ปรากฎการณ์ทางดาราศาสตร์ - โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี

Download Report

Transcript ปรากฎการณ์ทางดาราศาสตร์ - โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี

ปรากฏการณ์ ทางดาราศาสตร์
ครู วชิ ยั เจริ ญศรี
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์
โรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี
ปรากฏการณ์ ข้างขึน้ ข้ างแรม
(Lunar ’ Phases)
ปรากฏการณ์ ข้างขึน้ -ข้ างแรม (Lunar's Phases)
ปรากฏการณ์ ข้างขึน้ -ข้ างแรม เป็ นปรากฏการณ์ ที่เกิด
จากดวงจันทร์ โคจรรอบโลก แล้ วทาให้ ผ้ ูสังเกตทีอ่ ยู่บนโลก
มองเห็นแสงทีเ่ กิดจากการสะท้ อน จากดวงอาทิตย์ แตกต่ าง
กันไป เราเรียกปรากฏการณ์ ดงั กล่ าวว่ า"ปรากฏการณ์
ข้ างขึน้ -ข้ างแรม" (Lunar's Phases)
ปัจจุบัน เราทราบว่ า ดวงจันทร์ โคจรรอบโลกของเราด้ วย
ระยะทางเฉลีย่ ประมาณ 384,000 กม.ในทิศเดียวกับการหมุน
ของโลก ใช้ เวลาประมาณ 27.3 วันต่ อรอบ (เมือ่ เทียบจากจุด
เดิม)
ปรากฏการณ์ ข้างขึน้
เมือ่ ดวงจันทร์ โคจรผ่ านระหว่ างโลกและดวงอาทิตย์
เราก็จะไม่ เห็นดวงจันทร์ แต่ เมือ่ ดวงจันทร์ เคลือ่ นทีไ่ ป เรา
จะค่ อยๆเห็นเสี้ยวของดวงจันทร์ เราเรียกว่ า
"ปรากฏการณ์ ข้างขึน้ " ชาวอียปิ ต์ โบราณได้ สังเกต และ
กาหนดให้ วนั ทีเ่ ริ่มเห็นแสงจากเสี้ยวดวงจันทร์ เป็ นวัน
แรกของปฏิทนิ แบบจันทรคติของแต่ ละเดือน ช่ วงข้ างขึน้
จะแบ่ งออกเป็ น 2 ช่ วง คือ
ช่ วงแรก
(New Moon Phase)
เราจะเริ่มเห็นเสี้ยวของดวงจันทร์
ทางขอบฟ้ าทิศตะวันตก หลังพลบคา่ ไป
แล้ ว โดยจะค่ อยๆเห็นดวงจันทร์ มากขึน้
และจะเห็นสู งขึน้ วันละประมาณ 12 องศา
และจะเห็นดวงจันทร์ ตกทางขอบฟ้ าทิศ
ตะวันตกช้ าลง วันละประมาณ 50 นาที ช่ วง
นีภ้ าษาอังกฤษเรียกว่ า "Waxing Crescent
ช่ วงที่สอง
(First Quarter Phase)
ประมาณ 1 สั ปดาห์ หลังจากเริ่ม
ปรากฏการณ์ ข้างขึน้ เราจะเห็นดวงจันทร์
ประมาณครึ่งดวง หันด้ านนูนไปทางทิศ
ตะวันตก โดยจะเห็นสู งสู งกลางท้ องฟ้ า
เยือ้ งไปทางซีกโลกใต้ ในช่ วงหัวคา่ และ
จะค่ อยๆลับขอบฟ้าทางทิศตะวันตกช่ วง
เทีย่ งคืน ช่ วงนี้ ภาษาอังกฤษเรียกว่ า
