Bacillus subtilis (Pseudomonas) สาเหตุของโรคเหี่ยวเขียวในมะเขือเทศ Rolstania

Download Report

Transcript Bacillus subtilis (Pseudomonas) สาเหตุของโรคเหี่ยวเขียวในมะเขือเทศ Rolstania

การเป็ นปฏิปักษ ์ของ Bacillus subtilis
ต่อเชือ้ Rolstania (Pseudomonas)
่
solanacearum สาเหตุของโรคเหียว
เขียวในมะเขือเทศ
จัดทาโดย
นางสาว ซาพู เราะห ์
สาเมาะ
404652038
โปรแกรมวิชา
ความเป็ นมา

ในยุคปัจจุบน
ั คนไทยนิ ยมร ับทานพืชผักมาก
่
ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิงมะเขื
อเทศ มะเขือเทศ
(tomato : Lycopersicon esculentum
่
Mill.) เป นผักในวงศ Solanaceae ซึงเป
่ าคัญ เนื่ องจากมะเขือ
นพืชเศรษฐกิจทีส
้
เทศ มีสารต ้านอนุ มูลอิสระ ยับยังการเกิ
ด
โรคมะเร็งหลายชนิ ด แต่ในทางกสิกรรมพบ
่
่
่
ปัญหาหลายอย่างเกียวกั
บโรคพืช ซึงโรคที
สร
างความเสียหาย และเป นอุปสรรคในการ
่
่
่ ดจาก
เพิมผลผลิ
ตคือ โรคเหียวเขี
ยวทีเกิ

่
่ ดจากแบคทีเรียนี ้ เมือพื
่ ช
โรคเหียวเขี
ยวทีเกิ
้ ้าทาลายพืชได ้
เป็ นโรคแล ้วมักตาย โดยเชือเข
ทุกระยะการเจริญเติบโต และโรคจะระบาด
้ เป็
่ นสาเหตุโรคนี มี
้
ลุกลามอย่างรวดเร็ว เชือที
้
ชีวต
ิ อยูใ่ นดินได ้นาน และมีเชืออาศั
ยมากกว่า
200 ชนิ ดในสายตระกูล ต ้านทานสารเคมีและ
สารปฏิชวี นะหลายชนิ ด การพัฒนาของโรคจะ
้ ง
เร็วมากในสภาพอากาศร ้อนจัดและความชืนสู
่
การเกิดโรคเหียวเขี
ยว




่
โรคเหียวเขี
ยวเกิดจาก แบคทีเรียเชือ้
Ralstonis Solanacearum
้
ช (xylem)
โดยจะอาศัยในท่อลาเลียงนาของพื
้ ดตัน
ทาให ้ท่อนาอุ
การเกิดโรคมักจะเกิดเป็ นหย่อมๆ และขยาย
่
ออกเป็ นวงกว ้างเรือยๆ
่ ความชืนสู
้ ง การเกิดโรคจะมาก
ในสภาพดินทีมี
และมีการระบาดรวดเร็ว
่ ตด
อาการของต้นมะเขือเทศทีมี
ิ
เชือ้



่
่ ใบ
่ และ
ต ้นมะเขือเทศแสดงอาการเหียวเริ
มที
บางส่วนของพืช
่
่
หลังจากนั้น 2-3 วัน อาการเหียวจะเพิ
มมาก
้
ขึนอย่
างรวดเร็ว
่ มอ
โดยทีไม่
ี าการ ใบเหลืองหรือใบจุดเกิดขึน้
ภายในไม่กวัี่ นต ้นมะเขือเทศจะตาย
่
อาการของโรคเหียวเขี
ยว (ต่อ)



่ ดต ้นมะเขือเทศตามขวางจะเห็นไส ้กลาง
เมือตั
ต ้นเป็ นกลวง
เมือ
่ นาไปจุม
่ น้ าจะพบ bacterial streamไหล
ออกจากบริเวณรอยตัด
้
ข ้อสงั เกตนีใ้ ชแยกอาการเหี
ย
่ วทีเ่ กิดจาก
ื้ รา Fusarium oxysporum หรืออาการ
เชอ
ื้ รา Sclerotium
เหีย
่ วเหลืองทีเ่ กิดจากเชอ
rolfsii
การแพร่ระบาด



้
เชือแบคที
เรียอาศัยอยูใ่ นดิน และนา้
่
เข ้าสูพ
่ ช
ื โดยทางบาดแผลโดยเฉพาะแผลทีราก
่ ดจากการกระทาโดย
ซึงเกิ
คน แมลงกัดกิน
 ไส ้เดือนฝอย
 รอยแตกตามธรรมชาติทบริ
ี่ เวณโคนต ้น
(lenticel)

การแพร่ระบาด (ต่อ)




้
้
เชือโรคจะเข
้าไปอาศัยอยูใ่ นส่วนของท่อนาของ
พืช
แพร่ระบาดได ้ดีทอุ
ี่ ณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส
้
ขึนไป
โดยติดไปกับเม็ดดินในขณะย ้ายกล ้าหรือไปกับ
้
่ นโรคไปสูต
นาไหลจากต
้นทีเป็
่ ้นปกติ
R.solanacearum จะมีการเคลือ
่ นทีจ
่ ากท่อ
ลาเลียงน้ าจากท่อหนึง่ ไปยังอีกท่อหนึง่
์ ม
โดยจะผ่านทางเยือ
่ หุ ้มเซลสท
ี่ ก
ี ารเสยี
Ralstonia solanacearum

