92 - ayph.in.th

Download Report

Transcript 92 - ayph.in.th

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์
นักวิชาการสาธารณสุ ขปฏิบตั ิการ ศูนย์อนามัยที่๑
น้ าเน่าคืออะไร
น้ำเน่ ำ คือ น้ำเสียที่ขำดออกซิเจนละลำยในน้ำ ประกอบด้วย
• สำรอินทรียล์ ะลำยน้ำ
• แบคทีเรีย ทัง้ ชนิดที่ใช้อำกำศ (Aerobic) และชนิดที่ไม่ใช้อำกำศ
(Anaerobic)
• แร่ธำตุต่ำงๆ โมเลกุลต่ำงๆ ออกซิเจน ไนไตร ไนเตรท ไนโตรเจน
คำร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟต ซัลไฟต์ คำร์บอเนท ฯลฯ
มหาอุทกภัยครั้งนี้ เรามีนา้ เน่ าแบบไหนบ้ าง
น้ำเสียหลัก มี 2 ประเภท คือ
น ้ำเสีย
อนินทรี ย์
น ้ำเสียอินทรี ย์
• สำรประกอบโลหะหนักต่ำงๆ
• จุลชีพสำมำรถย่อยสะลำยหรือทำ
ให้เน่ ำเสียได้ (เช่น อำหำร พืช หญ้ำ)
และส่วนมำกจะมีเชื้อโรค+พยำธิ
แถม
การจัดการน้าท่วมขัง
• ครัวเรือน ควรปฏิบตั ิดงั นี้
ในกรณีที่มีน้าท่วมขัง ควรลดปัญหาน้าเน่าเสียเบื้องต้นโดยการ
เก็บขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิก ูล สารอินทรียเ์ น่าเสียออกจากน้าที่ขงั อยู่
การแก้ปัญหาน้าเน่าขังในบริเวณบ้าน
การใช้ปูนขาว โดยการละลายปูนขาว 150-300
กรัม
(ประมาณ 1-2 แก้วน้าดื่ม)ต่อน้าเสีย 1 ล ูกบาศก์เมตร (หรือ
1000 ลิตร) ขึ้นอยูก่ บั ความสกปรกของน้าเน่า จะช่วยทาให้น้าใส
ขึ้ นและลดกลิ่ น เหม็ น แต่ ส ารอิ น ทรี ย ์ใ นน้ า ซึ่ ง เป็ นเหต ใุ ห้น้ า
สกปรกไม่ได้ลดลง
การใช้ EM
EM ทีมีเชื้อจุลินทรียค์ ดั สายพันธส์ ุ าหรับลดกลิ่ นเหม็นของน้า
เน่า ควรเป็นน้าเน่าขังและมีแสงแดดช่วย (ในกรณีน้าเน่าไหลจะ
ใช้ไม่ได้ผล)
EM (Effective Microorganisms)
จุลินทรีย์ EM แบ่ งออกเป็ น 3 กลุ่ม
1. จุลินทรีย์ท่ สี ร้ างกรดแลคติก
2. ยีสต์
3. แบคทีเรียสีม่วง
ประเภทของ EM
• แบบผง
• แบบนา้
• EM Ball
EM แบบผง
• จีพีโอ เมกะคลีน พลัส (GPO MEGAKLEAN PLUS)
• จีพีโอ เมกะคลีน พลัส เป็ นผลิตภัณฑ์ ชีวภาพที่กาจัด กลิ่นเหม็น
และช่ วยย่ อยสลายของเสียประเภทสารอินทรีย์ นอกจากนีย้ งั เป็ น
ตัวเร่ งและกระตุ้นปฏิกิริยาการย่ อยสลายให้ เกิดขึน้ อย่ างต่ อเนื่อง
และสมบู ร ณ์ แบบ อี ก ทั ง้ ยั ง มี ค วามปลอดภั ย ต่ อ คน สั ต ว์ พื ช
สิ่ ง แวดล้ อม และเป็ นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ รั บ การขึ น้ ทะเบี ย นจาก
คณะกรรมการอาหารและยา
ขนาดของผลิตภัณฑ์ จีพโี อ เมกะคลีน พลัส
ขนาด 10 กรั ม
ขนาด 1 กิโลกรั ม
ขนาด 10 กิโลกรั ม
วิธีการใช้งาน จีพีโอ เมกะคลีน พลัส
