ภูมิปัญญาการทำเทริดโนราห์

Download Report

Transcript ภูมิปัญญาการทำเทริดโนราห์

ภูมป
ิ ญ
ั ญาการทา
“เทริดโนรา-หน้าพราน”
ครูไพฑูรย์ ศริ ริ ักษ์..
บันทึกภาพ/เรียบเรียงเรือ่ งราว
“เทริด”เป็ นเครือ่ งประดับศรี ษะของตัวนายโรงหรือโนราใหญ่หรือตัวยืนเครือ่ ง
ทาเป็ นรูปมงกุฎอย่างเตีย
้ มีกรอบหน ้า มีด ้ายมงคลประกอบ
ั ลักษณ์สาคัญ ทีบ
เทริด เป็ นสญ
่ ง่ บอกสถานภาพโนรา
ขัน
้ ตอนการสวมเทริดในพิธโี รงครูจงึ "ไม่ธรรมดา"
ื่ ว่าร่างโนรา ทีผ
เพราะชาวบ ้านเชอ
่ า่ นพิธค
ี รอบเทริด เป็ นร่างพิเศษเหนือมนุษย์ทั่วไป
ื่ สารกับโลกวิญญาณได ้
สามารถสอ
เพราะการร่ายราโนรา เป็ นความรู ้ของเทพยดา ทีม
่ าบังเกิดในร่างมนุษย์ เห็นได ้
จากพิธก
ี รรมนีจ
้ ะมีขน
ึ้ หลังจากโนราฝึ กร่ายราจนชานาญ
ครูโนราจะทาพิธค
ี รอบเทริด- -เครือ
่ งประดับศรี ษะ
ซงึ่ เป็ นเครือ
่ งแต่งกายทีม
่ ค
ี วามสาคัญทีส
่ ด
ุ ให ้แก่โนราใหม่ให ้เป็ นโนราเต็มตัว
คือ “พิธค
ี รอบเทริด” หรือ “พิธผ
ี ก
ู ผ้าใหญ่”
“เทริด” ม ักนิยมทาด้วยไม้ทองหลางใบมน โดยการขุด แกะ เหลาด้วยมือ
ให้พอขนาดสรวมศรี ษะได้ และกลึงในสว่ นยอด
แล้วลงร ักทาส ี ประด ับประดาด้วยว ัสดุตา่ งๆ
่ หน ังว ัว เชอ
ื ก กระจกส ี ไม้ไผ่ ฯลฯ
เชน
ทาเป็นกนกลวดลายตกแต่งสว่ นต่างๆ
่ งภูมป
ความสามารถในการทาของชา
ิ ญ
ั ญา “มโนราปรีชา”
น ับตงแต่
ั้
เริม
่ ต้นจนตกแต่งแล้วเสร็จ
เดือนละ ๓ เทริด สนนราคาเทริดละ ๔,๐๐๐ บาท
้ ้แกะเป็ นรูปใบหน ้า
“หน้าพราน” เป็ นหน ้ากากสาหรับตัว "พราน" ซงึ่ เป็ นตัวตลก ใชไม
ไม่มส
ี ว่ นทีเ่ ป็ นคาง ทาจมูกยืน
่ ยาว ปลายจมูก งุ ้มเล็กน ้อย เจาะรูตรงสว่ นทืเ่ ป็ นตาดา
ี ดงทัง้ หมด เว ้นแต่สว่ นทีเ่ ป็ น ฟั นทาด ้วยโลหะสข
ี าว
ให ้ผู ้สวมมองเห็นได ้ถนัด ทาสแ
ี าวหรืออาจเลีย
หรือทาสข
่ มฟั น (มีเฉพาะฟั นบน)
้
ี าวติดทาบไว ้ทาเป็ นผมหงอก
สว่ นบนต่อจากหน ้าผากใชขนเป็
ดสข
ซงึ่ เวลาพรานออกราจะสวมหน ้ากากทีเ่ รียกว่า "หน ้าพราน" หรือ "หัวพราน" นี้
ี าวหรือสเี นือ
แต่ถ ้าเป็ นตัวตลกหญิงจะทาสข
้ เรียกว่า "หน ้าทาส"ี
ี ดง หรือ “พรานบุญ” ตามความเชอ
ื่ ว่าเป็ นพรานคูบ
หน ้าพรานสแ
่ ญ
ุ ของพระศรีสธ
ุ น แห่งเมืองเบญจา
นิยมในในการออกเป็ นตัวตลกชายของมโนราหรือใชส้ าหรับออกมาบอกเรือ
่ งในการเล่นโนรา
นอกจากพรานบุญ แล ้ว ยังมี พรานเทพ พรานทิพย์ และพรานนวล
