สร้างสรรค์เกษตรไทย - Tanit Sorat V
Download
Report
Transcript สร้างสรรค์เกษตรไทย - Tanit Sorat V
สร้ างสรรค์ เกษตรกรไทย
ก้ าวไกลอย่ าง SMART
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม 2557
ณ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1
Poor Farmer
ปัญหาเกษตรกรไทย คือความยากจน
1. เกษตรกรมีหนี้สูง หนี้ สินครัวเรื อนทั้งระบบ 9.233 ล้านล้านบาท เท่ากับร้อยละ 81.0 ของ GDP ส่ วนใหญ่เป็ นหนี้ภาค
เกษตร
2. รายได้ มีอัตราเฉลี่ยต่ากว่ าภาคส่ วนอื่น เป็ นปั ญหาจากการขาดความรู ้ ขาดข้อมูล และขาดการวางแผนการผลิต เพื่อให้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ทั้งด้านปริ มาณและคุณภาพ ส่ งผลต่อด้านราคาสิ นค้าเกษตรตกต่า (จังหวัดยากจน
ที่สุดกับร่ ารวยที่สุด รายได้ต่างกัน 40.8 เท่า)
3. เกษตรกรไทยส่ วนใหญ่ พงึ่ ตนเองไม่ ได้ ที่ผ่านมารัฐเข้าแทรกแซงต้นทุน บิดเบือนกลไกราคา เป็ นปั ญหาเชิงแข่งขันใน
อนาคต
4. ไม่ ใช้ ระบบตลาดนาการผลิต ภาคการเมืองเข้ามาแทรกแซง บิดเบือนราคาสิ นค้าเกษตร เพื่อแลกกับคะแนนเสี ยง ทาให้
เกษตรกรขาดการพัฒนา ทั้งด้านเทคโนโลยี และด้านการตลาด และจะเป็ นปัญหาเมื่อเปิ ด AEC
5. เกษตรกรไทยส่ วนใหญ่ เป็ นรายย่ อย ทาให้การพัฒนาแปลง-พื้นที่เพาะปลูก
มีตน้ ทุนสู ง ไม่สามารถแข่งขันกับทุนเกษตรกรขนาดใหญ่ ซึ่งทาครบวงจร
โดยมีตน้ ทุนผลิตที่ต่ากว่า รวมทั้งขาดการรวมกลุ่มอย่างเป็ นระบบ
6. ต้ นทุนการผลิตสู ง จากการกึ่งผูกขาดปุ๋ ย-อาหารสัตว์ พันธุ์พืช-พันธุ์สัตว์
รวมทั้งยาฆ่าแมลง และต้นทุนแรงงาน
7. ระบบการผลิตพึง่ พาธรรมชาติสูง ขาดการจัดการความเสี่ ยง ทั้งจากด้านถูก
กดราคา และด้านภัยธรรมชาติ
2
โครงสร้ างสั ดส่ วนมูลค่ าส่ งออกไทย (ปี 2556)
มูลค่าราคาการส่ งออก
ิ ค้า
สน
อุตสาหกรรม
การเกษตร
7.66%
ิ ค้าแร่และ
สน
ื้ เพลิง
เชอ
6.68%
สิ นค้าอุตสาหกรรม
4,825,528.6 ล้านบ. ขยายตัว (บาท) - 1.62%
สิ นค้าเกษตรกรรม
616,372.5 ล้านบ. ขยายตัว (บาท) -7.45%
สิ นค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 484,328.3 ล้านบ. ขยายตัว (บาท) - 6.89%
สิ นค้าแร่ และเชื้อเพลิง
405,270.5 ล้านบ. ขยายตัว (บาท) -7.86 %
ิ ค้า
สน
เกษตรกรรม
8.71%
ิ ค้า
สน
อุตสาหกรรม
76.22%
3
ที่มา : กระทรวงพาณิ ชย์
โครงสร้ างมูลค่ าภาคเศรษฐกิจไทย GDP (ปี 2555)
ภาคเกษตรกรรม มีมูลค่ าน้ อยทีส่ ุ ด
(สัดส่ วนเรี ยงลาดับจากน้อยไปหามาก)
ภาค
บริการภาค
่ ภาคเกษตร
ท่องเทีย
่ ว
ขนสง
บริการค้า
9.8 % 8.40%
่ 10.54 %
ปลีก-ค้าสง
13.40 %
ภาคบริการ
อืน
่ ๆ
14.40 %
้ า
ใชจ
่ ย
ร ัฐบาล
18.10 %
มูลค่าเศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม เท่ากับร้ อยละ 8.4
เทียบกับภาคอุตสาหกรรม ร้ อยละ 39.40
และภาคขนส่ง ร้ อยละ 9.8
ภาคนาเข้า
69.66 %
ภาคอุตสา
หกรรม
39.20 %
ภาคบริโภค
ภายใน
45.10 %
ที่มา : บางส่ วนจากธนาคารแห่งประเทศไทย
่
ภาคสง
ออก
63.33 %
มูลค่าภาคเกษตร ปี 2555
เฉพาะเงินกูโ้ ครงการจานาข้าว
ธกส.
