สารเพิ่มเติมในอาหารสัตว์

Download Report

Transcript สารเพิ่มเติมในอาหารสัตว์

Slide 1

สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต

สารเพิม่ เติมในอาหาร


Slide 2

2. สารเพิม่ เติมในอาหาร (feed additive)
สารชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือหลายชนิดรวมกันนามา
ผสมกับอาหารสั ตว์ เพือ่ วัตถุประสงค์ เฉพาะอย่ างใน
การเลีย้ งสั ตว์


Slide 3

สั ตว์ ยอมกินอาหาร / กินอาหารได้ มากขึน้
สั ตว์ สามารถย่ อยอาหารนั้นได้ สูงขึน้
 ถนอมคุณภาพอาหารสั ตว์
 ป้ องกันโรค
 อาหารไม่ เกิดการสู ญเสี ยมาก
 สั ตว์ สามารถดูดซึมธาตุอาหารได้ มากขึน้
 สั ตวสามารถนาอาหารทีถ่ ูกดูดซึมไปใช้ ประโยชน์
ยังเซลล์ ต่าง ๆ ของร่ างกายได้ ดีขนึ้


Slide 4



สารปฎิชีวนะ (antibiotics)
Neomycin, Chlortetracycline
Erythromycin

Chemotherapeutic compound
Chemoantibactirial
Arsanilic acid (Sodium arsanilate)
3 - nitro - 4 - hydroxy arsonic acid ,
Sulfa compound


Slide 5





Chemobiotic
dynafac, hygromycin
ยาถ่ ายพยาธิ (anthelmintics)

Thiabendazold


Slide 6

 สารปรับ pH ในทางเดินอาหาร

(pH regulator)

Acidifier : กรดอินทรี ย ์

Buffer :
ปรับpH ในกระเพาะรู เมนสัตว์เคี้ยวเอื้อง
sodium bicarbonate
sodium bentonite
magnesium oxide หิ นปูนบด


Slide 7

ทาไมต้ องใช้ กรดอินทรีย์
การย่ อยอาหาร
• สภาพความเป็ นกรดในกระเพาะ (pH 1.7 - 1.8)
จำเป็ นตอกำรกระตุ
นกำร


ทางานของ enzyme ที่ยอ่ ย โปรตีน
parietal cell HCl
• อำหำรจะรวมกับกรดในกระเพำะ
โดย H+ จับกับส่ วน acid binding receptors ของ
อาหารเพื่อปรับสภาพของ อาหาร ให้เหมาะแก่การย่อย


Slide 8

ลูกสั ตว์ ก่อนหย่ านม
ปรับ pH ในกระเพาะอาหารให้เป็ นกรดโดย
น้ าตาลแลคโตสในน้ านม
กรดแลคติก
pH ในกระเพาะอาหาร 3-4


Slide 9

ลูกสุ กร หลังหย่ านม
- ขาดแลคโตส
- ระบบทางเดินอาหารยังไม่ปรับสภาพรับอาหาร
ใหม่
- การสร้างกรดเกลือยังไม่พฒั นา
enzyme pepsin, trypsin, sucrase


Slide 10

• เสริมกรดลงไปเพือ่ ให้ กรดแตกตัวเกาะกับ receptors
ของอาหารเหลือกรดเกลือเพียงพอไปกระตุ้นการ
ทางานของ enzyme


Slide 11

บทบาทของกรดอินทรีย์ในอาหารสั ตว์
 ช่วยเสริ มกรดที่มีไม่เพียงพอในกระเพาะโดยเฉพาะ
ลูกสัตว์หลังหย่านม
 ลดระดับ pH ในกระเพาะ (pH ประมาณ 2)
pepsinogen pepsin

pH ต่ายับยั้งการ growth ของจุลินทรี ยท์ ี่ให้โทษ
เรงกำร
growth ของจุลินทรี ยท์ ี่สร้าง

กรดแลกติก


Slide 12

 เป็ น chelating agent
เพิ่มการดูดซึมของแร่ ธาต

เป็ นตัวกลำงในวิถส
ี รำงพลั
งงำน


Fumaric acid , citric acid
propionic acid , lactic acid Acidifier
Formic acid , citric acid
สุ กร
orthophosphoric


Slide 13

Buffer
ปรับpH ในกระเพาะรู เมนสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง
sodium bicarbonate
sodium bentonite
magnesium oxide
หินปูนบด


Slide 14

 สารป้ องกันการ Bloat
Poloxaline
 surfactant เป็ นพวก surface - active agents
เพือ่ ให้ เม็ดอาหารกระจายตัวดี เพือ่ น้าย่ อยย่ อยได้ ดีขนึ้
เลซิติน (lecithin)
ทาให้ ไขมันในอาหารกระจายตัวได้ ดีขนึ้
 สารเพิม่ รส (feed flavor)