"Waxing Gibbous"
เมื่อจันทร์ เต็มดวง หรือจันทร์ เพ็ญ (Full Moon Phase)
ประมาณ 2 สั ปดาห์ หลังจากเริ่มปราฏการณ์ ข้างขึน้
เราจะเห็นจันทร์ เต็มดวง เหนือขอบฟ้ าทิศตะวันออกตั้งแต่
ช่ วงคา่ โดยจะเห็นได้ ตลอดคืน จนกระทัง่ ดวงจันทร์ ลบั
ขอบฟ้ าทิศตะวันตก ในช่ วงเช้ า
ดวงจันทร์ เต็มดวง เป็ นที่มาของวันสาคัญต่ างๆ เช่ น
วันมาฆบูชา (ขึน้ 15 คา่ เดือน 3 หรือ 4) , วันวิสาขบูชา
(ขึน้ 15 คา่ เดือน 6 หรือ 7) , วันลอยกระทง (วันเพ็ญ
เดือน 12) เป็ นต้ น
ปรากฏการณ์ ข้างแรม
เมื่อดวงจันทร์ โคจรผ่ านหลังโลกในทิศตรงข้ าม
กับดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ จะค่ อยๆแหว่ งไปทีละน้ อย
เราเรียกว่ า "ปรากฏการณ์ ข้างแรม" ช่ วงข้ างแรมจะ
แบ่ งออกเป็ น 2 ช่ วง คือ
ช่ วงแรก
เราจะเริ่มเห็นดวงจันทร์ แหว่ งทีละน้ อย และจะ
ค่ อยๆเริ่มเห็นดวงจันทร์ ทางทิศตะวันออก ช้ าลงวันละ
ประมาณ 50 นาที ช่ วงนีภ้ าษาอังกฤษเรียกว่ า "Waning
Gibbous"
ช่ วงที่สอง
(Third Quarter Phase)
ประมาณ 1 สั ปดาห์ หลังจากเริ่มปรากฏการณ์ ข้างแรม เราจะเห็น
ดวงจันทร์ ประมาณครึ่งดวง หันด้ านนูนไปทางทิศตะวันออก โดยจะเริ่ม
เห็นดวงจันทร์ ทางทิศตะวันออก หลังเที่ยงคืนไปแล้ ว โดยจะค่ อยๆเคลือ่ น
สู งขึน้ จนสู งสุ ดบนท้ องฟ้าเมือ่ ดวงอาทิตย์ ขนึ้ ในช่ วงเช้ า หลังจากนั้น เราก็
จะเริ่มเห็นดวงจันทร์ ทางทิศตะวันออกช้ าลง วันละประมาณ 50 นาที และ
จะเห็นจุดสู งสุ ดก่ อนดวงอาทิตย์ ขนึ้ ลดลงวันละประมาณ 12 องศา ช่ วงนี้
ภาษาอังกฤษเรียกว่ า "Waning Crescent"
ระยะเวลาปรากฏการณ์ ข้างขึน้ -ข้ างแรมในแต่ ละรอบ
ปรากฏการณ์ ข้างขึน้ -ข้ างแรมนี้ เวลาในแต่ ละรอบจะ
นานกว่ าคาบการเคลือ่ นทีร่ อบโลกของดวงจันทร์ เนื่องจากเมือ่
ดวงจันทร์ โคจรรอบโลกครบ 1 รอบ โลกได้ เคลือ่ นทีไ่ ปจาก
ตาแหน่ งนั้นแล้ ว (หรือเมือ่ มองจากโลก ก็คอื ดวงอาทิตย์ ได้
เคลือ่ นที่ ไปจากตาแหน่ งเดิมนั้นแล้ ว) ดังนั้น ดวงจันทร์ จะมา
อยู่ระหว่ างโลกและดวงอาทิตย์ อกี ครั้งให้ เราเห็น "จันทร์ ดบั "
ก็ต่อเมือ่ ดวงจันทร์ ต้องเคลือ่ นทีไ่ ปอีกเล็กน้ อย รวมทั้งสิ้น
ประมาณ 29.5 วันต่ อรอบนั่นเอง
สุริยุปราคา
