Staphylococcus aureus

Download Report

Transcript Staphylococcus aureus

ิ วิทยา
วิชาจุลชวี ะและปรสต
แบคทีเรียทีท
่ าให ้เกิดพยาธิสภาพ
อาจารย์อม
ั พร ไหลประเสริฐ
พยาบาลศาสตร์
ั ญีพยาบาล
วิสญ
ื้
วทม.สาขาโรคติดเชอ
Master of Caring Science (Nursing)
14/3/55
วัตถุประสงค์
1.
2.
3.
4.
5.
มีความรู ้ความเข ้าใจเกีย
่ วกับรูปร่าง ลักษณะ
คุณสมบัตข
ิ องแบคทีเรียทีท
่ าให ้เกิดพยาธิสภาพ
ตระหนั กถึงความสาคัญของแบคทีเรียทีท
่ าให ้เกิด
พยาธิสภาพ
สามารถนาความรู ้เรือ
่ งแบคทีเรียทีท
่ าให ้เกิดพยาธิ
้
สภาพไปประยุกต์ใชในการปฏิ
บต
ั ก
ิ ารพยาบาลและใช ้
กับชวี ต
ิ ประจาวันได ้
ระบุรป
ู ร่างคุณสมบัต ิ สาเหตุการเกิดโรคการ
แพร่กระจายของแบคทีเรียชนิดต่างๆได ้
ื้ จากแบคทีเรียชนิด
บอกวิธก
ี ารป้ องกันการติดเชอ
ต่างๆได ้
Bacteria
สาระการเรียนรู ้
1. Aerobic Gram Positive Cocci
2. Aerobic Gram Negative Cocci
3. Aerobic Gram Negative Bacilli
4. Aerobic Gram Positive Bacilli
5. Spirochetes
6. Chlamydia
7. Rickettsia
8. Anearobic Gram Positive Bacilli
Aerobic Gram Positive Cocci

1.
2.
ี ้ าเงินม่วง
ย ้อมติดสน
Staphylococcus
Streptococcus
Staphylococcus
 เป็ นแบคทีเรียกรัมบวกมีรป
ู ร่างกลม
 อยูเ่ ป็ นกลุม
่ ๆ
(cluster) คล ้ายพวงองุน
่
ื้ ธรรมดา
 เจริญได ้ดีบนอาหารเลีย
้ งเชอ
 สามารถทาลาย
RBC
 ทาให ้พลาสมาแข็งตัวได ้
รูปร่างลักษณะ Staphylococcus
Staphylococcus
ื้ ทีผ
พบเชอ
่ วิ หนังและเยือ
่ บุเมือกต่างๆของร่างกาย
่ Colonization บนเยือ
เชน
่ บุจมูก ไม่กอ
่ ให ้เกิดโรค
ื้ ดือ
แต่เป็ นเชอ
้ ยาคือ MRSA (Methicillin-resistant
Staphylococcus aureus)
 ทาให ้เกิดฝี หนองต่างๆ
 สร ้าง enterotoxin ทาให ้อาหารเป็ นพิษ

ื้ Staphylococcus
การจาแนกเชอ
 Staphylococcus
ื้ ในชอ
่ ง
aureus พบเชอ
 Staphylococcus
epidermidis ปกติเป็ น
 Staphylococcus
saprophyticus
จมูก เกิดฝี หนอง
ื้ ประจาถิน
ื้ จากการใส่
เชอ
่ บนร่างกาย ติดเชอ
สายหรืออุปกรณ์เข ้าร่างกาย
ทาให ้เกิด Urinary Tract infection (UTI)
ปั จจัยทีท
่ าให ้เกิดโรค
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Hemolysin ทาลายเม็ดเลือดแดงได ้
Leukocidin ทาลายเม็ดเลือดขาว
Enterotoxin ทาให ้อาหารเป็ นพิษในคนได ้
Coagulase ทาให ้พลาสมาแข็งตัวเป็ นลิม
่
ื้
Hyaluronidase เป็ นเอนไซม์ทช
ี่ ว่ ยให ้เชอ
โรคบุกรุกเข ้าไปเจริญในเนือ
้ เยือ
่ ได ้ดี
Epidermolysin ทาให ้เกิดการหลุดลอกของ
หนังกาพร ้าทั่วร่างกาย
การทาให ้เกิดโรค S. aureus
Wound sepsis, Endocarditis
 Meningitis, Osteomyelitis
 Food poisoning จาก Enterotoxin
ื้
 Nosocomial infection จากเทคนิคปราศจากเชอ
ื้ จากการทาหัตถการ
ไม่ด ี เครือ
่ งมือไม่สะอาด ติดเชอ
่ เชอ
ื้ MRSA, E. coli (Bacillus)
เชน

Staphylococcus
aureus
ทาให ้เกิด
Wound sepsis
การตรวจวินจ
ิ ฉั ย staphylococcus
ื้ ได ้แก่ หนอง
ทีส
่ ง่ ตรวจหาเชอ
ั หลัง เพือ
เลือด เสมหะ น้ าไขสน
่ นามาย ้อม
ี กรมจะติดสน
ี ้ าเงินม่วง
สแ
 Specimen
Streptococcus
 รูปร่างกลมหรือรีเรียงตัวเป็ นสายยาว
(Chain)
่ นประกอบของ โพลีแซคคาไรด์
 แคปซูลมีสว
 Cell wall สร ้างแอนติเจน M,T,R
ื้ ทีม
 เจริญได ้ดีบนอาหารเลีย
้ งเชอ
่ เี ลือดหรือ
ซรี ั่มผสมอยูเ่ รียก Blood agar
ื้ อยูใ่ น ปาก คอ ต่อมทอนซล
ิ ของหมู
 เชอ
ื้ ได ้
ถ ้าเรากินเลือดสดๆ อาจทาให ้ติดเชอ
ื้ นีท
เชอ
้ าให ้เกิดหูดบ
ั หูหนวก
Streptococci
Streptococcus ทีท
่ าให ้เกิดโรค
1.
Group A streptococci (S. pyogenes)
ทาให ้เกิดโรค
- Pharyngitis
- Tonsillitis
- Impetigo โรคผิวตุม
่ พอง
- Septicemia
- Scarlet fever ไข ้ดาแดง
้
ื้ Group A
ภาวะแทรกซอนหลั
งติดเชอ


