เชื้อราที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ

Download Report

Transcript เชื้อราที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ

1
ื้ ราทีท
เชอ
่ าให ้เกิดพยาธิสภาพ
ิ วิทยา
วิชาจุลชวี ะและปรสต
Amporn Thiengtrongdee
28/03/12
3
วัตถุประสงค์
1. เข ้าใจถึงการก่อโรค การดาเนินการของโรค
ื้ ราและการตรวจทางห ้องปฏิบต
จากเชอ
ั ก
ิ าร
ื้ รา
2. เข ้าใจปฏิกริ ย
ิ าของร่างกายต่อเชอ
3. สามารถนาความรู ้ไปปฏิบัตต
ิ นได ้เมือ
่ เกิดการ
ื้ รา
ติดเชอ
้
4. สามารถนาความรู ้ไปใชในการฝึ
กภาคปฏิบต
ั ิ
การพยาบาลได ้
4
สารบัญบทเรียน
ื้ รา
1. ความรู ้เบือ
้ งต ้นเกีย
่ วกับเชอ
ื้ รา
สรีรวิทยาของเชอ
ื้ รา
ความสาคัญทางการแพทย์ของเชอ
ื้ รา
โรคทีเ่ กิดจากเชอ
2. การตรวจวินจ
ิ ฉั ยทางห ้องปฏิบัตก
ิ าร
5
ื้ รา
ความรู ้เบือ
้ งต ้นเกีย
่ วกับเชอ
ื้ รา เป็ นสงิ่ มีชวี ต
้ กเพือ
• เชอ
ิ พวกเห็ดและราทีใ่ ชหมั
่
ทาอาหารและเครือ
่ งดืม
่
• Mycology เป็ นภาษากรีก
Mykes=mushrom=fungus
logos=discourse (วิชา)
ึ ษาเรือ
Mykey+logos=วิชาการศก
่ งเห็ด
• Fungus (Fungi เป็ นพหูพจน์) (เห็ด)
ภาษาละติน
6
ความเป็ นมา
ึ ษาการก่อ
• Robert Remark ชาวโปแลนด์ได ้ศก
ื้ ราในคนทีเ่ ป็ นกลากบนศรี ษะ เมือ
โรคของเชอ
่ ปี
2406
• Louis Pasteur & Robert kock บุกเบิก
ื้ ราซบเซาไป
วิชาแบคทีเรียทาให ้วิชาเชอ
• ในปี พ.ศ. 2443 Raymond Sabouraud
ื่
ชาวฝรั่งเศส เป็ นผู ้รือ
้ ฟื้ นวิชาและเขียนตาราชอ
Les teignes (the tinea) ทาให ้วิชานีเ้ จริญ
รุดหน ้ามาจนปั จจุบน
ั
7
ื้ รา
สรีรวิทยาของเชอ
ั โตปลาสซม
ึ
เป็ น eucaryotic cell มีนวิ เครียส มีซย
ต ้องการแร่ธาตุตา่ งๆในการเจริญเติบโต
ื้ ราสว่ นมากเจริญที่ 10-40 °c
เชอ
ื้ ราก่อโรคเจริญได ้ที่ อุณหภูมห
เชอ
ิ ้อง 25-37 °c
สว่ นมากต ้องการออกซเิ จนในการเจริญเติบโต
และแพร่พันธุ์
• อยูใ่ นภาวะสองรูป
-อยูต
่ ามธรรมชาติ 20-28 °c คงรูปเป็ นราสาย พอเข ้าสู่
่
ร่างกายหรือนาไปเพาะทีอ
่ ณ
ุ หภูม ิ 37 °c จะเป็ นยีสต์ เชน
•
•
•
•
•
Histoplasma capsulatum, Peniciilium marneffei
8
ื้ รา
ลักษณะทัว่ ไปของเซลล์เชอ
•
•
•
•
•
•
