จิต-เจสิกและจักรวาล

Download Report

Transcript จิต-เจสิกและจักรวาล

จักรวาล กับ จิต
ทันตแพทย์ สม สุจีรา
www.Tutorsom.com
ไอน์ สไตน์ พบ พระพุทธเจ้ าเห็น (๕ )
ดวงจิต แต่ละดวงมีองค์ประกอบที่เรี ยกว่า “เจตสิก” องค์ประกอบของอะตอมที่แตกต่างกัน จากจานวนของ
อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน สร้ างคุณสมบัติของธาตุทางเคมีที่หลากหลายไม่เหมือนกันฉัน
ใด องค์ประกอบของจิตที่แตกต่างกัน ก็สร้ างคุณสมบัติของดวงจิตที่ต่างกันฉันนั ้น องค์ประกอบของจิตที่
แตกต่างกัน ก็สร้ างคุณสมบัติของดวงจิตที่ต่างกันฉันนั ้น องค์ประกอบของจิตที่เรี ยกว่า “เจตสิก” มีทั ้งหมด
๕๒ ชนิด โดยองค์ประกอบที่หลากหลายจากเจตสิกทั ้ง ๕๒ ชนิดนี ้ ทาให้ สามารถเกิดลักษณะของดวงจิตที่
แตกต่างกันได้ ถึง ๑๒๑ แบบ ดวงจิตแห่งรัก โลภ โกรธ หลง และเวทนาที่เกิดจากรูป รส กลิน่ เสียง สัมผัสก็เป็ น
ส่วนหนึ่งใน ๑๒๑ แบบนี ้ วิทยาศาสตร์ ไม่เคยศึกษาในเรื่ องนี ้ ที่ใกล้ เคียงที่สดุ ก็คือ การศึกษาในเรื่ องโครงสร้ าง
ของจิตของซิกมุนด์ ฟรอยด์ แต่การค้ นพบของฟรอยด์เป็ นเพียงคุณสมบัตภิ ายนอกอย่าง id, ego,
superego เท่านั ้น ไม่สามารถลงลึกไปที่โครงสร้ างภายในของจิตได้ ดวงจิตหนึ่งดวงประกอบไปด้ วย
องค์ประกอบภายในมากมาย มีการเกิดดับและเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติขององค์ประกอบอยูต่ ลอดเวลา รับรู้ถึง
เวทนาของ รูป รส กลิน่ เสียง สัมผัส ที่ผ่านเข้ ามาทางทวารได้ อย่างหลากหลายความรู้สกึ และเกิดดับอย่าง
รวดเร็ว ผู้ที่สามารถกาหนดสติที่ไวขนาดสามารถจับการเกิดดับของดวงจิตหรื อกลุม่ ดวงจิตได้ ทนั จะเข้ าใจถึง
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของรูป นามได้ ชดั เจน ในขณะฝั นจะเกิดกระบวนย้ อนกลับ พลังแห่งกรรมเหนี่ยวนาให้
เจตสิกมารวมตัวกันเป็ นดวงจิต ก่อให้ เกิดอารมณ์ กิเลสตัณหา เวทนา ตามลักษณะของจิตนั ้น และสร้ างภาพ
ฝั นไปราวกับเรื่ องจริง โดยที่ไม่มีอายตนะภายใน ภายนอก หรื อทวารทั ้งห้ าเข้ ามาเกี่ยวข้ องด้ วยเลย สาหรับ
พระอรหันต์ซงึ่ มีสติสมั ปรัชญญะสมบูรณ์ร้อยเปอร์ เซ็นต์ รับรู้ เข้ าใจ และไหวทันต่อกระบวนการเกิดดับ ของ
เจตสิกและดวงจิตอย่างถ่องแท้ พระอรหันต์จงึ ไม่มีการฝั นต่อไป
การเกิดดับของจิต ก็คือการสลายตัวของเจตสิก และถ่ายทอดพลังงานสืบเนื่อง ทาให้ เจตสิกใหม่
ก่อตัวขึ ้นมาเกิดเป็ นดวงจิตดวงต่อไป ซึง่ รับถ่ายทอดคุณสมบัติของจิตดวงเดิมไว้ ด้วย คาบเวลาระหว่างการเกิด
ดับของจิตแต่ละดวงสั ้นมาก ในช่วงเวลาเพียงหนึ่งวินาที จะมีการเกิดดับของจิตเกิดขึ ้นไปแล้ วนับล้ านล้ าน
ดวง อันที่จริงแล้ วการเกิดดับของจิตก็ไม่มีอยู่จริง เพียงแต่ในมิติของโลกซึง่ มีการไหลเลื่อนของเวลา ทาให้ จิต