Rheumatic fever มีอาการปวดข ้อ เยือ
่ หุ ้มหัวใจ
อักเสบ
Glomerulonephritis (ไตอักเสบ)
Pharyngitis
Streptococcus
Tonsillitis
scarlet fever
Streptococcus ทีท
่ าให ้เกิดโรค
2. Group B Streptococci
 ทาให ้เกิดโรค โลหิตเป็ นพิษ
 เยือ
่ หุ ้มสมองอักเสบในเด็กแรกเกิด
(meningitis)
3.Group C&G Streptococci
 เกิดโรคเยือ
่ บุหวั ใจอักเสบ (Pericarditis)
Streptococcus ทีท
่ าให ้เกิดโรค
4.Group D Streptococci
 S. faecalis ทาให ้เยือ
่ หุ ้มหัวใจอักเสบ และ
ื้ ทางเดินปั สสาวะ
การติดเชอ
5.Alpha hemolytic streptococci
ื้ ประจาถิน
่ งปาก
 Viridans gr. เป็ นเชอ
่ ในชอ
 S. mitis เกิดโรคเยือ
่ บุหวั ใจอักเสบ
 S. mutans ทาให ้ฟั นผุ
Toxin ของ Streptococcus
ื้ Beta hemolytic
Streptokinase เชอ
streptococci group A, C และ G สร ้าง
streptokinase เป็ นเอนไซม์ทย
ี่ อ
่ ย fibrin
2. Hyaluronidase เป็ นเอนไซม์ยอ
่ ยกรด
ื่ มเซลล์
Hyaluronic acid (เป็ นเอนไซม์ทเี่ ชอ
ต่อเซลล์ให ้ติดต่อกันเป็ นเนือ
้ เยือ
่ )
3. Streptodonase เป็ นเอนไซม์ท ี่
depolymerize DNA
1.
Toxin ของ Streptococcus
4. Erythrogenic toxin ทาให ้เกิดผืน
่ แดงตาม
ผิวหนังคนทีเ่ ป็ นโรคไข ้ดาแดง (Scarlet fever)
ื้ beta streptococci group A
5. Hemolysin เชอ
สร ้าง Streptolysin O สลายเม็ดเลือดแดง ใช ้
ื้ จาก
ในการตรวจระดับ Ab ในซรี ัมผู ้ป่ วยทีต
่ ด
ิ เชอ
Group A Streptococci
( Antistreptolysin O=ASO)
scarlet fever
ไข ้ดาแดง
Streptococcus pneumoniae
 ทาให ้เกิดโรค
pneumonia, sinusitis,
otitis media, meningitis
ี รัมบวก อยูเ่ ป็ นคู่
• รูปร่างกลม ติดสก
• คนปกติมักพบ pneumococcus ในทางเดิน
หายใจสว่ นบน เมือ
่ ร่างกายมีภม
ู ต
ิ ้านทานโรค
ตา่ จึงก่อโรค
Aerobic Gram Negative Cocci
ี ดง
ย ้อมติดสแ
 Neisseria gonorrhoeae
 Neisseria menigitidis
Neisseria
ี รัมลบ อยูเ่ ป็ นคูส
ติดสก
่ อง
รูปร่างคล ้ายไต
 ต ้องการออกซเิ จนในการเจริญเติบโต
ื้ chocolate agar
 อาหารเลีย
้ งเชอ
 รูปร่างกลม
Neisseria gonorrhoeae
พยาธิสภาพการเกิดโรคหนองใน
ื้ N. gonorrhoeae เข ้าสูร่ า่ งกาย
เมือ
่ เชอ
Pili เกาะยึดติดกับผนังเยือ
่ บุทางเดินปั สสาวะ
เกิดเป็ น microabcess แตกเป็ นหนองไหล
หนองประกอบด ้วย
polymorphonuclear leukocyte & gonococci
ื้ หนองใน
สาเหตุของการติดเชอ
-
ั พันธ์
เพศสม
็ ตัวร่วมกันกับผู ้ทีต
ื้
การใชผ้ ้าเชด
่ ด
ิ เชอ
ในสตรี อาจเกิด gonococcus vulvitis
ื้ GC. อาจติดมายังทารกแรก
แม่ทต
ี่ ด
ิ เชอ
ื้
เกิดขณะคลอดได ้ ทาให ้ตาอักเสบจากเชอ
หนองใน (Opthalmia neonatorum)
ิ เวอร์ไนเตรด
ป้ องกันโดย หยอดตาด ้วย ซล
1%
อาการและอาการแสดงของโรคหนองใน
- ปั สสาวะลาบาก แสบขัด
ในผู ้หญิง อาจทาให ้มีการอักเสบอุ ้งเชงิ กราน
(pelvic inflammatory disease, PID)
Neisseria menigitidis
ทาให ้เกิดโรค
Meningococcal meningitis (ไข ้กาฬหลังแอ่น)
Neisseria
meningitidis
gram negative
dipplococci
bacteria
Epidemiology
-ค ้นพบครัง้ แรก พ.ศ.2430
-ตัง้ แต่สงครามโลกครัง้ ที่ 2 พบการระบาด
มาก บริเวณ Sub-Sahara
-ประเทศพัฒนาแล ้วพบการระบาดมากขึน
้
เรือ
่ ยๆ
-โรคติดต่อทีอ
่ น
ั ตรายมาก
Areas with frequent epidemics of meningococcal
meningitis stretch in a band across Central Africa.
Countries included in this band are (from west to
east):
Host
- มนุษย์เท่านัน้
- การติดต่อ Droplet respiratory secretions
- Colonization ที่ Nasopharynx
ื้ อยูไ่ ด ้หลายเดือน
- เชอ
ื้ การอยูใ่ นบ ้านหรือชุมชนแออัดที่
-การติดเชอ
ื้
เดียวกับผู ้ติดเชอ
AgentNeisseria meningitidis
-เป็ นแบคทีเรีย แกรมลบ รูปร่างกลม คล ้าย
เม็ดถั่ว เรียงตัวเป็ นคู่ dipplococci,
non-motile, ไม่สร ้างสปอร์
ื้ สายพันธ์กอ
-เชอ
่ โรคจะมี capsule และ pilli
ชว่ ยเกาะเซลล์
ื้ อยูต
-พบเชอ
่ ามเยือ
่ บุโพรงจมูกและลาคอ
การเจริญของเชือ้
ื้ เจริญได ้ดีบน Blood agar,
- เชอ
Mueller Hinton agar
- ทีน
่ ย
ิ ม คือ Chocolate agar
ื้ นีต
- เชอ
้ ายง่าย อยูท
่ อ
ี่ ณ
ุ หภูมห
ิ ้องได ้ไม่เกิน
ื้ จะตายใน
2-3 ชวั่ โมง ทีอ
่ ณ
ุ หภูม ิ 55 °C เชอ
5 นาที
่ Lysol,
- ถูกทาลายด ้วย 1% phenol เชน
Detal
Environment
-สุขาภิบาลไม่ดี
-ชุมชนแออัด
บ ้านพักคนงาน
-ค่ายทหาร
-ค่ายอพยพ
ึ ษา
-หอพักนักศก
Mode of Transmission
่ น
•แพร่จากคนสูค
โดยการไอหรือจามผ่าน
ทางละอองฝอย
ี่ ง:
•กลุม
่ เสย
ิ
บุคคลรอบข ้างใกล ้ชด
่ สามี ภริยา เพือ
เชน
่ นสนิท
รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์
Mode of Transmission
•Droplet nuclei
กระบวนการเกิดโรค
่
อหุ
ม
้
สมองอ
ักเสบแล
เยื
้
เชือ N. meninigitidis
หนองในช่อง subarachn
เข้าทางจมู ก
สร ้างสารพิษ
่
้
เยื
อหุ
ม
้
สมองช
นใ
ั
แทรกเข้า mucosal cell
่ านวน
เพิมจ
่
อว ัยวะอืน
กระแสเลือด
อาการของโรค
1. โลหิตเป็ นพิษ (Meningococcemia)
2. เยือ
่ หุ ้มสมองอักเสบ
(Meningococal Meningitis)
- ผู ้ติดเชอื้ สว่ นใหญ่มักไม่แสดงอาการใดๆ
- สว่ นหนึง่ มีเพียงอาการระบบทางเดิน
หายใจ
้
- หายเองโดยไม่ต ้องใชยา
เป็ นพาหะสาคัญในการแพร่โรคต่อไป
การเกิดโรคในอวัยวะอืน
่ ๆ
ข ้ออักเสบ
 เยือ
่ บุตาอักเสบเป็ นหนอง
 ท่อปั สสาวะอักเสบ
 เยือ
่ หุ ้มหัวใจอักเสบ
 ปอดบวม
่ งท ้องอักเสบ
 เยือ
่ บุชอ