•
เป็ นพวก Primitive microorganism
มี cell wall, cell membrane
ไม่ม ี chlorophyll (saprophyte or parasite)
เจริญแพร่พันธ์ท ี่ 10-40 °c pH 4-8
ื พันธุไ์ ด ้ทัง้ แบบใชเพศและไม่
้
้
สบ
ใชเพศ
่ ในอากาศ น้ า ดิน
พบได ้ทั่วไปในธรรมชาติ เชน
Morphology แบ่งได ้ 2 แบบ คือ yeast และ mold or
muold
• อาหาร ราต ้องการธาตุคาร์บอน ในการเจริญเติบโต
่ น้ าตาล กรดอินทรีย ์ แอลกอฮอล์ โปรตีน ไขมัน
เชน
โพลีแซคคาไรด์
9
Mold
Yeast
10
Yeast
• เป็ นเซลล์เดีย
่ ว รูปร่างกลม รี หรือยาวรี ขนาด 2-10 µ
ื พันธุโ์ ดยการแตกหน่อ (budding) พร ้อมกับการ
• สบ
แบ่งตัวของ nucleus
• การแตกหน่อบางครัง้ ไม่หลุดจากกันและต่อเป็ นสาย
สายทีเ่ กิดนีเ้ รียก pseudohypha ซงึ่ ไม่มผ
ี นั งกัน
้
ี า่ งๆเชน
่ ขาว สม้ ดา ผิวหน ้า
• ลักษณะของ colony มีสต
คล ้ายเนย หรือคล ้าย colony ของแบคทีเรีย
่
• บางสายพันธุม
์ ี capsule ล ้อมรอบ colony เป็ นมูก เชน
Cryptococcus neoformans
11
Budding Yeast
12
Yeast infection
13
Yeast infection
14
ื้ รา ผิวหนังจะหนาและสค
ี ล้า
ลักษณะการติดเชอ
15
Mold or mould
• อยูเ่ ป็ นกลุม
่ เรียก mycelium มี 2 พวก คือ vegetative
และ reproductive mycelium
ี า่ งกัน เชน
่ ดา ขาว เขียว เหลือง
• ลักษณะ colony มีสต
• ผิวหน ้าของ colony
ั ว์ (cottony, wooly) เชน
่ Mucor sp.
-ฟูคล ้ายขนสต
่ Phialophora sp.
-นุ่มคล ้ายกามะหยี่ (velvety) เชน
-ผิวหน ้าเป็ นผงคล ้ายเกร็ดน้ าตาล ผงแป้ งหรือเม็ดทราย
่ Mycrosporum gypseum
เชน
่
-เนียนคล ้ายหนัง (glabrous, waxy) เชน
Trichophyton sp.
ี รือไม่มส
• ด ้านล่างอาจมีสห
ี ี
16
mycelium
17
mycelium
18
mold
19
Mold or mould
จาแนกตามขนาดและผนังกัน
้ ได ้ 2 ชนิด
1. Saptate hypha ราสายทีม
่ ผ
ี นังกัน
้ สายรา
ขนาด 1-2 µ
2. Non-saptate hypha ราสายทีไ่ ม่มผ
ี นังกัน
้
สายราขนาด10 µ colony มักฟูมากกว่า
Saptate hypha และ mycelium
20
21
ื พันธุข
ื้ รา
การสบ
์ องเชอ
้
Conidium, conidia แบบไม่ใชเพศ
1. เกิดจากสายราหรือเซลล์รา
่ Penicillim mareneffei
-Binary fission เชน
่ Cryptococcus
-Budding, Blastoconidia เชน
neoformans
