คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสร

Download Report

Transcript คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสร

Developmental Assessment For
Intervention Manual (DAIM)
น.ส.ประดับ ศรีหมื่นไวย
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
ศูนย์ อนามัยที่ ๕ นครราชสีมา





ทารกแรกเกิดที่ขาดออกซิเจน (Birth Asphysia) และ/หรื อ ทารกมีน ้าหนัก
น้ อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม (Low Birth Weight)
เด็กกลุม่ นี ้จะเสี่ยงต่อการเกิดปั ญหาความบกพร่องทางสติปัญญา พัฒนาการล่าช้ า
ปั ญหาการเรี ยนรู้
ผู้ปกครอง ผู้เลี ้ยงดูเด็กเข้ าใจและปฏิบตั ิได้
อสม.ทาหน้ าที่ชว่ ยแนะนากระตุ้นให้ ใช้ คมู่ ือ
เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุขเป็ นผู้ประเมินให้ การช่วยเหลือ หรื อส่งต่อ






ใช้ ประเมินพัฒนาการเด็กกลุม่ เสี่ยง (BA & LBW) เพื่อให้ การช่วยเหลือแต่
แรกเริ่ ม
ร่วมกับการตรวจร่างกาย โดยเน้ น Neuro Developmental
Assessment
วิธีการประเมินตามวัยที่ปรับตามอายุจริ ง ถึง ๒ ปี
วิธีการช่วยเหลือแนะนาการปฏิบตั ิตอ่ เด็กจะเป็ นขันตอนจากง่
้
ายๆ ขึ ้นไป
เน้ นการสื่อสารกับผู้ปกครองในทางสร้ างสรรค์และติดตามใกล้ ชิด
หลังจากอายุ ๒ ปี ข้ อทดสอบเหมือน DSPM





Gross Motor (GM) หมายถึง พัฒนาการด้ านการเคลื่อนไหว
Fine Motor (FM) หมายถึง พัฒนาการด้ านกล้ ามเนื ้อมัดเล็กและ
สติปัญญา
Receptive Language (RL) หมายถึง พัฒนาการด้ านการเข้ าใจ
ภาษา
Expressive Language (EL) หมายถึง พัฒนาการด้ านการใช้ ภาษา
Personal and Social (PS) หมายถึง พัฒนาการด้ านการช่วยเหลือ
ตนเองและสังคม


การเตรี ยมความพร้ อม
◦ เตรี ยมตัวผู้ประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ
◦ การเตรี ยมอุปกรณ์
◦ การเตรี ยมสถานที่
◦ การเตรี ยมเด็ก
การสร้ างสัมพันธภาพ ซึ่งแบ่ งตามช่ วงอายุ
◦ ช่วงวัยแรกเกิด – ๙ เดือน
◦ ช่วงอายุ ๑๐ เดือน – ๒ ปี
◦ ช่วงอายุ ๓ – ๕ ปี
◦ ผู้ประเมินแนะนาตัวเอง


การประเมิน
◦ คานวณอายุเด็ก
◦ เริ่มประเมินพัฒนาการ
◦ การติดตามเด็ก
การสรุ ป
◦ กรณีสมวัย แนะนาพ่อแม่
◦ พบไม่สมวัย ให้ คาแนะนาผู้เลี ้ยงดู นัดซ ้า ๑ เดือน
◦ หลังจากนัดติดตาม พบไม่สมวัย ส่งต่อ
ตัวอย่ าง เช่ น
ปี
วันที่ทาการทดสอบ
วันเดือนปี เกิด
อายุเด็ก
คลอดก่ อนกาหนด 3 สั ปดาห์
อายุที่ปรับใหม่
อายุเด็ก คือ 1 ปี 2 เดือน 27 วัน
เดือน วัน
2556 03
04
-2554 -11 -16
1 3 18
- 21
1 02
27




พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรื อผู้เลี ้ยงดู ทาความเข้ าใจและปฏิบตั ิได้ ตามคูม่ ือ
ควรใช้ อปุ กรณ์ที่เหมาะสมและสามารถดัดแปลงได้
สถานที่ต้องสะอาดและปลอดภัยต่อเด็ก
เด็กต้ องไม่ป่วย หิว หงุดหงิด มีอิสระและพร้ อมที่จะทดสอบ