ลักษณะทางคลินก
ิ
อาการ อาการแสดงทีพ
่ บบ่อย
 Petechiae,
high fever, headaches,
vomiting, stiff neck, confusion
 อาจพบ conjunctivitis, arthritis,
pneumonia, pericarditis
ั่ โมง
 ผู ้ป่ วยมักตายภายใน 24 - 48 ชว
neisseria meningitidis
petechial rash appears before your eyes,
it is a non-blanching rash
Meningococcemia
Meningococcemia
้
ภาวะแทรกซอน
1. เลือดออกรุนแรง จนเกิดภาวะ DIC
(Disseminated intravascular coagulation)
จากการถูกทาลายเยือ
่ บุผวิ ภายในหลอดเลือด
ร่วมกับความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
ทาให ้เกิดลิม
่ เลือดอุดตัน
2. เลือดออกทีต
่ อ
่ มหมวกไต
(Waterhouse Friderichsen syndrome)
3. กล ้ามเนือ
้ หัวใจตาย, เยือ
่ หุ ้มหัวใจอักเสบ
ื้ หรือรักษาหายแล ้ว)
(เกิดได ้ทัง้ ขณะติดเชอ
DIC
การตรวจวินิจฉัย
ื้ , Antigen, DNA
เชอ
- จาก Normally sterile fluid
่ เลือด, CSF, Synovial fluid,
เชน
Skin lesions
- จากทางเดินหายใจ
การเก็บสงิ่ สง่ ตรวจ ในการสอบสวนโรค
Nasopharyngeal swab (NPS)
วัสดุอป
ุ กรณ์ ...
1. ลวดปลายอ่อนชนิด Dracron polyestertipped ทีม
่ ี calcium algenate
2. กรรไกรสะอาด
3. Chocolate agar
Sterile Nasopharyngeal swab
Chocolate Agar
้
ขันตอนการเก็
บตัวอย่าง
1. ป้ องกันตนเองจาก
การติดเชือ้
สวม Mask, ถุงมือ
2. เตรียมผู ต
้ อ
้ งสงสัยว่าเป็ น
่ งตรวจ
3. เก็บและส่งสิงส่
ื้
1. ป้ องกันตนเองจากการติดเชอ
สวม Mask, ถุงมือ
- ถุงมือ 1 ชนั ้
- Mask ธรรมดา
ิ้
- ล ้างมือหลังเสร็จสน
ภารกิจ
ั ว่าเป็ นพาหะ
2. เตรียมผู ้ต ้องสงสย
1. อธิบายวิธเี ก็บ เพือ
่ ให ้ผู ้ป่ วยคลายความกลัว
2. วัดปลาย Swab จากติง่ หูถงึ ปลายจมูก แล ้วหัก
ครึง่ เป็ นมุม 90 องศา
3. ให ้ผู ้ถูกเก็บตัวอย่างหายใจเข ้าลึกๆ และหายใจ
ออกจนสุดหลังจากนัน
้ กลัน
้ หายใจ พร ้อมหลับตา
4. สอดลวดจนสุด แล ้วหมุนโดยรอบประมาณ
3 วินาที
5. ดึงลวดออกจากโพรงจมูก
3. เก็บและสง่ สงิ่ สง่ ตรวจ
- ป้ ายลง Chocolate agar ควรสง่ ห ้องปฏิบตั กิ าร
ทันที
- หรือ ภายใน 24 ชวั่ โมง
-หรือตัดปลายลวดจุม
่ ลงใน Amies สง่ ภายใน
2 ชวั่ โมง
-Ameis เป็ น transportmedium ประกอบด ้วยสารที่
ชว่ ยให ้แบคทีเรีย ดารงชวี ต
ิ ได ้ไม่ชว่ ยให ้เพิม
่ จานวน
Nasopharyngeal Swab
Aerobic Gram Negative Bacilli
•แบคทีเรียรูปร่างท่อน
ี รัมลบ (แดง)
•ติดสก
•ต ้องการออกซเิ จนในการ
เจริญเติบโต
•เคลือ
่ นไหวโดยใช ้
flagella
Escherichai coli
ื้ อาศย
ั อยูใ่ นไสคน
้ หรือสต
ั ว์
•เชอ
•ปะปนในน้ า สง่ิ แวดล ้อม
สว่ นใหญ่ไม่กอ
่ โรคสายพันธุท
์ ท
ี่ าให ้เกิด
โรคอุจจาระร่วง(diarrhea) มี 5 กลุม
่
ETEC, EPEC, EHEC, EIEC, EAEC
รูปร่างลักษณะและคุณสมบัตข
ิ อง E.coli
ี รัมลบ
ติดสก
 เคลือ
่ นไหวได ้ มี flagella
ื้ ธรรมดาที่ 10-40 C
 เจริญได ้ดีบนอาหารเลีย
้ งเชอ
ื้ มีความทนทานอยูใ่ นน้ าได ้นาน
 เชอ