เกิดการเกิดดับเป็ นสายรับรู้ รูป รส กลิน่ เสียง สัมผัส เกิดอารมณ์ต่างๆ ได้ มากมาย เราจึงรู้ สึกว่ามีโลกและชีวิต
เกิดขึ ้นเมื่อใดเราพบกับความจริงแท้ ของปั จจุบนั ขณะแห่งเวลา เหมือนเวลาหยุด เราจะพบว่าทุกอย่างเป็ น
อนัตตา สุญญตา ไม่มีการเกิด ไม่มีการดับ ชีวิต โลก และเวลา คือสิง่ เดียวกัน
การเวียนว่ ายตายเกิด ก็คือการเกิดดับของจิตนัน่ เอง จิตสุดท้ ายของการตายซึง่ จะนาไปสูก่ าร
เกิด ถ้ ามีสว่ นของนามที่เต็มไปด้ วย “โทสะ” ปฎิสนธิจิตก็จะลงไปรวมกับรูปที่ชั ้นของสัตว์นรกและอสุรกาย และ
ถ้ าจิตนั ้นเต็มไปด้ วย “โลภะ” ปฎิสนธิจิตก็จะดิ่งลงไปรวมกับรูปในชั ้นของเปรต ส่วนผู้ที่จิตสุดท้ ายก่อนเสียชีวิต
เต็มไปด้ วย “โมหะ” ก็จะลงไปเกิดในรูปของสัตว์เดรัจฉาน ส่วนผลกรรมที่เคยทาไว้ จะสนองระหว่างดารงชีวิตอยู่ที่
ภพใหม่นั ้นในรูปของ “วิบากกรรม” จิตทาหน้ าที่เก็บสะสมกรรมทั ้งดีทั ้งชัว่ เมล็ดแห่งกรรมสะสมพลังงานของจิต
ไว้ และจะส่งผลเมือ่ มีการเกิดใหม่อีกครัง้
กฎแห่ งกรรม คือ ผลสะท้ อนของกรรมเก่าที่ได้ เคยกระทาไว้ ในอดีตกาลจะสนองคืนในสอง
รูปแบบ คือ ส่งผลในรูปของภพภูมทิ ี่ไปเกิด และส่งผลภายหลังการเกิดคือระหว่างดารงชีวิต ผลของ
กรรมที่สนองคืนในขณะเกิด ทาให้ ชีวิตถือกาเนิดขึ ้นในรูป ภพ และสังคมที่แตกต่างกัน ผลของกรรม
จะแสดงให้ เห็นได้ ชดั ในเชิงรูปธรรม เช่น รูปร่าง หน้ าตา เพศ เผ่าพันธุ์ สภาพครอบครัว ฐานะ ความ
เป็ นอยู่ แต่”ผลของวิบากกรรม” ที่สนองให้ เห็นในเชิงนามธรรมจะลึกลับและซับซ้ อนกว่าผลของกรรม
หลายเท่า ผลของกรรมอาจสามารถทาให้ คนสองคนเหมือนกันทุกประการ เช่น ฝาแฝดแท้ ทั ้งสองชีวิต
มีจดุ เริ่มต้ นเหมือนกัน เกิดในเวลาใกล้ เคียงกัน มียีนและทุกอย่างเหมือนกันทุกประการ แต่สงิ่ หนึ่งที่
ต่างกันก็คือ “วิบากกรรม” ทั ้งสองชีวิต จิตสองดวง มีผลแห่งวิบากไม่เหมือนกันย่อมทาให้ วิถีชีวิตของ
ทั ้งสองแตกต่างกัน แม้ ว่าฝาแฝดนั ้นจะอยู่ติดกันไปตลอดชีวิตอย่างเช่นกรณี อิน-จัน ก็ตาม “วิบาก
กรรม” คือผลอันเกิดจากกรรม ที่ทางานโดยอาศัยทวารทั ้ง ๖ ของมนุษย์เป็ นเครื่ องมือ นัน่ ก็คือ ตา หู
จมูก ลิ ้น กาย ใจ ซึง่ ตาละคนจะสนองตอบด้ วยเวทนา ตัณหา อุปาทาน ที่แตกต่างกันไป วิบากกรรมจะ
เอารูป รส กลิน่ เสียง สัมผัส มายัว่ ผ่านทวาร ตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ เพื่อให้ สมั พันธ์ กบั สภาพแห่งจิต
และองค์ประกอบของจิต (เจตสิก) ในแต่ละคน และก่อให้ เกิดการสนองของผลกรรมเป็ นไปตามที่เจ้ า
กรรมนายเวรต้ องการ
http://www.phrasiarn.com/?topic=4281.0;wap2
http://www.dhammachak.net/board/viewtopic.php?t=578
กฏของจักรวาล คือ วัฏจักรไหลวน ความเป็ นวงกลม, ความไม่เที่ยงแท้ ,ทุกอย่างอยู่กบั ความเป็ นไปไม่ได้ และ