Monosodium glutamate , nucleotide
กรดแอมิโนบางชนิด


Slide 15

• สารเพิม่ สี ในไข่ ไก่
สารสกัดจากธรรมชาติ

carotenoid
xanthophyll
สารเคมีสังเคราะห์

carophyll yellow
carophyll Red
carophyll pink

ใบกระถิน
ดาวเรือง

ดอก


Slide 16

• สารต้ านพิษต่ าง ๆ

Zeolite
Mycotoxin binder เช่ น
alfatoxin binder - aluminum silicate
- sodium bentonite


Slide 17

• Enzyme
ย่ อยพันธะเฉพาะ (specific bonds) ในวัตถุดบิ อาหาร
สั ตว์ ที่น้าย่ อยในร่ างกายไ ม่ สามารถย่ อยได้


เพิ่ ม การใช้ ประโยชน์ ได้ ของโภชนะต่ า งๆที่ สั ต ว์ ไม่

สามารถย่ อยได้
Tannins ในข้ าวฟ่ าง เรปซีด
phenolic acid, glucosinolate ในเรปซีด


Slide 18

• Enzyme
ลักษณะของ enzyme
1. สร้ างขึน้ จากสิ่ งมีชีวติ ิ เช่ น จุลนิ ทรีย์ และสั ตว์
2. เป็ นตัวกระตุ้น (catalyst) การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
โดยไม่ เสี ยสภาพ กลับคืนมาทางานใหม่ ได้
3. มีความจาเพาะสู งต่ อ substrate


Slide 19

จุดประสงค์ ในการใช้ Enzyme ในอาหารสั ตว์
ย่ อยพันธะเฉพาะ (specific bonds) ในวัตถุดบิ อาหาร
สั ตว์ ที่น้าย่ อยในร่ างกายไ ม่ สามารถย่ อยได้




เพิม่ การใช้ ประโยชน์ ได้ ของโภชนะต่ าง ๆ ที่สัตว์ ไม่
สามารถย่อยได้


Slide 20

ย่ อยสลายสารยับยั้งการใช้ ประโยชน์ ของอาหาร เช่ น
Tannins ในข้าวฟ่ าง เรปซีด

phenolic acid, glucosinolate ในเรปซีด

trypsin inhibitor ในถั่วเหลือง
b-glucan, arabinose xylans ในข้าวบาร์ เล่ย์, ข้าวสาลี


Slide 21

: monensin
Streptomyces cinnamonensis
สั ดส่ วนของ propionic acid เพิม่ ขึน้

ปรับปรุงการใช้ พลังงานให้ มีประสิ ทธิภาพ
น้าหนักตัว Feed efficiency


Slide 22

: phosphatase, phytase
ย่ อย phytate, phytic acid
: เพนโตซาเนส

ย่ อยเพนโตแซน
อาหารลูกสุ กรเล็ก (starter)


Slide 23

:protease, cellulase
: hemi-cellulase, glucanase
: Multienzyme system
Porzyme,
Allzyme


Slide 24

ลักษณะของEnzyme ทีด่ ี
1. มีความคงสภาพ ไม่ เสื่ อมเมือ่ เก็บไว้ นาน
.

2.. คงทนในสภาพอุณหภูมสิ ู ง เช่ นในกระบวนการอัดเม็ด (70 80 C)
3. คงทนต่ อนา้ ย่ อยในระบบทางเดินอาหาร เช่ น trypsin
4. สามารถทางานได้ ปกติในสภาพ pH ของระบบทางเดินอาหาร
5. สามารถรวมเข้ ากันได้ ดกี บั แร่ ธาตุ วิตามิน & สารอาหารทีม่ ี
ปริมาณน้ อย


Slide 25

•โบรไบโอติค (probiotics)

เป็ นการนาจุลนิ ทรีย์ ซึ่งมีชีวติ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อตัวสั ตว์
เติมลงในอาหารสั ตว์ เพือ่ -:
: สร้ างสารทีต่ ่ อต้ านจุลนิ ทรีย์ทเี่ ป็ นโทษต่ อสั ตว์
: ชะงักการเพิม่ จานวนของเชื้อโรคโดยการ
แย่ งพืน้ ที่หรือแย่งสารอาหาร
: ผลิต Enzyme ย่ อยอาหาร
: กระตุ้นภูมิต้านทาน
: สลายพิษของเชื้อโรค หรือสารต้ านโภชนะตัวอืน่ ๆ


Slide 26

กลไกการทางานของโปรไบโอติก
* ช่ วยสั งเคราะห์ วติ ามินและสารอาหารที่จาเป็ น

Bacillus

B. cereus ,

B. subtilis

สั งเคราะห์ vitamin B


Slide 27

* สร้ างกรดแลคติค

ความเป็ นกรดในทางเดินอาหาร

ยับยั้ง E. coli
* สร้ าง metabolite ที่มีผลยับยั้งปฏิกริ ิยาการสร้ างสารพิษ
สารที่ก่อให้ เกิดมะเร็ง