S. Aureus and E.coli
ี กรม
ย ้อมสแ
ื้ E. coli
แอนติเจนของเชอ
ั ้ ผนั ง
1. O antigen เป็ น Lipopolysaccharide ในชน
เซลล์
2. K antigen มาจากแคปซูล
3. H antigen มาจากสว่ นของ flagella
 Heat-labile enterotoxin (ไม่ทนความร ้อนแต่พษ
ิ
ยังเหลืออยู)่
 Heat-stable enterotoxin (ทนความร ้อน)
 ออกฤทธิก
์ ระตุ ้นการหลั่งสารน้ าและโซเดียมออกจาก
ลาไส ้ ทาให ้ถ่ายเป็ นน้ า
 enterotoxin คือ toxin ทีท
่ าให ้เกิดโรคทางเดิน
ี
อาหาร ท ้องเสย
Enterotoxigenic E. cli
(ETEC)
 เกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุตา
่ กว่า
5 ปี
และนักเดินทาง (traveller’s diarrhea)
ื้ เกาะผนังลาไสเล็
้ ก แล ้วสร ้างสารพิษทาลาย
 เชอ
้ ก (Enterotoxin) ทัง้ ชนิดที่
เซลล์เยือ
่ บุลาไสเล็
ทนความร ้อนและไม่ทนความร ้อน ทาให ้เกิด
ท ้องร่วง อุจจาระไม่เป็ นมูก อาเจียน ปวดท ้อง
เหงือ
่ ออก ขาดน้ า อาจไม่มไี ข ้ มีอาการ 3-5 วัน
ระยะฟั กตัว 24-72 ชม
ETEC
Enteropathogenic E. Coli (EPEC)
 เกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กแรกเกิด-18 เดือน
ื้ ทาลาย microvilli ของลาไสเล็
้ ก
 เชอ
ื้ เกาะอยูท
 เชอ
่ เี่ ซลล์เยือ
่ บุลาไสมี้ 2 กลุม
่ คือ
้ กสว่ น
สายพันธ์ท ี่ สร ้างสารพิษบริเวณลาไสเล็
ี คล ้ายอหิวาตกโรค และ
ต ้น ทาให ้ท ้องเสย
สายพันธุท
์ ท
ี่ าให ้เกิดอาการคล ้ายโรคบิดไม่ม ี
ั่ ปวดหัว
การสร ้างสารพิษ ทาให ้มีไข ้ หนาวสน
ปวดท ้อง ผู ้ป่ วยมักตายจากการขาดน้ า ระยะ
ฟั กตัว 8-24 ชม
Enterohemorrhagic E. coli (EHEC)



เป็ นสายพันธุท
์ ท
ี่ นต่อสงิ่ แวดล ้อมมากกว่าสายพันธุอ
์ น
ื่
ซงึ่ เป็ นสาเหตุของการระบาดในยุโรป
ี ไตวาย
ทาให ้ถ่ายอุจจาระมีมก
ู ปนเลือด ปวดท ้อง ซด
ื้ ใช ้ fimbriae เกาะติดกับเซลล์เยือ
้
เชอ
่ บุผนังลาไสใหญ่
ตรง caecum และ colon แล ้วสร ้างสารพิษออกมา
ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดงทาให ้ไตวาย เกิดภาวะ
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดถูกทาลาย เรียก
Haemolytic-uremic syndrome (HUS)
Enteroinvasive E. coli (EIEC)
 ทาให ้ถ่ายอุจจาระเป็ นมูกเลือด
ื้ จะ
 เชอ
้ ก
invasive เข ้าไปในผนังลาไสเล็
ทาลายเซลล์ เกิดการอักเสบของลาไส ้
ื้ Shigella
คล ้าย เชอ
 มีอาการปวดบิด มีไข ้สูง ถ่ายอุจจาระบ่อย
้
เป็ นมูกเลือด ลาไสใหญ่
มเี ลือดออก
(Hemorrhagic colitis)
Enteroaggregative (EAEC)
เป็ นสาเหตุของโรคอุจจาระร่วงเรือ
้ รังในเด็กและ
ื้ นีส
ผู ้ใหญ่ ในประเทศกาลังพัฒนา เชอ
้ ร ้าง
สารพิษคล ้าย ETEC แต่ไม่สามารถบุกรุกเข ้าสู่
เซลล์ ไม่มแ
ี อนติเจน ที่ ตรงกับ ETEC, EPEC,
EIEC และ EHEC
 ระยะฟั กตัว 20-48 ชม