ความเป็ นไปได้ ความต่อเนื่อง ความไม่มีที่สิ ้นสุด และความปราศเงื่อนไข ทั ้งหมดมีโครงข่ายอันเดียวกันกับจิต
วิญญาณมนุษย์
มิติและทิศทางการไหลวนวงกลมพลังงานในจักรวาลสัมพันธ์กบั จักระทั ้ง ๗ เรื อนกายมนุษย์
เชิงคณิตศาสตร์ หนึ่งวงกลม จากจุดเริ่มต้ น ถึงจุดจบ นับเป็ น 1 คาบเวลา
มีหลักของเหตุและผลที่แน่นอน ไม่ป็นอย่างอื่นไปได้ เช่น
เมื่อใส่ A ย่อมได้ ผลของ A ในความเป็ นไปภายใต้ กฏ (ใส่ A ได้ ผลออกมา B นั ้นเป็ นไปไม่ได้ )
อุปมาว่ า เราได้ รับผลส้ ม เพราะว่ าได้ ปลูกต้ นส้ มไว้ ในสวนของเรา
สิง่ ที่จิตใจมนุษย์ คิดและทาสิง่ ใด ผลที่ได้ รับออกมาก็ได้ ส่ งิ นัน้ ช้ าหรือเร็วขึน้ อยู่กับเจตนา และเวลา
เพราะในจักรวาล มีหลายความถี่ หลายคลื่นสั่นสะเทือน จึงเกิดมีเป็ นมิติ ภพภูมิขนึ ้ มา
แต่ละภพภูมิ เวลาก็ต่างกัน โลกภพภูมทิ ี่มนุษย์อาศัยอยู่ที่ชว่ งความถี่ ความละเอียดในการสั่นสะเทือนระดับเฉพาะ
ค่านึง คิดพูดและกระทาทางใจทางกาย ผลที่เกิดขึ ้นย้ อนมาแต่ ละกรรมจึงช้ าเร็วไม่ เท่ ากัน จึงเป็ นเรื่ องมิตขิ อง
"เวลา"
.......เป็ นพลังที่สถิตย์อยู่กระทาการรักษาผดุงภาวะสมดุลย์ของมวลชีวิตตั ้งแต่ระดับหน่วยที่ย่อยเล็กสุด จนถึงหน่วยที่
ใหญ่สดุ ในสากลจักรวาล
........สิง่ ที่เป็ นผล วนรอบย้ อนกลับมา ซึง่ ผลนั ้นอยู่ให้ ดู ชื่นชมหรื อไม่พอใจกับผลนั ้น จะนานช้ าหรื อเร็ววัน กฏ
ธรรมชาติของจักรวาลก็จัดสรรให้ อย่ างพอดีกับเวลาและครบครั นไม่ตกหล่น
........กฏจักรวาลดังกล่าว ปฏิบตั ิโดย ไม่เลือกรักชังใคร ไม่เลือกชาติเผ่าพันธ์ ไม่เลือกหญิง/ชาย ไม่เลือกว่าคนนั ้นเป็ น
พุทธ,คริสต์,อิสลาม..ฯลฯ ไม่ เลือกฐานะว่ ารวยหรื อจน สิ่งใดก็ตามที่อยู่ภายใต้ มาตรฐานกฏนีเ้ ท่ าเทียมกันหมด
ทัว่ ทั ้งจักรวาล
........บางภพภูมิ เพียงการคิดที่เกิดมิติการกระทาทางใจ ก็เนรมิตเกิดมี เกิดเป็ นสิง่ ต่างๆขึ ้น ได้ เร็วพลัน อย่างนั ้นก็มี ก็
เกิดจากภพภูมนิ ั ้นมีคลื่นความถี่ คลื่นสัน่ สะเทือน ธาตุที่ละเอียดมากกว่าโลกมนุษย์ เป็ นเรื่ องของ เวลา
........แต่กระนั ้นทุกภพภูมิมีช่วงคลื่นความถี่ แรงสั่นสะเทือน มิตขิ องการกระทาทางใจ สร้ างแรงดึงดูดและ
ผลักดัน โดย คตินิมติ แรงสืบต่ อ(สันตติ) ห้ วงกาลเวลาแห่ งความถือมั่นยึดมั่น(อุปาทาน) อาศัยภาพเนรมิตจาก
ลักษณะความทรงจา(สัญญา) คติความเชื่อนรกสวรรค์ จากถิ่นฐานขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา วัฒนธรรม ที่เคย
อยู่อาศัยเดิม ที่ประทับความรู้สกึ (เวทนา)เป็ นรอยจาอยู่ในจิตใจ
: วงกลมและรอยต่อช่องว่าง อาศัยการศึกษาโดยความเงียบสงบทางจิตใจ :
พึงใส่ใจ ศึกษา ระลึกรู้ถึงภาวะความเป็ นวงกลม หมายถึง วัฏจักรวงกลม