สุ ริยุปราคาคืออะไร
สุ ริยุปราคาหรือเรียกอีกอย่ างว่ า สุ ริยะคราส หมายถึง
ปรากฏการณ์ ทเี่ กิดขึน้ ขณะทีด่ วงจันทร์ หมุนรอบโลก แล้ วโคจร
มาบังดวงอาทิตย์ จึงทาให้ โลกไม่ ได้ รับแสงสว่ างจากดวงอาทิตย์
ช่ วงขณะหนึ่ง โดยเงาของดวงจันทร์ จงึ ตกมาบนโลก ทาให้ บริเวณ
พืน้ ผิวโลกทีอ่ ยู่ใต้ เงามืดของดวงจันทร์ เห็นดวงอาทิตย์ มืดมิด เรา
เรียกว่ า “สุ ริยุปราคาเต็มดวง” และบริเวณพืน้ โลกทีอ่ ยู่ใต้ เงามัว
ของดวงจันทร์ กจ็ ะเห็นดวงอาทิตย์ มืดเป็ นดวงกลมโดยมีขอบ
สว่ างล้ อมรอบคล้ ายวงแหวน เราเรียกว่ า “วงแหวนสุ ริยุปาคา”
ส่ วนบางบริเวณก็เห็นดวงอาทิตย์ มืดบางส่ วนและสว่ างบางส่ วน
เราเรียกว่ า “สุ ริยุปราคาบางส่ วน”
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ได้ ทรงคานวณเวลาการเกิด
คราสต่ าง ๆ ในสุ ริยุปราคา ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม พ.ศ. 2411
ทีก่ รุงเทพฯ เห็นดวงอาทิตย์ ถูกบังมืดไม่ หมดดวง และทีห่ ว้ ากอ ซึ่ง
อยู่ใกล้ เขาสามร้ อยยอด ในจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ อันเป็ นสถานที่
ซึ่งเกิดสุ ริยุปราคามืดหมดดวง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ าอยู่หัวได้ เสด็จพระราชดาเนินโดยเรือกลไฟ
พระทีน่ ั่งจากกรุงเทพฯ ไปอ่าวแม่ ราพึง แล้วจึงเสด็จขึน้ บกประทับทอดพระ
เนตร ณ ตาบลหว้ ากอ ท่ ามกลางแขกผู้มีเกียรติ อันมี เซอร์ แฮรี ออร์ ด เจ้ าเมือง
สิ งคโปร์ ได้ รับเชิญมาเป็ นแขกดูสุริยุปราคา คณะดาราศาสตร์ ฝรั่งเศสก็ได้ ขอ
พระบรมราชานุญาตตั้งค่ายสั งเกตการณ์ วดั ดูสุริยุปราคาทีใ่ ต้ พลับพลาค่ายหลวง
ประมาณ 18 เส้ น เมื่อได้ เวลาสุ ริยุปราคาก็ได้ เกิดขึน้ ตามแนวทางทีพ่ ระบาท
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ าอยู่หัวได้ ทรงคานวณไว้
ผลทีท่ รงคานวณดังทีไ่ ด้
ประกาศไปเทียบกับคณะดาราศาสตร์ องั กฤษได้ ทารายงานไว้ เกือบจะไม่ มีความ
แตกต่ างคลาดเคลือ่ นกันเลย
สุริยุปราคาเต็มดวง
สุ ริยุปราคาเต็มดวงคือปรากฏการณ์ ทดี่ วงจันทร์ โคจร
รอบโลกเป็ นวงรีและขณะทีเ่ กิดนั้น ดวงจันทร์ อยู่ใกล้ โลก
ทาให้ สามารถบดบังดวงอาทิตย์ ได้ หมด ยิง่ ดวงจันทร์ อยู่