การป้ องกัน
ล ้างมือก่อนอาหาร ขณะเตรียมอาหาร
 แยกอาหารสุก กับ สด
 ปรุงอาหารให ้สุกทั่วถึง
 เก็บอาหารทีอ
่ ณ
ุ หภูมเิ หมาะสม
 ใชวั้ ตถุดบ
ิ ทีป
่ ลอดภัย

Shigella
ี รัมลบ
-ย ้อมติดสก
-ทาให ้เกิดโรค Shigellosis or bacillary
dysentery
-ไม่ม ี flagella สาหรับเคลือ
่ นไหว
-เจริญได ้ดีบน Mac Conkey ชว่ ยยับยัง้ กรัมบวก,
Eosin Methylene Blue agar
ื้ อาศย
ั อยูใ่ นลาไสใหญ่
้
-เชอ
Subserotype ของ Shigella
Group A Shigella dysenteriae
อาการรุนแรงทีส
่ ด
ุ
Group B Shigella flexneri
Group C Shigella boydii
Group D Shigella sonnei
อาการน ้อยทีส
่ ด
ุ
การติดต่อ Shigellosis
ติดต่อได ้ทางอุจจาระ มือ แมลงวัน และอาหาร
ื้ ทีส
 คนทีเ่ ป็ นพาหะเป็ นแหล่งแพร่เชอ
่ าคัญ

Shigella toxins
1.
2.
3.
Neurotoxin ทาให ้เกิดอัมพาตของกล ้ามเนื้อ
ั ว์ทดลอง
ในสต
Cytotoxin ทาให ้เกิด Inflammation
ของเซลล์
ี น้ าและมีการ
Enterotoxin ทาให ้มีการสูญเสย
้ ก
อักเสบของลาไสเล็
การเกิดโรคและ
พยาธิสภาพ
ื้ ฝั งตัวอยูใ่ น villi
เชอ
ของลาไส ้
ทาให ้ลาไสอั้ กเสบเป็ น
แผลมีเลือดออก
Enterotoxin กระตุ ้นให ้
ลาไสขั้ บน้ า&อิเลคโตลัย
อาการและอาการแสดง Shigellosis
 ถ่ายอุจจาระเป็ นมูกเลือด
ปวดเบ่ง
ถ่ายกะปริดกะปรอย ไข ้สูง
Salmonella typhi
•เป็ นแบคทีเรียกรัมลบรูปท่อน
•มี Flagella
•ก่อโรค ไทฟอยด์ เพียง 103
เซลล์
ื้ อืน
•เชอ
่ ๆ 106-8 จึงเกิดโรค
Salmonella typhi
ื้ ถูกทาลายเมือ
 เชอ
่ ต ้มที่
60 °c
นาน 15 นาที
ี ต
่ ไข่
 มีชว
ิ อยูไ่ ด ้นานในอาหารแห ้งเชน
้
มะพร ้าวแห ้ง นม ไสกรอกไก่
ขีจ
้ งิ้ จก
ื้
 เจริญได ้ดีบนอาหารเลีย
้ งเชอ
Mac conkey agar, DCA agar
• การติดต่อของโรค
-รับประทานอาหารน้ าดืม
่
ื้ เข ้าไป
ทีป
่ นเปื้ อนเชอ
• แหล่งรังโรค
ื้ อยูใ่ นอุจจาระผู ้ป่ วย
-เชอ
ื้ อยูใ่ นถุงน้ าดี
-พาหะทีม
่ เี ชอ
ื้ นีไ
• กรดในกระเพาะฆ่าเชอ
้ ด้
แอนติเจนของ Salmonella typhi
1.
2.
ื้
O antigen อยูใ่ นผนังเซลล์ของเชอ
เป็ น endotoxin ถูกปล่อยออกเมือ
่ เซลล์
ของแบคทีเรียแตก ทาให ้เป็ นไข ้เพราะมีผล
ต่อ polymorphoneuclear leukocyte
(PMN) และเกิดอาการอักเสบตามมา
H antigen เป็ นแอนติเจนทีม
่ าจาก flagella
(Exotoxin คือ toxin ที่ bacteria สร ้างขึน
้ แล ้วขับ
ออกมานอกเซล มีพษ
ิ มากกว่า endotoxin)
พยาธิสภาพของ โรคไทฟอยด์
ื้ S. typhi แบ่งตัว ในลาไสเล็
้ ก
เชอ
เข ้าทางน้ าเหลือง Mesenteric lymp node
Thoracic duct
กระแสเลือด
ตับ ม ้าม
ต่อมน้ าเหลืองลาไส ้
ื้ อยูใ่ นถุงน้ าดีหลังจากหายแล ้ว
1-5% ของผู ้ป่ วยเชอ
อาการและอาการแสดงของโรคไทฟอยด์
การก่อโรค endotoxin ทาให ้ไม่สบาย
 มีไข ้สูงลอย ปวดเมือ
่ ยตามตัว เบือ
่ อาหาร ท ้องอืด
ม ้ามโต ถ่ายอุจจาระเป็ นมูกเลือด ปริมาณน ้อยๆ
้ เชอ
ื้ อาจทาให ้ลาไสทะลุ
้
 ภาวะแทรกซอน

