโอนหน่ วยกิต
รายวิชาระดับปริญญาบัณฑิตจากสถาบันการศึกษาต่ าง
ประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544
ข้อ 6 รายวิชาที่รับโอนหน่วยกิตต้องได้สัญลักษณ์ไม่ต่ากว่า C หรื อ
เทียบเท่า และไม่นามาคิดแต้มเฉลี่ยสะสม ยกเว้นโครงการความ
ร่ วมมือหรื อโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับสถาบันการศึกษา
ในต่างประเทศที่มีขอ้ กาหนดระบุไว้ชดั เจนว่าให้โอนหน่วยกิต
และรายวิชาทั้งหมดและนามาคิดแต้มเฉลี่ยสะสมด้วย
การพิจารณาเทียบเนือ้ หารายวิชา
เกณฑ์ การพิจารณาเทียบเนือ้ หารายวิชา
(Course Mapping) ประกอบด้ วย
• เนื้อหารายวิชา (course description) หรื อ
ประมวลรายวิชา (course syllabus) 70 %
• จานวนหน่วยกิต (number of credit) 20 %
• จานวนชัว่ โมงการเรี ยนการสอน
(number of teaching hour) 10 %
ขั้นตอนการพิจารณาเทียบเนือ้ หารายวิชา
• หลักสู ตรรวบรวมข้อมูล เนื้อหารายวิชา หรื อประมวลรายวิชา
เพื่อเสนอหัวหน้าภาควิชาที่รับผิดชอบเปิ ดสอนรายวิชานั้นๆ
โดยอาจารย์ประจาวิชาจะเป็ นผูพ้ ิจารณาให้ความเห็นเบื้องต้น
และสิ้ นสุ ดด้วยการอนุมตั ิจากหัวหน้าภาควิชา
• เก็บผลการพิจารณาไว้เป็ นหลักฐาน และจัดทาสรุ ปตาราง
แสดงรายวิชาที่ผา่ นการอนุมตั ิเทียบเนื้อหารายวิชาแล้ว เพื่อ
แจ้งนิสิตทราบ
• ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหารายวิชาที่เปิ ดสอนใน
ต่างประเทศทุกภาคการศึกษาว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรื อไม่
หากมีการเปลี่ยนแปลงจะต้องเสนอพิจารณาเทียบเนื้อหา
รายวิชาใหม่
การพิจารณาเทียบจานวนหน่ วยกิตระหว่ าง
สถาบันการศึกษาในประเทศและต่ างประเทศ
จุฬาฯ
จานวนหน่วยกิต
American European
China
System
System
3
3
3
3
จานวนหน่วยกิตรวม
ตลอดหลักสูตร
137
140
180
140
ค่ าเบี่ยงเบน (Ratio)
0.021
0.021
0.016
0.021
การพิจารณาเทียบจานวนชั่วโมงการเรียนการสอน
ระหว่ างสถาบันการศึกษาในประเทศและต่ างประเทศ
สถาบัน
จุฬาฯ
สถาบันการศึกษา
ต่างประเทศ
หน่ วยกิต/วิชา
จานวนชั่วโมงเรียน +สอบ
3
42 + 6 = 48
2
28 + 4 = 32
?