ื้ ราทีเ่ จริญ
-Chlamydoconidia (ป่ อง) พบในเชอ
ในภาวะขาดแคลนอาหาร ทนต่อความแห ้งแล ้งได ้ดี
่ Canida albicans
เชน
-Arthroconidia (ปล ้อง) เกิดผนังกัน
้ และปล ้องต่อๆกัน
่
เมือ
่ แก่จะหลุดออกจากกัน เชน
Geotrichum candidium
22
ื พันธุข
ื้ รา (ต่อ)
การสบ
์ องเชอ
2. เกิดบนก ้านชู
-canidiophore สร ้างจากสายราเดิมเป็ นรูป
หยดน้ าตาเรียก microconidia หรือมี
หลายเซลล์และมีผนังกัน
้ เรียก macroconidia
ซงึ่ มีหลายแบบได ้แก่
• Fusiform รูปกระสวย
• Club shape รูปกระบอง
• Cylindrical รูปกระบอก
• Pear shape รูปลูกแพร์
23
ื พันธุข
ื้ รา (ต่อ)
การสบ
์ องเชอ
ื พันธุแ
้
การสบ
์ บบใชเพศ
1. Zygospore เกิดจากราสาย
2. Ascospore จากการรวมตัวของนิวเคลียสเพศ
3. Basidiospore เกิดจากการรวมตัวของสอง
นิวเคลียสในเซลล์ปลายสุดของสายรา
24
ความสาคัญทางการแพทย์ของรา
• ประโยชน์
เห็ดบางสายพันธ์นามาเป็ นอาหารได ้
ั ว์
ราในดินชว่ ยย่อยซากพืชซากสต
• โทษ
ั ว์ คน
ก่อให ้เกิดโรคในพืช สต
25
ราทีก
่ อ
่ โรคในคนจาแนกเป็ น 3 ชนิด
่ เห็ดพิษ
1. Toxigenic fungi เชน
่ Aspergillus ทาให ้เกิด
2. Allergenic fungi เชน
Asthma, type 1 hypersensitivity
3. Invasive fungi
26
ื้ รา
โรคทีเ่ กิดจากเชอ
ื้
แบ่งตามความลึกของการติดเชอ
• Superficial mycoses
• Cutaneous mycoses
• Deep mycoses (Subcutaneous)
• Systemic mycoses
• Opportunistic mycoses
27
ื้ รา
โรคทีเ่ กิดจากเชอ
Superficial mycoses พยาธิสภาพจากัดเฉพาะ
ั ้ นอกสุด คือ
บริเวณ ผม ขนและผิวหนังชน
ั ้ ขีไ้ คล (stratum corneum) บริเวณที่
ชน
ื้ พบผิวหนังมีสผ
ี ด
่ เกลือ
ติดเชอ
ิ ปกติ เชน
้ น
ื้
(Pityriasis versicolor) ซงึ่ เกิดจากเชอ
ี ้ าตาลทีเ่ กิด
Malassezia furfur หรือเป็ นวงสน
ื้ Pityrosporum orbiculare เชอ
ื้ เป็ น
จากเชอ
budding yeast cells พบ septate hyphae
ั ้ ๆ หรือ yeast หรือ hyphae อย่างเดียว
สน
28
Superficial mycoses
้
• ราของเสนผมและขน
(Piedra) ทาให ้ผมเป็ น
ตุม
่ ๆ มีขนาดเล็กมากอาจมองไม่เห็นด ้วย
ี ้ าตาลหรือดา ผู ้ป่ วยไม่มอ
ตาเปล่า มีสน
ี าการ
• การรักษา ใช ้ 20% Sodium thiosulfate ทา