การตรวจวินจ
ิ ฉั ยโรคโรคไทฟอยด์
 Widal agglutination test เพือ
่ ตรวจเลือดหา
ื้
ระดับ antibody ต่อ O, H antigen ของเชอ
Salmonella ในแม่ครัวต ้องตรวจทุกปี
ี ท
์ ก
สปี ชส
ี่ อ
่ โรคในคนมากทีส
่ ด
ุ คือ
Klebsiella pneumoniae
Klebsiella pneumoniae
 ทาให ้เกิดโรคปอดบวม
โลหิตเป็ นพิษ
ื้ และเป็ น
เยือ
่ หุ ้มสมองอักเสบ แผลติดเชอ
ื้ โรคประจาถิน
เชอ
่ ในโรงพยาบาล
ื้ เจริญบน Mac Conkey agar
 เชอ
Yersinia pestis
- ทาให ้เป็ นกาฬโรค (Plague) เป็ น
โรคติดต่อระหว่างประเทศ
- หมัดหนูเป็ นพาหะนาโรค
ื้ กัด
- การเกิดโรค คนถูกหมัดหนูทม
ี่ เี ชอ
ั้
-เป็ นแกรมลบรูปแท่งสน
พาหะนาโรคกาฬโรค
แหล่งรังโรค
Xenopsylla
cheopis
(หมัดหนู rat flea)
อาการแสดงของกาฬโรค
ื้ เข ้าทางรอยหมัดกัด
 เชอ
เข ้าต่อมน้ าเหลือง
ทาให ้ต่อมน้ าเหลืองบวมโต แล ้ว
แพร่กระจายไปยังกระแสเลือด ทาให ้
โลหิตเป็ นพิษ endotoxin ทาให ้มี
๊ ค เลือดไม่แข็งตัวทั่วร่างกาย
อาการชอ
 ถ ้าลามมายังปอด ทาให ้ปอดอักเสบ
ื้ โรคอาจแพร่กระจายจากคนสูค
่ นโดย
เชอ
ฝอยละอองน้ ามูก น้ าลายได ้
การรักษาและป้ องกัน
ี นะ
 ยาปฏิชว
 กาจัดหนู
และหมัดหนู
 แยกผู ้ป่ วยในรายกาฬโรคปอด
ื้ ทางอากาศ
 ระวังการแพร่กระจายของเชอ
 สวม mask เมือ
่ ให ้การพยาบาล ทาลาย
ื้ น้ ามูกเสมหะผู ้ป่ วยด ้วยน้ ายาฆ่าเชอ
ื้
เชอ
Vibrio cholerae







ก่อโรค cholera
ี รัมลบ เคลือ
มีรป
ู ร่างเป็ นท่อน โค ้งเล็กน ้อย ติดสก
่ นไหว
โดยใช ้ flagella
มีชวี ต
ิ อยูใ่ นน้ าทะเลหรือน้ าทีม
่ ส
ี ภาพเป็ นด่างได ้นานถึง 6
เดือน
ในน้ าประปามีชวี ต
ิ อยูไ่ ด ้ 30 วัน
ตายทีอ
่ ณ
ุ หถูม ิ 50 °c
ื้ ตายง่ายเมือ
เชอ
่ ถูกแสง แห ้ง กรด
ื้ TCBS agar
เจริญได ้ดีบนอาหารเลีย
้ งเชอ
Vibrio cholerae
มี flagella ใช ้
เคลือ
่ นไหว
Thiosulfate
citrate bile
salt sucrose
Serotype ของอหิวาตกโรค
 Ogawa
 Inaba
 Hikojima
Biotype ทีพ
่ บเป็ นสาเหตุของการระบาดคือ
ElTor Biotype หรืออหิวาเทียม
ื้ ไม่มอ
พบอัตราสว่ นของคนทีต
่ ด
ิ เชอ
ี าการ
ไม่ได ้รักษา กลายเป็ นพาหะของโรค
:มีอาการ=10:1
พยาธิสภาพ
ื้ แบ่งตัวในลาไสเล็
้ ก
เชอ
ิ
สร ้างแอนเทอโรทอกซน
เยือ
่ บุลาไสอั้ กเสบ
้ ง่ น้ าและอิเลคโตรลัยต์
กระตุ ้นให ้เซลล์ลาไสหลั
อุจจาระร่วงอย่างรุนแรง
เหมือนน้ าซาวข ้าว ไม่ต ้องเบ่ง ไม่ม ี
อาการและอาการแสดงอหิวาตกโรค
ระยะฟั กตัว 6-48 ชม. ถึง 5 วัน
 อาการ คลืน
่ ไส ้ อาเจียน ถ่ายเหลวพุง่ เป็ นน้ า ไม่ม ี
ี งโครกคราก ปวดท ้อง (บางคนไม่ปวด)
เสย
 เกิดอาการอุจจาระร่วงอย่างรุนแรง ถ่ายอุจจาระ
ี น้ า 15 l/d
เป็ นน้ าซาวข ้าว (Watery stool) เสย
 การวินจ
ิ ฉั ย ทา Rectal swab หรือเก็บเศษอาหาร
ทีอ
่ าเจียน

อาการและอาการแสดงอหิวาตกโรค


Rice-water stool from
a patient with cholera;
note the flecks of
mucus precipitated at
the bottom of the cup
that resemble rice
grains.
SOURCE: CDC
อาการและอาการแสดงอหิวาตกโรค


Washer woman
hands (loss of skin
elasticity) are a sign
of cholera.
SOURCE: CDC
การรักษา cholera
้ นตัวแรกและยัง
ควรใชเป็
้ ้ดีไม่ดอ
ใชได
ื้ ยา
 Doxycycline
 กลุม
่ Fluoroquinolones
้
 ยาทีใ
่ ชแทนได
้ คือ
Trimethoprim/Sulfamethoxazole
Erytromycin
 Tetracycline
Vibrio parahemolyticus
ื้ มี capsule
เชอ
ื้ สร ้างสารพิษ hemolysin
 เชอ
 ทาให ้เกิดโรคอาหารเป็ นพิษ อุจจาระร่วงรุนแรง


ื้ ชอบเจริญในอาหารทีม
เชอ
่ เี กลือโซเดียมคลอไรด์
มักพบในคนทีร่ ับประทานอาหารทะเลสุกๆ ดิบๆ
 ระยะฟั กตัว 6-48 ชม.
ั่ ไข ้ อาเจียนบาง
 อาการ ท ้องเดิน ปวดท ้อง หนาวสน
คน ยังไม่พบว่าตาย

Pseudomonas
ื้ ในสงิ่ แวดล ้อม ดินน้ า พืช สต
ั ว์ อาหาร
พบเชอ
เครือ
่ งสาอาง
 ทีก
่ อ
่ โรคในคน Psudomonas aeruginosa ,
Burkholderia pseudomallei (เดิมเรียก