ความที่คนเราเกิด แก่ เจ็บ ตาย วงรอบความเป็ นวงกลมของชีวติ
แต่ละวันที่ผ่านไป ตื่นนอน ไปจนหลับ ชีวิตประจาวันที่เป็ นวงกลม
อารมณ์ ความนึกคิด ที่มีเกิดขึน้ และดับลงไป แล้ วเกิดขึน้ มารอบใหม่
หรื อบางหนบางขณะ
ใส่ใจในการระลึกรู้ ช่องว่าง เพื่อเกิดความรู้ตวั ทัว่ พร้ อมหยัง่ ลงในท่ามกลาง
รอยต่อช่องว่างระหว่างความนึกคิดนึงที่ดบั ไป ก่อนที่ความนึกอันใหม่จะเกิด
รอยต่อช่องว่างระหว่างลมหายใจที่เข้ ามา ก่อนลมหายใจกาลังจะออกไป
รอยต่อช่องว่างระหว่างลมหายใจที่ออกไปแล้ ว ก่อนลมหายใจกาลังจะเข้ ามา
ภายใต้ กฎธรรมชาติ สนามแรงของการรักษาสมดุล กฎของการดึงดูด กฎจักรวาลพื ้นฐานเหล่านี ้ที่ทาให้ มนุษย์ และ
สิง่ มีชีวิตสานึกรู้ ทั ้งหลายอยู่ร่วมกันได้ อย่างสอดคล้ องมานาน หลายหลายร้ อยล้ านปี วัฏจักรของจักรวาล ในการ
เกิด และดับสลาย ไม่ มีท่ ีสนิ ้ สุดเหมือนกับกฏจักรวาลดังที่กล่าวมาแล้ ว จิต ภพภูมิ เวลา กฏจักรวาล ก็มีความ
เกี่ยวเนื่องกัน
ปกติแล้ วกฏจักรวาลทัง้ หมดดังกล่ าว ได้ ดาเนินไปอย่ างปราศจากเงื่อนไข ปราศจากทิฏฐิ ชัดเจน และเป็ นกฏ
ตายตัว
......โดยดาเนินไปอย่างอนันต์ไม่มีที่สิ ้นสุด ตั ้งแต่อดีตเวลาที่ผ่านมา..ร้ อยปี ล้ านปี ร้ อยล้ านปี นับจากวันนี ้ไป...ก็ยงั
เป็ นกฏดังที่กล่าวมา กฏนี ้ไม่สนว่าจะมีเรา มีเขา หรื อไม่สนว่าจะมีสงิ่ มีชีวิตชนิดใดหรื อมนุษย์เกิดขึ ้นมามากน้ อย
หรื อไม่ประการใด
เพียงแต่มนุษย์เรามักมีเงื่อนไข สาแดงและยึดถืออัตตาตัวตน จึงมีความหวัง และสิ ้นหวัง สลับกันไป
มนุษย์เราตั ้งแต่อดีตมามักค้ นหาความจริง เพื่อดาเนินไปด้ วยกันเรี ยนรู้ความสอดคล้ องต้ องกันของกฏธรรมชาติ
วัฏจักรการเรี ยนรู้ทกุ ข์สขุ สะสม ปั ญญาญาณ จากประสบการณ์ชีวิตมีการเวียนว่ายตายเกิดของจิตวิญญาณ
........คือการโฟกัสรวมศูนย์ เข้ ามอง พิจารณาพฤติกรรมภายในตัวจิตเองเพื่อเป็ นการพัฒนายกระดับรู้ แจ้ งทาง
จิตวิญญาณ อย่างสอดคล้ อง รักและพึงทาความเข้ าใจยอมรับอย่างอ่อนน้ อมถ่อมตนต่อความเป็ นไปกฏของ
จักรวาล
ด้ วยความเป็ นกฏธรรมชาติ ว่ามันเป็ นเช่นนั ้นเอง มันไม่มากไปและไม่น้อยไป
ควอนตัมทางจิต
ไอน์สไตย์เป็ นคนแรกที่ชี ้ให้ เห็นถึงควอนตัมของพลังงานจากการทดลองเรื่ องโฟโตอิเลคตริกเอ็ฟเฟ็ ค ทาให้
ทราบว่าพลังงานมากน้ อยของอิเลคตรอนแต่ ละอนุภาคขึน้ อยู่กับความถี่แสง พลังงานที่ปลดปล่อย
ออกมาไม่ได้ มีค่าต่อเนื่อง แต่เป็ นค่าเฉพาะพื ้นฐานที่เรี ยกว่าควอนตัมของพลังงาน เป็ นหน่วยหรื อก้ อน
พลังงาน ค่าจากัดค่าหนึ่ง ไม่ใช่เป็ นค่าอะไรก็ได้ ในทางจิตตามขันธ์ 5 คือนามขันธ์อนั ประกอบด้ วย เวทนา
สัญญา สังขาร และวิญาณ แต่ละอย่างเป็ นองค์ประกอบทางจิต โดยสรุปเวทนาคือความรู้สกึ สัญญาคือ