ใกล้ โลกมากเท่ าใด ระยะเวลาการเกิดสุ ริยุปราคาก็จะนาน
มากขึน้ เท่ านั้น
ลูกปัดของเบรี่ (Baily's Beads) เกิดขึ้น
หลังจากที่ดวงจันทร์ เคลื่อนมาบังดวง
อาทิตย์เกือบหมด หรื อระหว่างที่กาลังบัง
กันสนิท จะเกิดแสงสว่างบริ เวณขอบของ
ดวงจันทร์ คล้ายสร้อยลูกปัด ซึ่ งได้ชื่อ
จาก ฟรานซิ ส เบรี่ นักดาราศาสตร์ชาว
อังกฤษ ผูซ้ ่ ึ งอธิบายได้ถึงปรากฏการณ์
ดังกล่าว ว่าเกิดจากแสงของดวงอาทิตย์ที่
ยังลอดผ่านช่องเขาที่อยูต่ ามบริ เวณขอบ
ของดวงจันทร์
แหวนเพชร (Diamond Ring)
เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ก่อน
การบังกันสนิท และก่อนจะออก
จากคราส ซึ่งจะเกิดแสงวาบ
จากดวงอาทิตย์เพียงช่วงเวลา
สั้นๆเท่านั้น ลักษณะคล้าย
แหวน
สุริยุปราคาแบบวงแหวน
สุ ริยุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse)
สุ ริยุปราคาวงแหวน คือปรากฏการณ์ ทดี่ วงจันทร์ โคจรรอบโลก
เป็ นวงรีมากและขณะทีเ่ กิดนั้น ดวงจันทร์ อยู่ไกลโลกมาก ทาให้ ไม่
สามารถบดบังดวงอาทิตย์ ได้ หมด เมื่อมองไปยังดวงอาทิตย์ ก็จะเห็น
มีเงาสี ดาวงกลมอยู่ตรงกลาง ในขณะทีบ่ ริเวณขอบของดวงอาทิตย์ ยงั
สว่ างจ้ าเช่ นเดิม ยิง่ ดวงจันทร์ อยู่ไกลโลกมากเท่ าใด วงแหวนก็จะมี
ขนาดใหญ่ ขนึ้ เท่ านั้น
สุริยุปราคาแบบบางส่ วน
สุ ริยุปราคาบางส่ วน (Partial Solar Eclipse)
สุ ริยุปราคาบางส่ วนคือการเกิดสุ ริยุปราคาในขณะทีโ่ ลก
ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ ไม่ ได้ อยู่ในระนาบเดียวกัน ทาให้
เรามองเห็นเงาของดวงจันทร์ บดบังดวงอาทิตย์ เพียงบางส่ วน
เท่ านั้น
สุ ริยปุ ราคาแบบผสม (Hybrid Solar Eclipse)
สุ ริยปุ ราคาแบบผสมคือเป็ นปรากฏการณ์ ทเี่ กิดสุ ริยปุ ราคา
แบบเต็มดวงและสุ ริยปุ ราคาแบบวงแหวนในเวลาเดียวกัน
อันเนื่องมาจากดวงจันทร์ อยู่ในระยะทีเ่ มือ่ เรามองจากโลกมี
ขนาดเท่ ากันหรือใกล้ เคียงกันมากกับดวงอาทิตย์ ทาให้ บาง
ตาแหน่ งบนโลกมองเห็นเป็ นแบบเต็มดวง ในขณะทีบ่ างแห่ ง
มองเห็นแบบวงแหวน
สุริยุปราคา
เป็ นปรากฏการณ์ ตามธรรมชาติ
ทีด่ วงจันทร์ โลก และดวงอาทิตย์ โคจรมาอยู่ในแนว
เส้ นตรง ทาให้ ดวงจันทร์ บังดวงอาทิตย์ และเงาของดวง