• นาจีพีโอ เมกะคลีน พลัส มาแช่ นา้ ทิง้ ไว้ อย่ างน้ อย 4 ชั่วโมง หรือ
ข้ ามคืนก่ อนการใช้ งาน แต่ ไม่ ควรเกิน 48 ชั่วโมง โดยมีวิธีการ
และอัตราการใช้ ดงั นี ้
4.1 แหล่งน้าเน่าเสีย
ปริมาณการใช้ : คานวณตามปริมาณนา้ ในคลอง (กว้ างxยาวxสู ง)
อัตราการใช้ : แก้ไขปัญหารุนแรง ใช้ 3 ppm (3 กรัม/นา้ เสี ย 1,000 ลิตร)
แก้ไขปัญหาปานกลาง ใช้ 1 ppm (1 กรัม/นา้ เสี ย 1,000 ลิตร)
ป้องกันปัญหาหรือรักษาสภาพ ใช้ 0.5 ppm (0.5 กรัม/นา้ เสี ย 1,000 ลิตร)
วิธีการใช้ งาน : แช่ จีพโี อ เมกะคลีน พลัส ตามจานวนทีค่ านวณได้ ในนา้ และ
แช่ ทงิ้ ไว้ อย่ างน้ อย 4 ชั่วโมง หรือข้ ามคืน หลังจากนั้น ให้ นาส่ วนผสมทีไ่ ด้
ทั้งหมดไปสาดให้ ทวั่ คลอง โดยอาจจะแบ่ งเป็ นจุด ห่ างกันประมาณจุดละ
250 เมตร
4.2 ห้องน้า ห้องส้วม ท่อน้าและท่อระบายน้า
• ปริมาณการใช้ : นาจีพีโอ เมกะคลีน พลัส มาแช่ นา้ ทิง้ ไว้ อย่ างน้ อย 4
ชั่วโมง หรื อข้ ามคืนก่ อนการใช้ งาน แต่ ไม่ ควรเกิน 48 ชั่วโมง โดยมี
วิธีการและอัตราการใช้ ดังนี ้
• ห้ องนา้ ห้ องส้ วม ใช้ ครั ง้ แรกปริมาณ 5 กรั มต่ อจุดที่เกิดปั ญหา
หลังจากนัน้ ใช้ อาทิตย์ ละ 1 กรั ม โดยในโถส้ วมสามารถใส่ จีพีโอ เมกะ
คลีน พลัส ลงไปแล้ วราดนา้ หรื อกดชักโครกได้ เลย
• ท่ อนา้ และท่ อระบายนา้ แช่ จีพีโอ เมกะคลีน พลัส ในนา้ 1 แก้ ว
จากนัน้ นาเฉพาะส่ วนที่ใสไปเทราดในท่ อ ส่ วนตะกอนที่เหลือให้ เทใน
ชักโครก
• หมายเหตุ : ถ้ าปริมาณของเสียถูกปล่ อยออกมาทุกวัน ควรทาการบาบัดอย่ างต่ อเนื่อง
EM แบบน้า
EM Ball
การจัดการนา้ เสียของบ้านเรือนในพื้นที่นา้ ท่วม
กรณีนา้ ที่ท่วมเน่ าเหม็น มีวิธีดาเนินการดังนี้
ใช้ เมกกะคลีนพลัส (EM ผง) 1 ช้ อนของผลิตภัณฑ์ (1 กรัม) ต่ อนา้ เสี ย 1
ลูกบาศก์เมตร (หรือ 1000 ลิตร)เติมซ้าทุกสั ปดาห์
ใช้ อเี อ็มบอลล์โยนลงในแหล่งนา้ เสี ย 1 ก้อน/พืน้ นา้ 4 ตารางเมตร ลึก 2.5
เมตร
ใช้ นา้ ยา EM หรือ นา้ หมักชีวภาพ 1 ลิตร ต่ อนา้ เสี ยทีท่ ่ วมขัง 1 ลูกบาศก์
เมตร (หรือท่ วมสู ง 1 เมตร ในพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร ) ทุกๆสั ปดาห์ (หากมี
กลิน่ เหม็นมาก ให้ ใช้ ทุกๆ 3 วัน)
ข้ อควรคานึงถึงการใช้ EM
•
•
•
•
ขนิด ปริมำณ และควำมสำมำรถของจุลนิ ทรียท์ น่ี ำมำทำ EM
ปริมำณกำรใช้ต่อพืน้ ทีท่ เ่ี หมำะสม
ควำมลึกของน้ำ
มีกำรติดตำมผล โดยกำรวัดคุณภำพน้ำ เช่น DO BOD หลังกำร
บำบัด
สร ุปการจัดการน้าเน่าและน้าท่วมขัง
เติม O2
ระบายน้า
EM
เก็บขยะ
ขอบคุณคะ