ควรเทียบเท่าของในประเทศ
หรื ออย่างน้อย70 %
หมายเหตุ จานวนชัว่ โมงเรี ยนดูจาก Course Syllabus ว่ามีสอนทั้งหมดกี่
ครั้ง ครั้งละกี่ชวั่ โมง รวมสอบหรื อไม่
การพิจารณารับโอนหน่ วยกิตหลังกลับมา
จากแลกเปลีย่ น
• เนื้ อหารายวิชาต้องผ่านการพิจารณาเทียบและอนุมตั ิ
เรี ยบร้อยแล้ว
• พิจารณา Transcript ว่ารายวิชาที่ได้เรี ยนมาได้
สัญลักษณ์ไม่ต่ากว่า C หรื อเทียบเท่าหรื อไม่ โดยพิจารณา
คาอธิบายการให้เกรดของมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ระบุไว้
ในด้านหน้าหรื อด้านหลัง Transcript
ตารางการประเมินผลการศึกษาของจุฬาฯ
เกรด
A
B+
B
C+
C
D+
D
F
ความหมาย
ผลการประเมินขั้นดีเลิศ
ผลการประเมินขั้นดีมาก
ผลการประเมินขั้นดี
ผลการประเมินขั้นดีพอใช้
ผลการประเมินขั้นพอใช้
ผลการประเมินขั้นค่อนข้างอ่อน
ผลการประเมินขั้นอ่อน
ผลการประเมินขั้นตก
Excellent
Very Good
Good
Fairly Good
Fair
Poor
Very Poor
Fail
ตัวอย่ างประเมินของประเทศทีม่ ีระบบการให้ เกรดไม่ เหมือน
กับประเทศไทย EPSCI-BBA ESSEC Business School, France:
ECTS
Grade
A
EPSCI
Grade
16-20
Definition
Excellent: Outstanding performance with only minors errors
B
14-15.99 Very good: Above the average standards but with some errors
C
12-13.99 Good: Generally sound work with a number of notable errors
D
11-11.99 Satisfactory: Fair but with significant shortcomings
E
10-10.99 Sufficient: Performance meets the minimum criteria
F
0-9.99
Fail: Considerable further works is required
ตัวอย่ างประเมินของประเทศทีม่ ีระบบการให้ เกรดไม่ เหมือนกับ
ประเทศไทย University of Mannheim, Germany:
1.0-1.5
Excellent – an excellent performance
1.6-2.0
Very good – a performance considerably better than average
2.1-2.5
Good – a performance which is better than average
2.6-3.5 Satisfactory – an average performance
3.6-4.0
4.1-5.0
Sufficient – a performance which fulfils the specified
requirements
Fail – a performance which does not fulfill the specified
requirements
ตัวอย่ างประเมินของประเทศทีม่ ีระบบการให้ เกรดไม่ เหมือนกับ
ประเทศไทย Maastricht University, Netherlands:
Dutch Grade
ECTS Grade
Explanation
8,5-10,0
A
Excellent
7,5-8,4
B
Very good
7,0-7,4
C
Good
6,5-6,9
D
Satisfactory
5,5-6,4
E
Sufficient
1,0-5,4
F/FX
Insufficient
จากตารางตัวอย่ างประเมินของประเทศทีม่ ี
ระบบการให้ เกรดไม่ เหมือนกับประเทศไทยข้ างต้ น
พอสรุปได้ ดงั นี้
สั ญลักษณ์
(เกรด)
C
ความหมาย
Fair
Average,
Satisfactory
การอนุมัตริ ับผลการเรียนจาก
สถาบันต่ างประเทศ
สรุ ปรายวิชาที่เรี ยนต่างประเทศตามลาดับระบุใน Transcript
แสดงเกรดที่ได้รับ ดังตารางตัวอย่างต่อไปนี้ พร้อมแนบ
Transcript เพื่อเสนอคณะกรรมการประจาคณะเพื่อขอมติอนุมตั ิ
รับโอนหน่วยกิต
ลาดับ ชื่อ-นามสกุล
เลข
ประจาตัว
รายวิชาเรี ยน
ต่างประเทศ
เทียบรายวิชาเป็ น
เกรดที่ โอนเกรด
ได้รับ
เป็ น
A
S
CU
การส่ งผลการเรียนจากสถาบันต่ างประเทศ
ไปสานักทะเบียนและประมวลผล
กรอกแบบแจ้งผลการโอนหน่วยกิตรายวิชาต่าง
สถาบันการศึกษาโดยอ้างถึงมติอนุมตั ิรับโอนหน่วยกิตคณะ
กรรมการฯ ข้างต้น เพื่อแจ้งสานักงานการทะเบียนและ
ประมวลผลดาเนินการต่อไป
Contact us
BBA International Program
Faculty of Commerce and Accountancy
Chulalongkorn University
Phyathai Road, Bangkok 10330
Tel (662) 218-5840
Fax (662) 251-3718
E-mail [email protected]
Website http://bba.acc.chula.ac.th
Thank you