จันทร์ จึงตกมาบน บริเวณ ต่ างๆ บนโลก
สุ ริยุปราคาจะเกิดขึน้ ไม่ บ่อยนัก เพราะส่ วนใหญ่ ดวงจันทร์
มักจะโคจรในระดับทีส่ ู งหรือตา่ กว่ าแนวระดับเดียวกัน ( แนว
เส้ นตรงเดียวกัน ) กับโลกและดวงอาทิตย์ ดังนั้นสุ ริยุปราคา
จะเกิดขึน้ ได้ เมือ่ ดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนวเส้ นตรงระหว่ าง
โลกกับดวงอาทิตย์ ( ตรงกับแรม 14 – 15 คา่ )
ผลกระทบ
การเกิดสุ ริยุปราคามีผลกระทบก่ อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลง
ของสิ่ งแวดล้ อมทางธรรมชาติ เนื่องจากการทีด่ วงอาทิตย์
ค่ อยๆ ลดแสงลงเนื่องจากดวงจันทร์ บังแสงดวงอาทิตย์ ทา
ให้ สัตว์ ต่างๆพากันกลับรังเพราะนึกว่ าถึงเวลากลางคืนเห็น
ได้ ชัดก็คอื นกชนิดต่ างๆ จะบินกลับรัง ส่ วนคนก็พากัน
ตืน่ เต้ นและเตรียมการเฝ้ าดู ในปัจจุบันความ ก้ าวหน้ า
ทางเทคโนโลยีทาให้ มนุษย์ มโี อกาสเห็น และได้ ศึกษาการ
เกิดสุ ริยุปราคา และเกิดบริเวณใดของโลก
วิธีดู เมือ่ เกิดสุ ริยุปราคาไม่ ควรดูด้วยตาเปล่า เพราะ
อาจทาให้ ตาบอดหรือเป็ นโรคตาได้ ควรใช้ อปุ กรณ์ เป็ น
แผ่ นฟิ ล์ มถ่ ายรู ปขาวดาทีใ่ ช้ แล้ ว นามาซ้ อนกัน 2 –3 แผ่ น
แล้ วดูผ่านฟิ ล์ มถ่ ายรู ป หรือใช้ การมองผ่ านกระจกที่
รมควันให้ แสงผ่ านได้ น้อยทีส่ ุ ด
ฤดูกาล
ฤดูกาล ( เวลา ) เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ มีลกั ษณะเป็ นวงรี
( เกือบกลม ) มีระยะห่ างจากดวงอาทิตย์ ไม่ เท่ ากัน และโลกหมุนรอบ
ตัวเอง โดยมีแกนหมุนของโลกเอียงประมาณ 23.5 องศา กับแกนการ
โคจรรอบดวงอาทิตย์
ในอดีตคนโบราณ เชื่อว่ าดวงอาทิตย์ โคจรรอบโลกไปตามขอบ
โค้ งของฟ้า เรียกว่ า สุ ริยวิถี หรือ สุ ริยยาตร์ โดยจะหันซีกโลกด้ าน
เหนือเข้ าหาดวงอาทิตย์ ในวันที่ 22 มิถุนายน ถือว่ าอยู่ในฤดูร้อน หันซีก
โลกด้ านใต้ เข้ าหาดวงอาทิตย์ ในวันที่ 22 ธันวาคม ถือว่ าอยู่ในฤดูหนาว
และหันซีกโลกด้ านข้ างเข้ าหาดวงอาทิตย์ ในวันที่ 21 มีนาคม และ 23
กันยายน ถือว่ าอยู่ในฤดูใบไม้ ผลิและฤดูใบไม้ ร่วงตามลาดับ ในบริเวณ
เส้ นศูนย์ สูตรของโลก ฤดูกาลจะไม่ แตกต่ างกันมากนัก
ปรากฏการณ์ นี้ นับจากวันทีโ่ ลกมาอยู่ตรงบริเวณเส้ นศูนย์ สูตร