้ น หรือตัดผมทิง้ และรักษาความสะอาด
เชาเย็
29
Cutaneous mycoses
ื้ ราทีบ
ื้ อาจลุกลาม
• โรคเชอ
่ ริเวณผม ขน เล็บ เชอ
ั ้ ขีไ้ คลไปทีร่ ข
จากชน
ู ม
ุ ขน ผม และโคนเล็บ
• เป็ นกลุม
่ Dermatophytes เพราะชอบ keratin
่ กลาก (ring worm)
เชน
ื้ ในดิน 37 species แต่ทาให ้เกิดโรค
• พบเชอ
10 species
30
ื้ ราทีผ
โรคเชอ
่ วิ หนัง ขน ผมและเล็บ
ื้ ราทีห
• Tinea capitis เป็ นเชอ
่ นั งหัวและผม อาการหนัง
หัวแดง ผมร่วง มีการอักเสบรุนแรง แผลลึก เป็ น
keloid หัวล ้านเป็ นหย่อมๆ เกิดจาก genera
Microsporum และ Trichophyton
ื้ ราทีผ
• Tinea favosa เป็ นเชอ
่ วิ หนั งและหนั งหัว มี
ลักษณะเฉพาะเป็ นก ้อนของ mycelium แข็งๆรวมเป็ น
ขีไ้ คลนูนขึน
้ มาจากผิวหนั งคล ้ายถ ้วย สเี หลือง มีกลิน
่
เหม็น เกิดจาก genera Microsporum และ
Trichophyton
31
ื้ ราทีผ
โรคเชอ
่ วิ หนัง ขน ผมและเล็บ
ื้ ราทีท
• Tinea coporis เป็ นเชอ
่ าให ้เป็ นกลากบริเวณ
่ ราวนม เอว เกิดจาก genera
ผิวหนั งอ่อน เชน
Microsporum และ Trichophyton
ื้ ราทีท
• Tinea imbricata เป็ นเชอ
่ าให ้เป็ นกลากบริเวณ
้
ลาตัว มีลักษณะเป็ นเกล็ดบางๆ ซอนกั
นหลายๆวง
ื้ หนุมาน เรียกกลากหนุมาน
คล ้ายลายเสอ
• Tinea cruris เป็ นกลากบริเวณขาหนีบ กลากในร่มผ ้า
อาจลุกลามไปถึงบริเวณ perinium และรอบๆทวาร
หนัก เกิดจาก Candida albicans,
Epidermophyton floccosum
32
Ringworm (Tinea Corporis)
33
ื้ ราทีผ
โรคเชอ
่ วิ หนัง ขน ผมและเล็บ
• Tinea ungium เป็ นราทีเ่ ล็บสามารถลุกลามเข ้าไปใต ้
ี าว
เล็บทาให ้เล็บมีลักษณะขรุขระเป็ นขุยสข
เกิดจาก Trichophyton rubrum,
T. mentogrophytes, Epidermophyton floccosum
• Tinea barbae กลากของผิวหนังทีข
่ น
ึ้ บริเวณคางและ
หนวด เกิดจาก Trichophyton mentogrophytes,
T. verrucosum
• Tinea pedis กลากบริเวณเท ้าพบบ่อยมากโดยเฉพาะ
่ ทหาร นศ.ปี 1
ผู ้ทีใ่ สร่ องเท ้าปิ ด เชน
เกิดจาก T. rubrum, T. mentogrophytes,
E. floccosum
34
ื้ ราทีผ
โรคเชอ
่ วิ หนัง ขน ผมและเล็บ
• Tinea ungium
• Tinea barbae
35
Nails:
 Dystrophy
 koilonychias
(spoon nails )
 nail pitting
36
Deep mycoses (Subcutaneous)