“พรานเฒ่าหน้าทอง” เป็นหน้าพรานทีโ่ นราพ ัทลุง และชาวพ ัทลุง น ับถือมาก
ั
ื่ ก ันว่าเป็นพรานทีม
ี มีสตย์
เนือ
่ งจากเชอ
่ ศ
ี ล
บนบานร ับ และมีการติดทองก ันจนกลายเป็น
“พรานหน้าทอง”
ื่ ศร ัทธา น ับถือ นิยมทาพรานหน้าทองไว้บนหิง้ สาหร ับบูชา
ตอนหล ังคนทีเ่ ชอ
้ อนกับหน ้าพราน
"หน ้าทาส"ี วิธก
ี ารทาและการใชเหมื
ี าวหรือสเี นือ
แต่จะทาสข
้ เป็ นหน ้ากากสาหรับตัวตลกหญิง
โนราบางคณะเรียก ตัวตลกหญิงว่า“อีแตน” บ ้าง “อีแหวว”บ ้าง
หน้ าพราน
• ในเครือย่าน ตา-ยาย ของโนรา หน้ าพราน จะมีความศักดิ ์สิทธิ ์และมี
ความสาคัญไม่น้อยไปกว่า เทริด ของมโนรา สาหรับในการแสดงของ
โนราทัวไป
่ หน้าพราน ใช้เป็ นตัวตลกและเป็ นตัวบอกเรื่อง เล่ นคู่กบั
หน้าทาสี(ตลกหญิง) แต่หน้าพราน ในโนราลงครูใช้สาหรับราแก้บน
• การทาหน้ าพราน ทัง้ พรานเฒ่าหน้าทอง พรานบุญหน้าแดง พราน
เทพ และพรานนวล นิยมทาด้วยไม้ทม่ี ชี ่อื เป็ นมงคลเพื่อเอาเคล็ดและ
เป็ นสิรมิ งคลกับผูใ้ ช้ เช่น ไม้รกั น้ า ไม้มะยม ไม้ขนุน ไม้ ม ะพูด และ
ไม้ยอ การแกะหน้าพรานจะเป็ นการแกะสลักด้วยมือ
• หน้ า พราน เป็ น หน้ า กากส าหรับ ตัว “พราน” ซึ่ง เป็ น ตัว ตลก ใช้ไ ม้แ กะเป็ น รูป
ใบหน้า ไม่มสี ่วนที่เป็ นคาง ทาจมูกยื่นยาว ปลายจมูกงุม้ เล็กน้อย เจาะรูตรงส่วนที่
เป็ นตาดา ให้ผู้สวมมองเห็นได้ถนัด ทาสีแดงทัง้ หมด เว้นแต่ส่วนที่เ ป็ นฟนั ทาด้วย
โลหะสีขาว หรือทาสีขาว หรืออาจลีย่ มฟนั (มีเฉพาะฟนั บน) ส่วนบนต่อจากหน้าผาก
ใช้ขนเป็ ดหรือห่านสีขาวติดทาบไว้ต่างผมหงอก
• หน้ าพราน มีความสาคัญและอานาจในทางศักดิ ์สิทธิ ์ไม่น้อยไปกว่าเทริดของโนรา
เป็ นสัญลักษณ์ ของความเป็ นสิรมิ งคล เห็นได้จากในช่วงเข้าทรงตายาย มัก เรียก
ลูกหลานให้เข้ามาราพรานเพื่อความโชคดี มีผู้สนั นิษฐานว่า สาเหตุท่ี หน้ าพรานมี
ความส าคัญ เทีย บเท่า กับ เทริด ของโนรา ก็เ นื่ อ งมาจากในอดีต "พราน" เป็ น ผู้ม ี
บทบาทสาคัญต่อสังคมยุคเก็บของป่าล่าสัตว์ และก่อนที่ชาวบ้านจะรับวัฒนธรรม
โนราเข้ามา ชาวบ้านเคยราพรานในพิธโี รงครูอยู่แล้ว พรานจึงเป็ นสัญลัก ษณ์ ของ
ความโชคดี และชาวบ้านให้ความเคารพนับถือเทียบเท่าโนรา เห็นได้จากตาแหน่ ง
ของ "หน้าพราน" หากยังไม่ได้นามาสวม จะต้องวางบนพาไล ซึ่งเป็ นสถานที่สาหรับ
บูชาใกล้กบั เทริดของโนราเท่านัน้
• การออกพราน เมื่อออกราจะต้องสวมหน้ ากากเรียกว่า "หน้ าพราน" ท่ารา