ฟ้ า เป็ นวันเริ่มต้ นของฤดูใบไม้ ผลิ มีกลางวันและกลางคืนยาว
เท่ ากัน เมือ่ โลกโคจรกับมาถึงจุดเดิมอีกครั้ง เรียกว่ า หนึ่งรอบปี
( ปี ฤดูกาล ) มีระยะเวลาเฉลีย่ 365.242 วัน ( 365.25 วัน ) แบ่ ง
ออกเป็ น 4 ฤดูกาล ฤดูกาลละ 3 เดือน เฉลีย่ เดือนละ 30 วัน
ชาวจีนมีการแบ่งฤดูกาล ( สารทใหญ่ ) ,
เดือน ( สารทเดือน ) และปักษ์( สารทเล็ก )
มีราศีล่าง ( นักษัตร ) และชื่อสารทเล็ก
ดังต่อไปนี้
ฤดูกาล
สารท
ใหญ่
ฤดูใบไม้
ผลิ
เดือน ( มาศ )
24 สารทเล็ก ( ปักษ์ )
ราศีล่างเดือน - สารทเดือน ลาดับสารทเล็ก - ชื่อสารทเล็ก
寅 ( /3 ) - กุมภาพันธ์
1 - ( 1 ) ลิบชุน
ระยะเวลา
ประมาณ
30 วัน
2 - ( 2 ) อู๋จุย้
卯 ( /4 ) - มีนาคม
3 - ( 3 ) เก๋ งเต็ก
30 วัน
4 - ( 4 ) ชุนฮุน
辰 ( /5 ) - เมษายน
5 - ( 5 ) เช็งเม้ง
6 - ( 6 ) ก๊อกอู๋
30 วัน
ฤดูร้อน
巳 ( /6 ) - พฤษภาคม
7 - ( 1 ) ลิบแฮ่
30 วัน
8 - ( 2 ) เสี่ ยวมัว๊
午 ( /7 ) - มิถุนายน
9 - ( 3 ) มัง่ เจ็ง
30 วัน
10 - ( 4 ) แฮ่จี่
未 ( /8 ) - กรกฏาคม
11 - ( 5 ) เสี่ ยวซู๊
30 วัน
ฤดูใบไม้ร่วง
申 ( /9 ) - สิ งหาคม
13 - ( 1 ) ลิบชิว
30 วัน
14 - ( 2 ) ซู่ซู๊
酉 ( /10 ) - กันยายน
15 - ( 3 ) แปะโล่ว
30 วัน
16 - ( 4 ) ชิวฮุน
戌 ( /11 ) - ตุลาคม
17 - ( 5 ) ฮัง่ โล่ว
18 - ( 6 ) ซึ งกัง่
30 วัน
ฤดูหนาว
亥 ( /12 ) - พฤศจิกายน
19 - ( 1 ) ลิบตัง
30 วัน
20 - ( 2 ) เสี่ ยวเสาะ
子 ( /1 ) - ธันวาคม
21 - ( 3 ) ไต้เสาะ
30 วัน
22 - ( 4 ) ตังจี่
丑 ( /2 ) - มกราคม
23 - ( 5 ) เสี่ ยวฮั้ง
24 - ( 6 ) ไต้ฮ้งั
30 วัน
ชาวจีนมีปฏิทินฤดูกาลทีถ่ ูกกาหนดโดยภูมิโหราศาสตร์
สภาพแวดล้ อมทางดินฟ้าอากาศ กาหนดวิถีการดาเนินชีวิต เริ่ม
ตั้งแต่ การเพาะปลูก การดานา การหว่ าน การไหว้ ฟ้าดิน ( อาทิตย์ )
การไหว้ บรรพบุรุษ การสี ข้าว การเก็บเกีย่ ว การไหว้ สารท กลางปี
การไหว้ พระจันทร์ การกินเจ การถือศีล การขอบคุณเทพเจ้ า ฯลฯ
แบ่ งฤดูกาลออกเป็ น 4 ฤดูกาล คือ ฤดูใบไม้ ผลิ ฤดูร้อน ฤดู
ใบไม้ ร่วง ฤดูหนาว ในแต่ ละฤดูแบ่ งออกเป็ น 3 เดือน ( สารทเดือน )
ในแต่ ละเดือนแบ่ งออกเป็ น 2 สารทเล็ก ( หรือปักษ์ ) ใน 1 สารท
เล็ก ( 1 ปักษ์ ) มีจานวน 15 วัน หรือมากกว่ า ( คิดตามจันทรคติ