Psudomonas pseudomallei)
Pseudomonas aeruginosa
ี รัมลบ รูปแท่ง
•ติดสก
•มีเอนไซม์สลายเม็ดเลือดแดง
ื้ ทนต่อสภาพแวดล ้อมมาก พบได ้
•เชอ
ื้ สารน้ าต่างๆ
ตามอ่างล ้างมือ น้ ายาฆ่าเชอ
ยาฉีด เครือ
่ งมือแพทย์
ื้ ในผู ้ป่ วยภูมค
•เกิดติดเชอ
ิ ุ ้มกันบกพร่อง ทีต
่ ้อง
นอนโรงพยาบาลนานๆ
ื้ มักอยูท
ื้ ๆ เชน
่ โพรงจมูก ลาคอ
•เชอ
่ ช
ี่ น
ทางเดินอาหาร เป็ น colonization ในคนที่
สุขภาพแข็งแรง
ื้ ในโรงพยาบาล (Nosocamial infection) จากเทคนิค
เป็ นโรคติดเชอ
ื้ ไม่ด ี เครือ
ื้ ไม่ด ี
ปราศจากเชอ
่ งมือปราศจากเชอ
ลักษณะโคโลนีของ P. aeruginosa
มีสเี ขียวอมเหลือง
และเรืองแสง
สเี ขียวอมฟ้ า
ลักษณะโคโลนีของ P. aeruginosa
Burkholderia pseudomallei
แบคทีเรียกรัมลบรูปแท่ง
 มีกลิน
่ คล ้ายไอระเหยจากดินหลังฝนตกใหม่ๆ
(earthy smell)
้
 มี flagella ใชในการเคลื
อ
่ นไหว 1 หรือมากกว่า
ั ตามแหล่งน้ า ดินทีช
ื้ แฉะ
 เป็ น free living อาศย
่ น
30-37 °c
 พบผู ้ป่ วยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 ทาให ้เกิดโรคไข ้ฟางข ้าว (Melloidosis)

การเกิดโรค melloidosis
ื้ เข ้าไป
 หายใจสูดดมเอาเชอ
ื้ เข ้า
กิน หรือเชอ
ทางบาดแผล
ื้ สามารถอยูใ่ นร่างกายคนโดยไม่แสดง
 เชอ
อาการเจ็บป่ วย
อาการของโรค Melloidosis
 ทาให ้เกิดโรคปอดบวม
มีโพรงคล ้ายวัณโรค
ื้ ในกระแสเลือด มักมีไข ้ร่วมกับฝี
ติดเชอ
หนองของอวัยวะ ต่อมน้ าเหลือง ผิวหนัง
เนือ
้ เยือ
่ ข ้อ กระดูก
ื้ ในกระแสโลหิต
 หรือติดเชอ
ทัง้ แบบแพร่กระจายและแบบไม่แพร่กระจาย
Acinetobacter
ื้ อยูใ่ นธรรมชาติในดิน น้ า เป็ นเชอ
ื้ ประจาถิน
พบเชอ
่
่ งคลอด
บนผิวหนัง ปาก ลาคอ ชอ
ี รัมลบแท่งสน
ั ้ (coccobacilli) ไม่เคลือ
 ติดสก
่ นที่
ั ได ้ในดินและน้ า และโรงพยาบาล
 อาศย
ื้ ในโรงพยาบาล
 เป็ นโรคติดเชอ
(Nosocomial infection)
ื้ ฉวยโอกาส
 ไม่กอ
่ โรคในคน เป็ นเชอ

ลักษณะโคโลนีของ Acinetobacter
Acinetobacter
Hemophilus influenza
ั ้ (coccobacilli)
-รูปร่างกรัมลบแท่งสน
ี รัมลบ ไม่เคลือ
-ติดสก
่ นที่
ื้ ในเยือ
-ในคนปกติทเี่ ป็ นพาหะอาจพบเชอ
่
บุทางเดินหายใจสว่ นบน คอ จมูก
ื้ โดยหายใจสูดเอาเชอ
ื้ เข ้าไป
-การติดเชอ
-ทาให ้เกิดเยือ
่ หุ ้มสมองอักเสบเฉียบพลัน
ลิน
้ หัวใจอักเสบ ผิวหนังอักเสบ
Hemophilus influenza
 พบมากในเด็กอายุ
2 เดือน ถึง 5 ปี
ื้ สูงในชว่ งขวบปี แรก
 เด็กทีม
่ โี อกาสติดเชอ
ี่ งสูงได ้แก่ เด็กทีฝ
 เด็กทีม
่ ค
ี วามเสย
่ าก
เลีย
้ งในสถานรับเลีย
้ งเด็ก เด็กในชุมชน
แออัด เด็กทีผ
่ ู ้ปกครองพาไป
ิ ค ้า
ห ้างสรรพสน
ี ป้ องกัน 3 dose เมือ
 การป้ องกัน ฉีดวัคซน
่
เด็กอายุ 2,4,6 เดือน
Hemophilus ducreyi
 ทาให ้เกิดโรคแผลริมอ่อน
ั พันธ์
 ติดต่อโดยเพศสม
 ระยะฟั กตัว
5-7 วัน
ื้ สร ้าง cytotoxin
 เชอ
(Chancroid)
อาการ