ความจา สังขารคือความคิด และวิญญาณคือตัวรับรู้ ในกระบวนการของจิต ตั ้งแต่อายตนะทัง้ 6 คือตา หู
จมูก ลิ ้น กาย และใจ เราทราบกันดีตาทาให้ มองเห็นภาพ หู้ได้ ยินเสียง จมูกได้ กลิน่ และกายรับสัมผัส ใจรับ
อารมณ์หรื ออาการของจิต
การที่จะเข้ าใจกระบวนการทางจิตต้ องทาความเข้ าใจการทางานสัมพันธ์ เชื่อมโยงของนามขันธ์ ซึง่ การแตกดับ
ของจิตเกิดขึ ้นเร็วมากและจานวนมากอาจเรี ยกว่าเป็ นดวงจิตที่เกิดขึน้ เร็วมากจนใช้ สติตามไม่ ทัน ในแง่นี ้ก็คือ
เปรี ยบเสมือนเป็ นควอนตัมของจิต นัน่ คือเมื่ออายตนะรับสัมผัสมาก่อให้ เกิดความรู้สกึ แล้ วนั ้น ก่ อให้ เกิดการจาตามด้ วย
ความคิดที่ปรุงแต่งของสังขารเกิดอารมณ์รับรู้โดยวืญญาณ ในการเกิดอารมณ์นั ้นรวดเร็วที่มีจติ มารับเห็นเหมือนดังจิตที่
เกิดดับมารับเป็ นทอดๆ การเกิดอารมณ์ก็เกิดขึ ้นที่ละอารมณ์ แต่เพราะเกิดขึ ้นเร็วมากจนไม่อาจแยกได้ สภาพการเกิด
อารมณ์ที่ละอย่างนั ้นก็เป็ นเสมือนควอนตัมของจิต พอสรุ ปได้ 3 ขัน้ ตอนคือ
1 การรับอารมณ์ ดีไม่ดีหรื อเฉยๆ โกรธ เกลียดหรื อรักชอบ
2 อารมณ์ตั ้งอยู่ แปรปรวนอยู่ท่ามกลาง ในขั ้นตอนนี ้ก็จะปรุงแต่งให้ มากขึ ้น
ทาให้ ไม่สามารถลบออกจากใจได้
3 อารมณ์ดบั ไป เช่นอารมณ์ เดิมดับไป เกิดอารมณ์ ใหม่ ปรุ งแต่ งแล้ ว ทาให้ เกลียดมาขึน้ หลงไหลมากขึ ้นก็มี
ดวงจิตใหม่มารับไป เป็ นการปรุ งแต่ งของสังขาร
จะเห็นว่าการเกิดดับของจิตเป็ นวัฏจักร ที่รับอารมณ์ใหม่ที่ละอารมณ์จนเราตามไม่ทนั เป็ นไปโดยอัตโนมัติ
นัน่ เอง ในการปฏิบตั ิธรรมนั ้นเรามุง่ ที่จะควบคุมความคิดหรื อสังขารให้ เป็ นไปในทางที่ดีไม่ปรุงแต่งก็จะทาให้ จติ สงบได้
http://www.sct.nstru.ac.th/sct2011/index.php
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต) พระธรรมปิ ฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต)
เจตสิก 52 (ธรรมที่ประกอบกับจิต, สภาวธรรมที่เกิดดับพร้ อมกับจิต มีอารมณ์และวัตถุที่อาศัยเดียวกันกับจิต, อาการ
และคุณสมบัติต่างๆ ของจิต - mental factors; mental concomitants)
ก. อัญญาสมานาเจตสิก 13 (เจตสิกที่มีเสมอกันแก่จิตพวกอื่น คือ ประกอบเข้ าได้ กบั จิตทุกฝ่ ายทั ้งกุศลและ
อกุศล มิใช่เข้ าได้ แต่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งพวกเดียว - the Common-to-Each-Other; general mental factors)
1) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก 7 (เจตสิกที่เกิดทัว่ ไปกับจิตทุกดวง - universal mental factors; the Primary)
1. ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์ - contact; sense-impression)
2. เวทนา (ความเสวยอารมณ์ - feeling)
3. สัญญา (ความหมายรู้อารมณ์ - perception)
4. เจตนา (ความจงใจต่ออารมณ์ - volition)