เปรียบเทียบกับสุ ริยคติสัมพันธ์ กนั )
การเกิดกลางวัน กลางคืน
การเกิดกลางวันและกลางคืน
เนื่องจาก โลกเป็ นบริ วาลของดวงอาทิตย์ โดยโลกจะหมุนรอบดวง
อาทิตย์เป็ นเวลา 365 วัน หรื อ 1 ปี ในขณะเดียวกัน โลกจะหมุนรอบตัวเอง
โดยกินเวลา 24 ชัว่ โมง จึงส่ งผลให้ดา้ นที่โดนแสงจะเป็ นเวลากลางวัน
ส่ วนด้านที่ไม่โดนแสงจะเป็ นเวลากลางคืน เมื่อโลกหมุนไปเรื่ อย ด้านที่
ไม่โดนแสง หรื อกลางคืน จะค่อยๆ หมุนเปลี่ยนมาจนกลายมาเป็ น
กลางวัน เราเรี ยกปรากฏการณ์น้ ีวา่ กลางวัน และกลางคืน
การเกิดนา้ ขึน้ นา้ ลง
ในทุกวันจะปรากฏมีน้ าขึ้นและน้ าลงวันละ 2 ครั้ง น้ าขึ้นและน้ า
ลงเป็ นผลมาจากแรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์ ดวงจันทร์ น้ นั เป็ น
บริ วารของโลก เมื่อหมุนผ่านไปจุดใดของโลกก็จะทาให้น้ าบนผิวโลก
ขึ้นพร้อมกัน 2 ส่ วน คือ บริ เวณที่อยูต่ รงกับดวงจันทร์ และอีกส่ วนหนึ่ง
คือ บริ เวณที่อยูต่ รงข้ามกับจุดที่มีน้ าขึ้น ในรอบ 1 ปี จะมีน้ าขึ้นมาก
ที่สุด 2 ครั้ง
น้ าขึ้นน้ าลงเกิดจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ถึงแม้วา่ ดาวอาทิตย์จะมีมวล 27 ล้านเท่าของดวงจันทร์ แต่ดวงอาทิตย์
อยูห่ ่างจากโลก 93 ล้านไมล์ ส่ วนดวงจันทร์ที่เป็ นบริ วารของโลกนั้น อยู่
ห่างจากโลกเพียง 240,000 ไมล์ ดังนั้นดวงจันทร์ จึงส่ งแรงดึงดูดมายัง
โลกมากกว่าดวงอาทิตย์ และน้ าที่เกิดจากแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์จะ
สูงเพียง ร้อยละ 46 ของระดับน้ าที่สูงจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์
น้ าซึ่งเป็ นของเหลว เมื่อถูกแรงดึงดูดจากดวงจันทร์ ในขณะที่ดวงจันทร์โคจร
ผ่านบริ เวณนั้น น้ าก็จะสูงขึ้น ไปในทิศทางเดียวกับที่ดวงจันทร์ปรากฏ และบนผิว
โลกในด้านตรงข้ามกับดวงจันทร์ น้ าจะสูงขึ้นด้วย เพราะอานาจดึงดูดของดวง
จันทร์ กับของโลกไปรวมกันในทิศทางนั้น และในตาแหน่งที่คนเห็นดวงจันทร์ อยู่
สุ ดลับขอบฟ้ า ตรงนั้นน้ าจะลดลงมากที่สุด จึงเท่ากับว่ามีน้ าขึ้น น้ าลง สองแห่งบน
โลกในเวลาเดียวกัน น้ าจะขึ้นสูง เต็มที่ทุกๆ 12 ชัว่ โมง โดยประมาณ และหลังจาก