835,903 ล้านบาท
410,000 ล้านบาท
60,000 ล้านบาท
4
อุปทานภาคเกษตร
ขีดความสามารถการแข่ งขันลดลงอย่ างต่ อเนื่อง
ราคาสิ นค้าเกษตร
ดัชนีผลผลิต
มูลค่าส่ งออกสิ นค้าเกษตร (ล้านบาท)
รายได้เกษตรกร
จานวนเกษตรกร
ปี 2555
-9.7%
4.0%
-17.29%
-6.1%
N/A
ปี 2556 (9 เดือน)
-0.15%
-1.06%
-8.48%
-2.0%
14 ล้านคน
5
Top Ten Rich & Poor
การพ้นความยากจน : แปรรูปผลิตภัณฑ์ เกษตสู่ เกษตรอุตสาหกรรม
จังหวัดยากจน
ลาดับ
จังหวัดร่ารวย
จังหวัด
GPP
ล้านบาท
PER CAPITA
บาท
Main
Occupation
1
อานาจเจริ ญ
12,099
30,231
เกษตรกรรม
2
บึงกาฬ
14,369
33,027
3
หนองบัวลาภู
17,929
4
ศรี ษะเกษ
5
GPP
ล้านบาท
PER CAPITA
บาท
Main
Occupation
ระยอง
751,066
1,235,695
อุตฯ /ท่องเที่ยว
เกษตรกรรม
สมุทรสาคร
315,381
541,155
อุตสาหกรรม
33,314
เกษตรกรรม
ชลบุรี
635,605
522,511
อุตฯ /ท่องเที่ยว
52,638
34,042
เกษตรกรรม
สมุทรปราการ
603,423
454,079
อุตสาหกรรม
ยโสธร
21,160
34,181
เกษตรกรรม
ปราจีนบุรี
190,513
414,521
อุตสาหกรรม
6
สกลนคร
40,710
35,094
เกษตรกรรม
อยุธยา
294,377
379,973
อุตสาหกรรม
7
แม่ฮ่องสอน
8,843
37,456
เกษตรกรรม
ภูเก็ต
104,616
345,269
อุตฯ /ท่องเที่ยว
8
สุ รินทร์
54,511
37,525
เกษตรกรรม
ฉะเชิงเทรา
246,591
340,916
อุตสาหกรรม
9
ชัยภูมิ
46,899
39,049
เกษตรกรรม
ปทุมธานี
285,450
340,479
อุตสาหกรรม
10
นครพนม
29,611
39,224
เกษตรกรรม
สระบุรี
181,973
295,928
อุตสาหกรรม
ข้อมูล ปี 2554 ที่มา:สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
จังหวัด
** กทม. อันดับ 4 GPP = 3,331,225 ลบ. / Per Capita = 485,672 บ.
** เชียงใหม่ อันดับ 29 GPP= 162,030 ลบ. / Per Capita = 100,942 บ.
** สงขลา อันดับ 17 GPP = 214,799 ลบ. / Per Capita = 145,270 บ.
6
เปรียบเทียบสั ดส่ วน GDP และแรงงานภาคเกษตร (ปี 2554)
มูลค่ าตา่ แต่ ใช้ แรงงานสู ง
ประเทศ
อินโดนีเซีย
ไทย
มาเลเซีย
มูลค่ าภาคกษตรต่ อ GDP (%)
14.7
12.3
12.0
สั ดส่ วนแรงงานต่ อแรงงานรวม (%)
38.3
40.7
13.0
ออสเตรี ย
ญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริ กา
4.0
1.2
1.2
3.6
3.9
0.7
อังกฤษ
0.7
1.4
แสดงให้ เห็นว่ ายิง่ พัฒนา สั ดส่ วนมูลค่ าภาคเกษตรต่ อจีดพี จี ะลดลง จาเป็ นทีป่ ระเทศไทย
จะต้ องเตรียมปรับโครงสร้ าง โดยเฉพาะแรงงนภาคเกษตร มิฉะนั้น เกษตรกรไทยจะไม่ พ้นจาก
ความยากจน
7
การขับเคลือ่ น SMART FARMER
สร้ างสรรค์ เกษตรกรไทยอย่ างยัง่ ยืน
• การสร้ างโซ่ คุณค่ าด้ านเกษตร ตั้งแต่ตน้ -กลาง-ปลายน้ า ทั้งภาคเกษตร-อุตสาหกรรม และด้าน
การตลาด รวมทั้งการพัฒนาสิ นค้าเกษตรเป็ นผลิตภัณฑ์ข้ นั สุ ดท้าย
• ขับเคลื่อนระบบตลาดนาหน้ าการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการของผูบ้ ริ โภค เน้นด้าน
คุณภาพและแข่งขันด้านราคา