5. เอกัคคตา (ความมีอารมณ์เป็ นอันเดียว - one-pointedness; concentration)
6. ชีวิตินทรี ย์ (อินทรี ย์คือชีวิต, สภาวะที่เป็ นใหญ่ในการรักษานามธรรมทั ้งปวง - vitality; life-faculty)
7. มนสิการ (ความกระทาอารมณ์ไว้ ในใจ, ใส่ใจ - attention)
2) ปกิณณก เจตสิก 6 (เจตสิกที่เรี่ ยรายแพร่กระจายทัว่ ไป คือ เกิดกับจิตได้ ทั ้งฝ่ ายกุศล และอกุศล แต่ไม่แน่นอน
เสมอไปทุกดวง - particular mental factors; the Secondary)
8. วิตก (ความตรึกอารมณ์ - initial application; thought conception; applied thought)
9. วิจาร (ความตรองหรื อพิจารณาอารมณ์ - sustained application; discursive thinking; sustained
thought)
10. อธิโมกข์ (ความปลงใจหรื อปั กใจในอารมณ์ - determination; resolution)
11. วิริยะ (ความเพียร - effort; energy)
12. ปี ติ (ความปลาบปลื ้มในอารมณ์, อิ่มใจ - joy; interest)
13. ฉันทะ (ความพอใจในอารมณ์ - conation; zeal)
ข. อกุศลเจตสิก 14 (เจตสิกฝ่ ายอกุศล - immoral or unwholesome mental factors; unprofitable
mental factors)
1) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก 4 (เจตสิกที่เกิดทัว่ ไปกับอกุศลจิตทุกดวง - universal immoral; the Primary)
14. โมหะ (ความหลง - delusion)
15. อหิริกะ (ความไม่ละอายต่อบาป - shamelessness; lack of moral shame)
16. อโนตตัปปะ (ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป - fearlessness; lack of moral dread)
17. อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน - restlessness; unrest)
2) ปกิณณกอกุศลเจตสิก 10 (อกุศลเจตสิกที่เกิดเรี่ ยรายแก่อกุศลจิต - particular immoral; the Secondary)
18. โลภะ (ความอยากได้ อารมณ์ - greed)
19. ทิฏฐิ (ความเห็นผิด - wrong view)
20. มานะ (ความถือตัว - conceit)
21. โทสะ (ความคิดประทุษร้ าย - hatred)
22. อิสสา (ความริษยา - envy; jealousy)
23. มัจฉริยะ (ความตระหนี่ - stinginess; meanness)
24. กุกกุจจะ (ความเดือดร้ อนใจ - worry; remorse)
25. ถีนะ (ความหดหู่ - sloth)
26. มิทธะ (ความง่วงเหงา - torpor)
27. วิจิกิจฉา (ความคลางแคลงสงสัย - doubt; uncertainty; scepsis)
ค. โสภณเจตสิก 25 (เจตสิกฝ่ ายดีงาม - beautiful mental factors; lofty mental factors)
1) โสภณสาธารณเจตสิก 19 (เจตสิกที่เกิดทัว่ ไปกับจิตดีงามทุกดวง - universal beautiful mental
factors; the Primary)
28. สัทธา (ความเชื่อ - confidence; faith)
29. สติ (ความระลึกได้ , ความสานึกพร้ อมอยู่ - mindfulness)
30. หิริ (ความละอายต่อบาป - moral shame; conscience)
31. โอตตัปปะ (ความสะดุ้งกลัวต่อบาป - moral dread)