น้ าขึ้นเต็มที่แล้ว ระดับน้ าจะเริ่ มลดลง ใช้เวลาประมาณ 6 ชัว่ โมง แต่เนื่องจากดวง
จันทร์หมุนรอบโลกจากตะวันตกไปตะวันออก หนึ่งรอบกินเวลาประมาณ 29 วัน
น้ าขึ้นและน้ าลงจึงช้ากว่าวันก่อน ไปประมาณ 50 นาที หรื อพูดอีกอย่างหนึ่งว่า ใน
หนึ่งวัน หรื อ 24 ชัว่ โมง 50 นาที น้ าจะสูงขึ้น และลดลง 2 ครั้ง
ความแตกต่างระหว่างระดับน้ าสูงสุ ดกับระดับน้ าต่าสุ ด แต่ละแห่งบนโลกจะ
ไม่เท่ากัน โดยเฉลี่ยจะขึ้นหรื อลงประมาณ 3-10 ฟุต ซึ่งสาเหตุประการหนึ่งเกิดจาก
ตาแหน่งของดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
เมื่อโลก และดวงจันทร์กบั ดวงอาทิตย์ มาอยูใ่ นแนวเดียวกัน ไม่วา่ ดวงอาทิตย์
หรื อดวงจันทร์จะอยูข่ า้ งเดียว หรื อคนละข้างกับโลก น้ าจะสูงขึ้นกว่าปกติ
เรี ยกว่า นา้ เกิด (spring tide) ซึ่งจะเกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง คือใกล้วนั ขึ้น 15 ค่า
และวันแรม 15 ค่า
และเมื่อใดที่ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ อยูใ่ นแนวตั้งฉาก ซึ่งกันและกัน
ระดับน้ าจะไม่สูงขึ้น แต่จะอยูใ่ นระดับเดิม ไม่ข้ ึนไม่ลง เรี ยกว่า นา้ ตาย จะ
เกิดขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง เช่นเดียวกับน้ าเกิด คือใกล้วนั ขึ้น 8 ค่า และวันแรม 8 ค่า
ส่ วนอีกสาเหตุหนึ่งที่น้ าขึ้นมากขึ้นน้อย ลงมากลงน้อย เกี่ยวกับขนาดรู ปร่ างและ
ความลึกของท้องมหาสมุทรด้วย อย่างเช่นเกาะแก่งต่างๆ จะต้านการขึ้นลงของ
กระแสน้ าได้มาก ในหมู่เกาะตาฮิติ ระดับน้ าจะขึ้นสูงเพียง 1 ฟุตเท่านั้น แต่
บริ เวณแผ่นดินที่เป็ นรู ปกรวย หันปากออกไปสู่ทะเล จะรับปริ มาณของน้ า
ได้มาก เช่นปากอ่าวของแคว้น โนวาสโคเตียน แห่งแคนดีทางตะวันออกของ
อเมริ กาเหนือ น้ าจะขึ้นสูงถึง 40 ฟุต
จัดทาโดย
1. นายวินัศพล กาบิลดีลริ าช ชั้น ม.4/12 เลขที่ 3
2. นายธัญธัต ม่ วงนวล ชั้น ม.4/12 เลขที8่
3. นายธีรดนย์ สาวสุ ดชาติ ชั้น ม.4/12 เลขที1่ 6
4. นายสุ ภชัย ชัยศักดานุกลู ชั้น ม.4/12 เลขที1่ 8
5. นายณัฐวัฒน์ บริรักษ์
ชั้น ม.4/12 เลขที2่ 6
6. นายสุ ธาพจน์ ทะแดง ชั้น ม.4/12 เลขที4่ 2
เสนอ
คุณครู วิชัย เจริญศรี
โรงเรียนเบญจมราชู ทศิ ราชบุรี