• การนาเทคโนโลยีเข้ ามาสนับสนุนภาคเกษตร รวมทั้งนวัตกรรม ภูมิปัญญาชุมชนเข้ามาผสมผสาน
ในการเพิ่มผลผลิต ให้ความสาคัญต่อความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภคและเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม
• การส่ งเสริ มวิสาหกิจชุ มชนภาคเกษตร โดยเชื่ อ มโยงราคาอุ ตสาหกรรมในจังหวัด เพื่อ เพิ่ ม
มูลค่าเพิม่ สิ นค้าเกษตร และรายได้เสริ มเกษตรกร
• ส่ งเสริมตลาดล่ วงหน้ าเพือ่ เน้ นเสถียรภาพราคาอย่ างยั่งยืน การไม่บิดเบือนราคาด้วยการให้มีการ
แข่งขันด้วยระบบตลาด ทั้งตลาดจริ งและตลาดล่วงหน้า
• การผลิตเชิงพาณิชย์ - การลดต้ นทุนและเพิม่ คุณภาพสิ นค้ าเกษตร จะต้องมีกลไกขับเคลื่อนบูรณา
การ หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานซึ่ งเกี่ยวข้องกับสิ นค้าเกษตรและภาคเอกชนในการเพิ่มคุณค่า
สิ นค้าเกษตร
8
การพัฒนาภาคเกษตรไทย
• ส่ งเสริมความรู้ และข้ อมูลข่ าวสาร (Knowledge & Information Base) ให้กบั เกษตรกรไทยใช้ฐานความรู ้ในการ
ผลิต
• ด้ านการวิจัยและพัฒนาด้ านเมล็ดพันธุ์ (R&D) เกี่ยวข้องกับการวิจยั และการเลือกเมล็ดพันธุ์พืชที่เหมาะสมด้าน
คุณภาพ ผลผลิตต่อไร่ สูง
• การโซนนิ่งพืน้ ที่ (Zoning) การส่ งเสริ มการเกษตรด้วยการกาหนดพื้นที่ให้เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิ ด โดย
คานึงถึงด้านสิ นค้าอาหาร โดยเฉพาะน้ า รวมทั้งการควบคุมพื้นที่และปริ มาณการปลูกพืชให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของตลาด
• การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอย่ างครบวงจร ทั้งการหว่าน การให้ปุ๋ยที่
เหมาะสม การดูแลศัตรู พืช -โรคพืช-วัชพืช ระบบการเก็บเกี่ ยวและการเก็บ
รักษา ถนอมคุณภาพและความชื้น
• การนากลับมาใช้ ใหม่ (Reuse & Recycle) การบริ หารจัดการเกษตรแบบยัง่ ยืน
ต้องเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม ทั้งด้านน้ า-อากาศ-ดิน ด้านการนาซาก-กากส่ วน
เหลื อ ของพื ช กลับ มาใช้ใ หม่ ทั้ง ด้น การแปรรู ป ในอุ ต สาหกรรมกระดาษ
อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ พลังงานทางเลือก ฯลฯ
• การพัฒนา GMO ต้ องชัดเจน เป็ นทิศทางของสิ นค้าเกษตร ในการสนองกับ
ความต้องการของผูบ้ ริ โภค และความต้องการของภาคอุตสาหกรรมด้วยการมี
กฎหมายควบคุมและการทาความเข้าใจกับมวลชน
9
ทิศทางสร้ างเสถียรภาพราคาสิ นค้ าเกษตร
เพือ่ ให้ เกษตรกรพ้นจากความยากจน
• มูลค่ าเพิ่มสิ นค้ าและผลิตภัณฑ์ ข้ นั สุ ดท้ าย (Value Added) เพิ่มมูลค่าสิ นค้าเกษตรจะต้องมีการ
แปรรู ปสิ นค้าเกษตร ทั้งอาหาร วัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรม เช่น Bio-Plastic/Chemical เยื่อและ
กระดาษ เฟอร์นิเจอร์ และเครื่ องประดับ อุตสาหกรรมชิ้นส่ วนยานยนต์ ฯลฯ