• พยาธิสภาพ อยูท
่ ผ
ี่ วิ หนังและใต ้ผิวหนัง บางโรค
่ กระดูก หลอดเลือด
ลุกลามถึงอวัยวะภายใน เชน
่ Mycetoma เป็ นโรคเชอ
ื้
และต่อมน้ าเหลือง เชน
ราทีเ่ กิดกับมือ เท ้า ขา
37
Systemic mycoses
ื้ ราทีเ่ กิดกับอวัยวะภายในตามระบบ
• เป็ นโรคเชอ
ื่ ม ได ้แก่
ผู ้ป่ วยมักมีภม
ู ค
ิ ุ ้มกันเสอ
• Histoplasmosis
• Penicillosis marneffei
เกิดจาก Penicillium marneffei,
• Cryptococcosis
• Systemic candidiasis
• Aspergillosis
38
Opportunistic mycoses
ื้ ราทีพ
ั ในสงิ่ ไม่มช
• เป็ นเชอ
่ บในธรรมชาติ อาศย
ี วี ต
ิ และ
พืช เมือ
่ อวัยวะมีบาดแผลราก็สามารถก่อโรคได ้
ื้ ราทีก
• เชอ
่ ระจกตา หากมีอาการรุนแรงจะบวมแดงเห็น
้ อดทีต
ั เจนพบเป็ นแผลขอบนูนขาว โดยที่
เสนเลื
่ าชด
Hypha จะแผ่ถงึ ขอบแผล เกิดจากการหยอดตาทีม
่ ี
steroid นานๆ
ั ้ นอก
• ราทีห
่ ช
ู น
ื้ ทีเ่ ป็ นสาเหตุ ได ้แก่ Aspergilus niger,
• เชอ
A. fumigatus, Candida, Fusarium spp.
39
การตรวจวินจ
ิ ฉั ยทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร 1
1. Direct examination โดยนามา smear แล ้วย ้อมส ี
พวก AFB, Gram stain, India ink, KOH, Wright
stain
-KOH ใชน้ ้ ายา 10-20% ใชส้ าหรับตรวจขุยผิวหนั ง เล็บ
คุณสมบัตข
ิ อง KOH จะชว่ ยละลาย Keratin ของสงิ่
สง่ ตรวจ
ื้ ราจาก
-Lactophenol cotton blue ใชส้ าหรับย ้อมเชอ
โคโลนี ส ี cotton blue ย ้อม kitin & cellulose
จึงติดสงี า่ ยแก่การตรวจ
ื้ Cryptococcus neoformans
-India ink ใชย้ ้อมหาเชอ
่ งกล ้อง จะเห็นพืน
ี า
เมือ
่ นาไปสอ
้ สไลด์เป็ นสด
ื้ ไม่ตด
ื้ อยูต
capsule รอบตัวเชอ
ิ สเี ห็นตัวเชอ
่ รงกลาง
40
ื้ รา
การขูดผิวหนังตรวจหาเชอ
41
Candida in Vagina and Cervix
42
Cryptococcus neoformans
43
Cryptococcus neoformans
44
การตรวจวินจ
ิ ฉั ยทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร 2
ื้ ทางการแพทย์
2. Culture อาหารเลีย
้ งเชอ
้ ย
ื้ รา
-Sabouraud Dextrose Agar ใชเลี
้ งเชอ
ทั่วๆไป
้ ย
-Brain heart Infusion Agar ใชเลี
้ งราสองรูป
จากราสายเป็ น yeast บ่มหลอดทดลองที่ 37 °c
ื้ C. neoformans
-Caffeic Acid Agar แยกเชอ
ี า
ให ้โคโลนีสด
-Corn Meal Agar ใชดู้ Chlamydoconidia
ื้ Candida albicans กรณีขาดอาหารจะ
ของเชอ
สะสมอาหารไว ้ทาให ้คงทน มีลักษณะป่ องๆ 45
Yeast on SA
46
Mold
47
การตรวจวินจ
ิ ฉั ยทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร 3
3. การตรวจทางภูมค
ิ ุ ้มกัน/น้ าเหลืองวิทยา
่ Cryptococcal Ag
(Serological testing) เชน
ิ้ เนือ
4. การตรวจชน
้
-PAS stain (Periodic acid schiff stain)
-GMS stain (Gomori-Methenamine silver
stain)
5. ตรวจทางอณูชวี วิทยา (Molecular biology
diagnosis) หลักการ nucleic acid
amplification or PCR
48
Bye-Bye
49