พบแผลทีอ
่ วัยวะเพศหรือรอบทวารหนัก
เริม
่ เป็ นตุม
่ ใส (papule) กดเจ็บ
ต่อมาเป็ นตุม
่ หนอง (pustule)
แตกออกเป็ นแผลตืน
้ ขอบเขตไม่จากัด 2 วัน เรียกแผล
ริมอ่อน (soft chancre) เจ็บบริเวณแผลมาก
ิ ิ ลส
ต่างจากแผลริมแข็งในซฟ
ิ (Hard chancre) จะเป็ น
ั เจน ไม่เจ็บ
ขอบนูนชด
อาจพบไข่ดน
ั บวมกดเจ็บ
soft chancre
ิ ิ ลส
แผลริมแข็งในซฟ
ิ
(Hard chancre)
Bubo (ต่อมน้ าเหลืองทีข
่ าหนีบโต)
Bordetella pertussive
ั้
 รูปร่างกรัมลบรูปแท่งสน
ี รัมลบ
 ติดสก
(coccobacilli)
ไม่เคลือ
่ นที่
 เจริญได ้ดีบนอาหาร Charcoal blood agar
 ทาให ้เกิดโรคไอกรนในเด็ก (Pertussive)
 แหล่งโรคอยูใ
่ นทางเดินหายใจผู ้ป่ วย
ื้ ตายง่ายเมือ
 เชอ
่ อยูใ่ นสงิ่ แวดล ้อม
ื้ เข ้าทางเดินหายใจ
 การติดต่อ โดยสูดเอาเชอ
Chacoal blood
agar
Cocco- bacilli
พยาธิสภาพของไอกรน
ื้ ฝั งตัวอยูใ่ นเยือ
 เชอ
่ บุหลอดลม
แล ้วสร ้าง
Endotoxin อันตรายต่อเยือ
่ บุหลอดลม
ทาให ้มีอาการไอกรน
Brucella
ี รัมลบ ไม่มส
coccobacilli ติดสก
ี ปอร์
ไม่ม ี capsule ไม่เคลือ
่ นที่
ื้ ทีม
 เจริญได ้ดีบนอาหารเลีย
้ งเชอ
่ ี Serum
ผสม
ั ว์ วัว ควาย แพะ แกะ
 เป็ นโรคติดต่อในสต
่ นได ้ (Zoonosis)
สุกร สามารถติดต่อมาสูค
 ทาให ้เกิดโรค Brucellosis
 รูปร่าง
Brucella
ื้ Brucella
ชนิดของเชอ
1.
2.
3.
4.
B. melitensis เกิดโรคในแพะ แกะ
B. abortus ทาให ้วัว ควาย แท ้ง
B. Suis เกิดโรคในหมู
B. canus เกิดโรคในสุนัข
่ นได ้
ติดต่อมาสูค
การเกิดโรค Brucellosis
1.
2.
3.
4.
ั ว์สก
การกิน น้ านมดิบ เนือ
้ สต
ุ ๆดิบๆ
ั ผัส กับสต
ั ว์ทป
ื้ เข ้า
การสม
ี่ ่ วยเป็ นโรค เชอ
ผิวหนัง
ื้ เข ้าไป
หายใจเอาเชอ
ื้ เข ้าสูต
่ อ
เชอ
่ มน้ าเหลือง กระแสเลือด
และเจริญเพิม
่ จานวนในเม็ดเลือดขาว และ
แพร่กระจายไปตามอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย
อาการแสดงของ Brucellosis
ั่
 มีไข ้ หนาวสน
อ่อนเพลีย เหงือ
่ ออกตอน
กลางคืน ปวดศรี ษะ ปวดตามข ้อตาม
กล ้ามเนือ
้ ท ้องผูก โลหิตจาง เจ็บคอ
Corynebacterium diphtheriae
Bacillus anthracis
Corynebacterium diphtheriae
ี รัมบวก
ติดสก
้ื Blood หรือ Serum
 อาหารเลีย
้ งเชอ
tellurite media
 เกิดโรค Diphtheria
ื้ ตามลาคอของผู ้ป่ วย
 พบเชอ
 รูปร่างคล ้ายกระบอง
ลักษณะของโคโลนีของ Diphtheriae
ื้
สเี ทาดาบนอาหารเลีย
้ งเชอ
พยาธิสภาพโรคคอตีบ
 แพร่กระจายทางน้ ามูก
น้ าลาย
ื้ เจริญอยูท
 เชอ
่ เี่ ยือ
่ บุเมือกในคอ
ทาให ้มีการอักเสบ WBC
ื้ เกิดเป็ นแผ่นบาง
มาเก็บกินเชอ
(Pseudomembrane)
อุดกัน
้ หลอดลม หายใจไม่ออก
การป้ องกันโรคคอตีบ
ี รวม (DPT)
3-4 เดือน ฉีดวัคซน
Diphtheriae Pertussis Tetanus vaccine
 รักษาผู ้ป่ วย และผู ้ทีเ่ ป็ นพาหะให ้หายขาด
 เด็กอายุ
Bacillus anthracis
ทาให ้เกิดโรค Anthrax
 เป็ นโรคติดต่อในวัว ควาย แพะ แกะ สามารถติด
่ นได ้ (ZOONOSIS)
ต่อมาสูค
ิ่ แวดล ้อมได ้
- รูปร่างท่อน สร ้างสปอร์ทนทานในสง
หลายปี
ื้ บน nutrient agar
- เลีย
้ งเชอ
้ นอาวุธชวี ภาพ
- ใชเป็
 สปอร์ตามดิน หญ ้า ในทุง
่ ฟาร์มได ้นาน 20 ปี

Bacillus anthracis
spore anthrax
การติดต่อของโรคแอนแทรกซ ์



ื้ เข ้าทางผิวหนังทีม
เชอ
่ รี อยแยกหรือมี
ั ว์
บาดแผล มักพบผู ้ป่ วยทีช
่ าแหละเนือ
้ สต
ป่ วย
ทาให ้ผิวหนังบวมแดง
Cutaneous anthrax
Cutaneous anthrax
•มีแผลเนือ
้ ตายน้ าตาลแก่
คล ้ายรอยบุหรีจ
่ ี้ (Eschar)
•มีไข ้ ปวดเมือ
่ ยตามตัว
•อาจทาให ้ โลหิตเป็ นพิษ
ื้ เข ้าสูก
่ ระแสเลือด
เมือ
่ เชอ
Inhalation anthrax
หายใจเอาสปอร์
ื้ เข ้าไป
ของเชอ
ทาให ้มีอาการปอด
อักเสบอย่างรุนแรง
มักพบในคนทางาน
ั ว์
เกีย
่ วกับขนสต
Intestinal anthrax
ื้ อาหารทีป
ื้
 เกิดจากกินเชอ
่ นเปื้ อนเชอ
ั ว์ทป
โดยเฉพาะสต
ี่ ่ วยเป็ นโรคเข ้าไปทาให ้
้
มีไข ้ คลืน
่ ไสอาเจี
ยน ปวดท ้อง ถ่ายเป็ น
เลือด
การป้ องกันและควบคุมโรค Anthrax
ี ป้ องกันแก่ผู ้ทีเ่ สย
ี่ งต่อการเกิดโรค
 ฉีดวัคซน
่ สต
ั ว์แพทย์ คนทางานเกีย
ั ว์
เชน
่ วกับขนสต
ั ว์ทป
 สต
ี่ ่ วยตายไม่ทราบสาเหตุห ้ามชาแหละ
ควรฝั งดิน