• การพัฒนาพลังงานทางเลือกในสิ นค้ าเกษตร (Alternative Energy) สิ นค้าเกษตรที่มีศกั ยภาพ
ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็ นพลังงานทางเลือก เช่น อ้อย ปาล์ม ฯลฯ
• การเชื่อมโยงภาคเกษตรกับภาคอุตสาหกรรม (Industry Connectivity) การดาเนินการเชื่อมโยง
การผลิต ภาคเกษตร กับภาคอุตสาหกรรม จะต้องนาภาคเกษตรเข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่งในโซ่ อุปทาน
การผลิต และโซ่แห่งคุณค่าด้านการผลิต
• การบูรณาการแบบเกษตรครบวงจร (Cluster Integration) ภาคเกษตรจะต้องมีการบูรณาการ
เป็ นคลัสเตอร์ตน้ -กลาง-ปลาย
• องค์ กรของเกษตรกรต้ องเข้ มแข็ง (Integration) ขาดการรวมตัวที่เป็ นเอกภาพ ขาดทิศทางและ
ยุท ธศาสตร์ ที่ ชัด เจน ควรน าต้น แบบของสถาอุ ต สาหกรรมฯ และหรื อ สภาหอการค้า มา
ประยุกต์ใช้
10
การแปรรู ปเพิม่ มูลค่ าสิ นค้ าเกษตร
ต้ องมีคุณภาพและมาตรฐานสากล
•
•
•
•
•
•
GMP
HACCP
IFS
BRC
HALAL
ISO
: Good Manufacturing Practice
: Hazard Analysis Critical Control Point
: International Food Standard
: British Retail Consortium
: Permissible according to Islamic Law
: International Organization for Standardization
11
AEC ผลกระทบกับสิ นค้ าเกษตร??
1. การแข่ งขันด้ านราคาที่รุนแรง สิ นค้าเกษตรซึ่ งมีความอ่อนไหวด้านราคา อาจได้รับ
ผลกระทบ เช่น ข้าว ยาง ปาล์ม มะพร้าว เมล็ดกาแฟ มันสาปะหลัง ข้าวโพด
2. ความเสี่ ยงต่ อส่ วนแบ่ งตลาดทั้งส่ งออกและตลาดภายใน เกษตรกรส่ วนใหญ่ไม่ทราบถึง
ผลกระทบหลังการเปิ ด AEC เพราะสิ นค้าเกษตรส่ วนใหญ่รัฐบาลบิดเบือนราคา
3. ต้ นทุนการผลิตของเกษตรกรไทยสู ง แข่ งขันประเทศเพื่อนบ้ านไม่ ได้ ทั้งด้านค่าแรง
การกึ่งผูกขาดปุ๋ ย การใช้สารเคมี และยาฆ่าแมลง
4. การขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตรอย่ างรุ นแรง ในอนาคตอันใกล้ แรงงานในภาค
เกษตรจะขาดแคลนเป็ นวิกฤติของประเทศ ขณะที่การขาดการปรับปรุ งการผลิตและ
การนาเทคโนโลยีในภาคเกษตรยังขาดแผนพัฒนาที่ชดั เจน
5. การกาหนดมาตรการสิ นค้ าเกษตรอ่ อนไหวสู ง (Safeguard Mechanism) รัฐบาลควร
กาหนดเงื่อนไขปกป้ องสิ นค้าเกษตรซึ่งไทยมีความเสี ยเปรี ยบ ทั้งด้านภาษีนาเข้า การทุ่ม
ตลาด ด้าน GMO ด้านสิ่ งแวดล้อม ฯลฯ
12
เกษตรกรไทยพร้ อมก้ าวไกลสู่ สากล
AEC เหรียญสองด้ าน
เป็ นทั้งโอกาสและความท้ าท้ าย ขึ้นอยูก่ บั ว่าการปรับตัวหรื อรอโชคชะตา
เศรษฐกิจ (ใหม่ ) และชุ มชนไร้ พรมแดนของ AEC จะก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ
ผลผลิตประเทศเพือ่ นบ้ านจะเข้ ามาแย่ งตลาด
เกษตรกรรายย่ อยอาจได้ รับผลกระทบด้ านราคา
การพ้นจากความยากจนของเกษตรกร
ต้ องเพิม่ มูลค่ าและแปรรูปผลิตภัณฑ์ เกษตร
13
ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ WWW.TANITSORAT.COM
END
14