32. อโลภะ (ความไม่อยากได้ อารมณ์ - non-greed)
33. อโทสะ (ความไม่คิดประทุษร้ าย - non-hatred)
34. ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็ นกลางในอารมณ์นั ้นๆ - equanimity; specific neutrality)
35. กายปั สสัทธิ (ความสงบแห่งกองเจตสิก - tranquillity of mental body)
36. จิตตปั สสัทธิ (ความสงบแห่งจิต - tranquillity of mind)
37. กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก - lightness of mental body; agility of ~)
38. จิตตลหุตา (ความเบาแห่งจิต - lightness of mind; agility of ~)
39. กายมุทตุ า (ความอ่อนหรื อนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก - pliancy of mental body; elasticity of ~)
40. จิตตมุทตุ า (ความอ่อนหรื อนุ่มนวลแห่งจิต - pliancy of mind; elasticity of ~)
41. กายกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งกองเจตสิก - adaptability of mind; wieldiness of ~)
42. จิตตกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งจิต - adaptability of mind; wieldiness of ~)
43. กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก - proficiency of mental body)
44. จิตตปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งจิต - proficiency of mind)
45. กายุชกุ ตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก - rectitude of mental body; uprightness of ~)
46. จิตตุชกุ ตา (ความซื่อตรงแห่งจิต - rectitude of mind; uprightness of ~)
2) วิรตีเจตสิก 3 (เจตสิกที่เป็ นตัวความงดเว้ น - abstinences)
47. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ - right speech)
48. สัมมากัมมันตะ (กระทาชอบ - right action)
49. สัมมาอาชีวะ (เลี ้ยงชีพชอบ - right livelihood)
3) อัปปมัญญาเจตสิก 2 (เจตสิกคืออัปปมัญญา - boundless states)
50. กรุณา (ความสงสารสัตว์ผ้ ถู ึงทุกข์ - compassion)
51. มุทิตา (ความยินดีต่อสัตว์ผ้ ไู ด้ สขุ - sympathetic joy)
4) ปั ญญินทรี ย์เจตสิก 1 (เจตสิกคือปั ญญินทรี ย์ - faculty of wisdom)
52. ปั ญญินทรี ย์ หรื อ อโมหะ (ความรู้เข้ าใจ ไม่หลง - undeludedness; wisdom)
http://84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=%E0%A8%B5%CA%D4%A1&detail=on
ทศพลญาณ ๑๐ ประการ
ตทนนฺตร ลาดับนั ้น พระพุทธเจ้ าจึงตรัสเทศนา ต่อไปอีกว่า อานนฺท ดูกรอานนท์ ความทุกข์ในนรกและ ความสุขใน
สวรรค์และพระนิพพานนั ้นใครจะช่วยใครไม่ได้
เมื่อใครชอบอย่างใดก็ทาอย่างนั ้น แม้ เราตถาคตก็ช่วยใคร ให้ พ้นทุกข์ และช่ วยใครให้ ได้ สวรรค์ และพระ
นิพพานไม่ ได้ ได้ แต่เพียงสั่งสอนชีแ้ จงให้ ร้ ูสุขรู้ ทุกข์ ให้ ร้ ู สวรรค์ ให้ ร้ ู พระนิพพานด้ วยวาจาเท่านั ้น