ของพรานนัน้ จะเป็ นท่าราที่ตลก และแสดงออกถึงความมันคงในท่
่
ารา เครื่อง
ดนตรีจะตีต่อเนื่องอย่างหนักแน่ น ทานองเสียงดนตรีการออกพราน เครื่ องจะตี
ว่า ฉับ เทิง ฉับ ฉับ เทิง ไปเรื่อยๆ ท่าราของพรานไม่มที ่าราที่แน่ นอน ขึน้ อยู่
กับความสามารถของพรานแต่ละคน แต่จะต้องมีท่าราพื้นฐาน ดังนี้ ย่ อตัวรา
หลังแอ่น ยืน่ อกไปด้านหน้ามากๆ นิ้วมือทีร่ าใช้ขา่ งละ ๑-๒ นิ้ว นิ้วอื่นๆ ต้องกา
ไว้ให้หมด การเดินอย่างรีบร้อนต้องเดินไปข้างหน้า ๒ ก้าวและถอยหลัง ๑ ก้าว
ท่าราของพรานมีแปลกๆ ออกไป เช่น ทาให้ท้องป่องผิดปกติ อาจจะป่องไป
ด้านซ้ายบ้าง ด้านขวาบ้าง หรือทาให้กล้ามเนื้อหน้ าท้องเคลื่อนไหวเป็ นลอน
คลื่น เป็ นต้น การแต่งกายของพราน ไม่สวมเสือ้ นุ่ งผ้าโจงกระเบน บางครัง้ นุ่ ง
ผ้ายาวปล่อยชายผ้าถึงพืน้ มือถือใบชิง* สะพายย่าม มือถือธนู ในย่ามของพราน
จะใส่กะปิ เกลือ พริกขีห้ นู ลักษณะเป็ นการเตรียมตัวสาหรับเดินปา่
• พรานเฒ่าหน้ าทอง เป็ นพรานที่โนราแถบจังหวัดพัทลุง และชาวพัทลุ งนับถือ
มาก เพราะเชื่อว่า เป็ นคนมีศลี มีสตั ย์ บนบานขานรับ จึงมีการติดทองแก้บนจน
กลายเป็ นพรานหน้ าทอง ตอนหลังโนราหลายคนจึงทา พรานหน้ าทอง ไว้
ส าหรับ บู ช าเป็ น การส่ ว นตัว และใช้ใ นการท าพิธีร าลงครู ข องตัว โนรา ใหญ่
อย่างเช่น โนรายก ชูบวั ศิลปินแห่งชาติ/ ครูโนรา
• จากการบอกเล่าของ โนราลัน่ เพชรสุข อายุ ๙๖ ปี โนราชาวทะเลน้อย อาเภอ
ควนขนุ น เล่าว่าพรานที่โนราและชาวบ้านทัง้ หลายนับถือ มีทงั ้ พรานเฒ่าหน้ า
ทอง พรานบุญหน้าแดง พรานเทพ และพรานนวล โดยเฉพาะพรานเฒ่าหน้า
ทอง เป็ นพรานทีโ่ นราพัทลุง และชาวพัทลุง นับถือมาก เนื่องจากเป็ น คนมีศลี มี
สัตย์ บนบานรับ จึงติดทอง จนตอนหลังต้องทาพรานหน้าทองไว้สาหรับบูชา
ภูมิปัญญาการทา “เทริดโนรา – หน้ าพราน”
• โนราปรีชา เพชรสุก อายุ ๖๔ ปี
• ภูมิ ล าเนา ๒๐๖ บ้า นท่ า ช้า ง หมู่ท่ี ๕ ต าบลพนางตุ ง อ าเภอควนขนุ น
จังหวัดพัทลุง
• ภูมิปัญญาด้านศิลปการด้านการทาเทริดโนรา
• ด้ว ยไม้ท องหลางใบมน ท าการขุด แกะ เหลาด้ว ยมือ และกลึง ในส่ว นยอด
ความสามารถในการทา เดือนละ ๓ เทริด ราคาเทริดละ ๔,๐๐๐ บาท
• การทาหน้ าพราน ด้วยไม้รกั น้ า ไม้มะยม ไม้ขนุ น เป็ นการแกะสลักด้วยมือ
ทาสีสวยงามประกอบผมด้วยผ้าสักหลาด พร้อมลูกปดั ทาได้ประณีตสวยงาม
ทัง้ หน้ า ชาย(พราน) และหน้ า หญิง (ทาสีห รืออีแ ตน) ราคาหน้ า ละ ๒,๐๐๐ –
๒๕๐๐ บาท