ั ฐานวิทยา
สณ
 เป็ นแบคทีเรียแกรมลบ
 รูปร างเป็ นท อนเซลล
หัวท ายมน
 ขนาดเฉลีย
่ 0.5-0.6x0.8-1.2 ไมโครเมตร
 ไม สร างสปอร
เคลือ
่ นทีไ่ ด โดย
Lophotrichous flagella 1-4 เส นทีต
่ ด
ิ อยู ที่
ขัว้ ของเซลล
 มีโครโมโซม 1 อันและมี megaplasmid ทีเ่ ล็ก
และมีความบอบบาง มีอยูท
่ งั ้ หมดประมาณ5.8
mbซงึ่ จะมีความแตกต่างจากแบคทีเรียทัว่ ไป
ลักษณะvirulent ของแบคทีเรีย
Ralstonia Solanacearum

แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ

ลักษณะ virulent colony
 รูปร่างไม่คอ
่ ยกลม มีสข
ี าวขุน
่
 ตรงกลางโคโลนี จะมีสช
ี มพูอ่อน
้
 กระจายตัวในนาได
้ดี
 สามารถทาให ้พืชเกิดโรคได ้

ลักษณะ non- virulent colony
 มีลก
ั ษณะกลม
 ขอบเรียบ และคล ้ายเนย
 ตรงกลางโคโลนี มส
ี แี ดงเข ้ม ขอบใส
 ไม่สามารถทาให ้พืชเกิดโรคได ้
่
นิ เวศวิทยาทัวไป
Ralstonia
Solanacearum



้
สามารถแพร่กระจายในนาได
้ดี
ดารงชีวต
ิ อยูใ่ นดินโดยอาศัยรากของพืช
สามารถอยูบ
่ นหน้าดินแห ้งได ้ 5 เดือน
แบคทีเรีย Bacillus subtilis
่ นปฏิปักษ ์กับแบคทีเรีย
เป็ นแบคทีเรียทีเป็
่
Ralstonia Solanacearum ซึงอาจจะใช
้ใน
้
่
การยับยังโรคเหี
ยวเขี
ยวได ้
่
ลักษณะโดยทัวไปของ
Bacillus
subtilis








เป็ น aerobic หรือ facultative anaerobic bacteri
มี endospore
ไม่ทาให ้เกิดโรค
ี รัมบวก รูปแท่งตรง
ติดสก
มี flagella แบบ peritrichous
เจริญได ้ดีท ี่ pH 5.5-8.5
สร ้าง Hydrolytic enzyme
ทีส
่ ลาย polysaccharide, nucleic acid และ lipid





้
เจริญปะปนอยู่มากมายทังในดิ
น ตามผิวพืช
่ สารประกอบคาร ์โบไฮเดรตสูง
แหล่งอาหารทีมี
สามารถแยกได ้ง่าย
จัดอยูจ
่ าพวกAntibiotic Producers
่
สารปฎิชวี นะทีส
่ ร ้าง เชน
 polymyxin ,
 dificidin ,
 subtilin ,
 myobacilin ,
 bacteriosin,
 chitinase,
 glucanase
B.subtilis เป็ นปฏิปักษ ์อย่างไรก ับ
R.solanacearum


้
ลักษณะกลไกในการยับยังของแบคที
เรียในสกุล
Bacillus นั้น โดย Bacillus จะผลิตสารปฏิชวี นะ
และB.subtilis ยังผลิตสารเมตาโบไลท์อน
ื่ ๆ อีก
หลายชนิด
่ biosurfactant
 เชน
 เอนไซม์ไคติเนส (chitinase) และเอนไซม์
อืน
่ ๆอีก
 สารระเหย จาก secondary metabolism
pathway

สารปฏิชวี นะจะเข้าไปทาปฏิก ิรย
ิ ากับ
Ralstonia solanacearum โดยจะไป
รบกวนกระบวนการต่างๆของจุลน
ิ ทรีย ์
ดังต่อไปนี ้
ั (adsorption)
 การดูดซบ
 การหายใจ
 การเผาผลาญพลังงาน
ั เคราะห์สารต่างๆ
 การสง
 ปฏิกร
ิย
ิ า detoxication
 การรักษาความสมดุลของเอมไซม์ และ
metabolites
สารปฏิชวี นะนัน
้ อาจจะสง่ ผลกระทบต่อ
การเจริญเติบโตหรือสง่ ผลกระทบต่อ
ั สารทีจ
ความสามารถในการดูดซบ
่ าเป็ น
ในการดารงชวี ต
ิ
 การหลัง
่ metabolite และหน ้าทีบ
่ างอย่าง
ของจุลน
ิ ทรียไ์ ด ้

การรบกวนการทางานของ
R. solanacearum ดังกล่าวทาให้
กระบวนการทางานต่างๆ มีการ
หยุดชะงัก แล้ว R. solanacearum จะ
่ ด
ตายในทีสุ
สรุป

ึ ษาการเป็ นปฏิปักษ์ของ
จากการศก
Bacillus subtilis กับ Ralstonia
Solanacearum ในมะเขือเทศทีเ่ ป็ นโรค
เหีย
่ วเขียว พบว่า
ี นะ
 Bacillus subtilis จะปล่อยสารปฏิชว
ออกมา ซงึ่ สารปฎิชวี นะจะไปทาให ้การ
เจริญเติบโตของ Ralstonia
Solanacearum มีการหยุดชะงักแล ้วฆ่า
สงิ่ มีชวี ต
ิ ทีเ่ ป็ นเป้ าหมายนัน
้ คือ
THE END
Thank everybody 555!!!