อันกองทุกข์ โทษ บาป กรรมทั ้งปวงนั ้น ก็คือตัวกิเลสตัณหา ครัน้ ดับกิเลสตัณหา ได้ แล้ ว ก็ไม่ต้ องลงนรก
ถ้ าดับกิเลสตัณหาได้ มากก็ขึ ้นไป เสวยสุขในสวรรค์
ถ้ าดับกิเลสตัณหาได้ สิ ้นเชิงหาเศษมิได้ แล้ ว ก็ได้ เสวยสุขในพระนิพพานทีเดียว
เราตถาคตบอกให้ ร้ ู แต่ ทางไปเท่ านัน้ ถ้ าผู้ร้ ูทางแห่งความสุข แล้ วประพฤติปฏิบตั ิ ตามก็ได้ ประสบสุขสมประสงค์
อย่าว่าแต่เราตถาคตเลย แม้ พระพุทธเจ้ าทั ้งหลายที่ลว่ งไปแล้ วนับไม่ถ้วนก็ดี และ จะมาตรัสรู้ในกาลเป็ นภายหลังก็ดี
จะมาช่วยพาเอา สัตว์ทั ้งหลายไปให้ พ้นจากทุกข์ แล้ วให้ ได้ เสวยสุขเช่นนั ้น ไม่มี มีแต่มาแนะนาสัง่ สอนให้ ร้ ูสขุ รู้ทกุ ข์ รู้
สวรรค์ และ พระนิพพานอย่างเดียวกันกับเราตถาคตนี ้
ผู้ใดมีทศพลญาณ ผู้นั ้นได้ ชื่อว่าพระพุทธเจ้ าด้ วยกันทุกองค์ ไม่ควรจะมีความสงสัย ญาณ ๑๐ ประการนั ้นเป็ น
เครื่ องหมาย ของพระพุทธเจ้ า ถ้ าไม่มีญาณ ๑๐ ประการแล้ ว จะรู้ดีมีอิทธิ ดาดินบินบนได้ อย่างไรๆ ก็ตาม ก็ไม่
เรี ยกว่าพระพุทธเจ้ า ถ้ ามีญาณ ๑๐ ประการแล้ ว จะไม่มีอิทธาศักดานุภาพ อย่างไรก็ตาม ก็ให้ เรี ยกท่านผู้นั ้นว่า
พระพุทธเจ้ า
เพราะ ทศพลญาณ ๑๐ ประการเป็ นเครื่ องหมายของพระพุทธเจ้ า ถ้ าไม่มีเครื่ องหมายอย่างนี ้ ผู้ใดมีฤทธิ์มีเดช
ขึ ้น ก็จะตั ้งตัว เป็ นพระพุทธเจ้ าเต็มบ้ านเต็มเมือง ก็จะเป็ นทางแห่งความ เสียหายวุ่นวายโลกเท่านั ้น ดูกรอานนท์
ทศพลญาณ ๑๐ ประการนั ้น เป็ นของสาคัญตั ้งอยูส่ าหรับโลก ไม่มีผ้ ใู ดตั ้งแต่ง ขึ ้น เป็ นแต่เราตถาคตเป็ นผู้ร้ ูผ้ เู ห็น
ก่อนแล้ วยกออกตีแผ่ ให้ โลกเห็น พระพุทธเจ้ าทัง้ หลายบาเพ็ญญาณ ๑๐ ประการ ได้ แล้ ว ก็ขับขี่เข้ าสู่พระ
นิพพาน เมื่อถึงพระนิพพานแล้ ว ก็ปล่ อยวางญาณนัน้ ไว้ แก่ โลกตามเดิม หาได้ เอาตัวตน เอาจิตใจเข้ าสูพ่ ระ
นิพพานด้ วยไม่ เอาจิตใจไปได้ เพียงนรก และสวรรค์ และพรหมโลกเท่านั ้น
ตถาคตพลญาณ ๑๐ ประการ หรื อ ทศพลญาณ คือ
๑. ทรงหยัง่ รู้สงิ่ ที่เป็ นไปได้ และ เป็ นไปไม่ได้
๒. ทรงหยัง่ รู้ผลแห่งการกระทาทั ้ง อดีต ปั จจุบนั อนาคต
๓. ทรงหยัง่ รู้ข้อปฏิบตั ิ ที่จะนาไปสูค่ ติทั ้งปวง (คติ-ทางที่จะไปในอนาคต)
๔. ทรงหยัง่ รู้สภาวะของโลก อันประกอบด้ วยธาตุต่างๆ
๕. ทรงหยัง่ รู้ความโน้ มเอียง และความถนัดแห่งบุคคล
๖. ทรงหยัง่ รู้ความยิ่งและความหย่อน แห่งอินทรี ย์ของสัตว์ทั ้งหลาย
๗. ทรงหยัง่ รู้ความเศร้ าหมอง ความผ่องแผ้ ว การออกแห่งญาณ สมาธิ และ สมาบัติ
๘. ทรงหยัง่ รู้ชาติก่อนๆในอดีต
๙. ทรงหยัง่ รู้จตุ ิ และอุบตั ิของสัตว์ทั ้งหลาย
๑๐. ทรงหยัง่ รู้ความสิ ้นไป แห่งอาสวะทั ้งหลาย
http://10nextbuddha.blogspot.com/2011/08/10.html