* กระตุ้นการทางานของ Enzyme ในปฏิกริ ิยากาจัดสารพิษ


Slide 28

* กระตุ้นการสร้ าง & การทางานของ Enzyme ใน GI

Lactobacillus sp
Bacillus

amylase

Clostridium

protease

amylase,


Slide 29

* สร้ างสารปฏิชีวนะที่มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลนิ ทรีย
ที่ก่อให้ เกิดโรคใน GI

L. acidophilus

acidolin

* รักษาสมดุลของ flora ใน GI
ยับยั้งการ growth ของจุลนิ ทรีย์ทใี่ ห้ โทษ เช่ น E.Coli
เร่ ง growth ของจุลนิ ทรีย์ทใี่ ห้ ประโยชน์ เช่ น Lactobacilli


Slide 30

* ลดปริมาณแอมโมเนีย
B. cereus ลด NH3ในอุจจาระ
* เพิม่ ปริมาณ VFA เช่ น propionic acid
ปรับ pH ให้ เหมาะสมกับการทางานของ gastric juice

B. cereus
* ยับยั้งการสร้ าง amine จากจุลนิ ทรีย์ในทางเดินอาหาร
แบคทีเรีย พวก Bifidobacteria


Slide 31

คุณสมบัตขิ องจุลนิ ทรีย์ทใี่ ช้ เป็ นโบรไบโอติค
1. เป็ นจุลนิ ทรีย์ทมี่ ีความปลอดภัย
species Lactobacillus, Bifidobacterium
Streptococcus
2. ทนทานเมื่อผ่ านกระบวนการผลิตอาหาร
ความร้ อน ความชื้น
3. ทนต่ อสภาพภายในทางเดินอาหาร
เอนไซม์ ในทางเดินอาหาร amylase, lysozyme

น้าดี ความเป็ นกรด


Slide 32

4. มีฤทธิ์ต่อต้ านจุลนิ ทรีย์ชนิดอืน่ ๆ โดยการสร้ างกรด
หรือ สารต่ อต้ าน
5. เป็ นจุลนิ ทรีย์ทเี่ จริญกันเป็ นกลุ่มบนผนังทางเดินอาหาร
ทาให้ ขดั ขวางการเจริญของจุลนิ ทรีย์ทเี่ ป็ นโทษ
6. มีวงชีวติ สั้ น ขยายจานวนได้ รวดเร็ว
7. เป็ นจุลนิ ทรีย์ทเี่ ป็ นประโยชน์ แก่ ตวั สั ตว์ เช่ น
เร่ งการเจริญเติบโต
สร้ างสารที่จาเป็ นต่ อการเจริญเติบโต


Slide 33

8. มีความจาเพาะต่ อสั ตว์ แต่ ละชนิด
9. ควรเป็ น gram positive
ทนต่ อการย่ อยสลายของเอ็นไซม์ ใน GI

10. มีความเสถียรในการเก็บรักษา
สู ญเสี ยสภาพไม่ เกิน 25 % หลังผ่ านการผลิต (6
สั ปดาห์ ) หรือ 40% หลัง 12 สั ปดาห์


Slide 34

ชนิดของจุลนิ ทรีย์ทใี่ ช้ เป็ นโบรไบโอติค
1. จุลนิ ทรีย์ทเี่ จริญในสภาพมีอากาศ (aerobes)
genus Bacillus เช่ น
Bacillus cereus เตรียมได้ จากดิน
Bacillus cougulans จากข้ าวมอลต์

สร้ างกรดแลคติค
Bacillus subtilis จากหญ้ าแห้ ง


Slide 35

2. จุลนิ ทรีย์ทเี่ จริญเติบโตในสภาพทีไ่ ร้ อากาศ

(anaerobes)
genus Clostridium
Clostridium butyricum จากลาไส้ คน
สร้ างกรดบิวทีริค

3. จุลนิ ทรีย์ทสี่ ร้ างกรดแลคติค (lactic acid organism)

genus Bifidobacterium lactobacillus
Entrococci


Slide 36

4. ยีสต์ มีความสามารถในการหมักย่ อย

genus Saccharomyces
Saccharomyces cerevisiae
ผลิตprotease, peptidase & เอนไซม์ ย่อย CHO

ลูกสุ กรเล็กหลังหย่านม
สุ กรขุน สุ กรอุ้มท้ อง


Slide 37

* การใช้ โบรไบไอติคร่ วมกับยาปฏิชีวนะ

ใช้ ยาปฏิชีวนะทีท่ าลายจุลนิ ทรีย์ทใี่ ห้ โทษในทางเดิน
อาหาร แต่ ไม่ ทาลายโบรไบโอติคทีเ่ ติมลงไป เกิดประโยชน์ ท้งั
ด้ านการใช้ โบรไบโอติคและการรักษา

Probios (L. acidophillus) + tylosin,
lincomycin


Slide 38

ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ จาก :

การใช้ โบรไบโอติค เอ็นไซม์ และกรดอินทรีย์ในอาหาร
สั ตว์
วารสารสั ตวบาลที่ 6 ฉบับที่ 32 มี.ค. - เม.ย.
2539