เริ่มประเมินในข้ อพัฒนาการที่ต่ากว่าอายุจริง ๑ ช่วงอายุ
◦ ผ่านการทดสอบ ใส่เครื่ องหมาย / ลงในช่อง แล้ วทดสอบในช่วงอายุที่สงู ขึ ้น
หยุดเมื่อไม่ผ่าน
◦ ไม่ผ่านการทดสอบ ใส่เครื่ องหมาย / ลงในช่อง และให้ ถอยลงไปจนกว่าจะ
ผ่าน (ตามด้ านที่ไม่ผ่าน)
บันทึก วัน เดือน ปี ที่ทดสอบ
ติดตามพัฒนาการในครัง้ ต่อไป โดยทดสอบข้ อที่เด็กไม่ผา่ นครัง้ ทีผ่ ่านมาก่อน
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
1. ขยับเคลือ่ นไหวแขนขา 2 วางเด็กในท่ านอนหงาย สั งเกต เด็ ก สามารถเคลื่ อ นไหวแขน
ข้ างเท่ ากัน ( GM )
การเคลือ่ นไหวแขนขาของเด็ก ขาได้ อย่ างสมดุลทั้ง 2 ข้ าง
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
2. มองสบตาขณะ อุ้ ม เ ด็ ก น อ น บ น ตั ก เด็ ก มองตามขณะ
ตื่น
พูดคุยกับเด็ก
ตื่นได้
( FM )
พัฒนาการ
3. สะดุ้งหรือเคลือ่ นไหว
ร่ า ง ก า ย เ มื่ อ ไ ด้ ยิ น
เสี ย งพู ด ในระดั บ ปกติ
(RL)
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- จั ด เด็ ก ในท่ านอนหงาย เด็ ก แสดงการรั บ รู้ ด้ ว ย
ขณะที่ตื่น
การกระพริ บ ตา สะดุ้ ง
- เรียกชื่อเด็กด้ านซ้ ายและขวา หรือเคลือ่ นไหวร่ างกาย
โดยห่ า งจากเด็ ก ประมาณ 2
ฟุต
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
4. เด็กเปล่ งสี ยงได้ - สั งเกต
( EL )
- สอบถามผู้ปกครอง
ผ่ าน
เด็ก เปล่ ง เสี ยงได้ ที่
ไม่ ใช่ เสี ยงร้ องไห้
พัฒนาการ
5. ดูดนมได้ ดี
( PS )
วิธีประเมิน
- สั งเกต
- สอบถามผู้ปกครอง
ผ่ าน
เ ด็ ก ดู ด น ม แ ม่ ไ ด้
อย่ างสมา่ เสมอ
พัฒนาการ
1. ตรวจปฏิกริ ิยา Moro
Reflex
วิธีประเมิน
ผ่ าน
อุ้มทารกประครองศีรษะกับต้ น
คอ เลือ่ นมือลงมาบริเวณหลัง ทา
ให้ ศีรษะทารกหงายไปข้ างหลัง
หรือกระตุ้นด้ วยเสี ยงดังใน
ขณะทีท่ ารกนอนหงาย เด็กจะมี
ปฏิกริ ิยาตอบสนองทันที คือ
แขนขาจะเหยียดชู ขนึ้ แบมือและ
กางออกทั้ง 2 ข้ างเท่ าๆกัน ก่ อนที่
จะโอบเข้ าหากัน
ทารกตอบสนองทันทีแบบ
สะดุ้ง ยกแขนและขาสองข้ าง
เสมอกัน อาจร้ องไห้
หมายเหตุ Reflex นีจ้ ะ
หายไปเมือ่ อายุ 2-3 เดือน แต่
ถ้ ายังมีอยู่ อาจสงสั ย CP ควร
ส่ งพบแพทย์
พัฒนาการ
2. ตรวจความตึงตัวของ
กล้ามเนือ้ (Muscle Tone)
วิธีประเมิน
ผ่ าน
ยกแขนขาชู ขนึ้ และปล่ อยลง
กล้ามเนือ้ ตึงตัวปกติ ไม่
ทารกจะหดพับแขนขาเท่ าหาตัว แข็งแกร่ งหรืออ่อนปวกเปี ยก
แล้วยืดออก หรือสั งเกตแรงต้ าน
ข้ อต่ อ โดยการจับปลายแขนขา
แล้ วเขย่ าเบาๆ ดูการพลิว้ ไหว
หรือแข็งเกร็งของข้ อต่ อ สั งเกต
การต้ านแรง
พัฒนาการ
3. ตรวจข้ อเท้ า Ankle
Clonus
วิธีประเมิน
ผ่ าน
ใช้ นิว้ มือ 4 นิว้ รองรับน่ องของ ข้ อเท้ าเด็กเคลือ่ นเป็ นจังหวะ
ทารก และยกขาให้ ลอยจากที่
ขึน้ -ลง ประมาณ 1-4 ครั้ง
นอน กระตุ้น ankle reflex โดย หรือไม่ เคลือ่ นเลย แต่ ถ้า
ใช้ นิว้ มือวางทีฝ่ ่ าเท้ าขึน้ และลง
่ นตั้งแต่ 5 ครั้ง
2-3 ครั้ง แล้วดันขึน้ ทันทีทนั ใด เคลือ
หนึ่งครั้ง ข้ อเท้ าเด็กเคลือ่ นเป็ น
ขึน้ ไปถือว่ าผิดปกติ
จังหวะขึน้ ลง
อาจสงสั ย CP
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
6. ท่ านอนควา่ เด็กสามารถ จัดเด็กนอนควา่ แขนทั้งสองข้ าง
ยกศีรษะและ หันไปข้ างใด อยู่หน้ าไหล่ บนเบาะนอน และ
ข้ างหนึ่งได้ (GM)
สั งเกตว่าเด็กยกศีรษะหันไป
มาข้ างใดข้ างหนึ่งได้
ผ่ าน
เด็กสามารถยกศีรษะ
และหันไปข้ างใดข้ าง
หนึ่งได้
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
7. แขนขา 2 ข้ าง
วางเด็ก ในท่ า นอนหงาย เด็กสามารถเคลือ่ นไหว
เคลือ่ นไหว ได้ เท่ ากัน สั งเกตการเคลื่อนไหว แขนขาได้ อย่ างสมดุล
(GM)
ทั้ง 2 ข้ าง
แขนขาของเด็ก
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
8. สะดุ้งหรือเคลือ่ นไหว - จั ด เด็ ก ในท่ านอนหงาย เด็กรับรู้ด้วยการกระพริบ
ร่ า ง ก า ย เ มื่ อ ไ ด้ ยิ น ขณะที่ตื่น
ตา สะดุ้ง หรือเคลือ่ นไหว
เสี ยงพูด (RL)
- เรียกชื่อเด็กด้ านซ้ ายและขวา ร่ างกาย อย่ างน้ อ ย 1
โดยห่ า งจากเด็ ก ประมาณ 2
ใน
3
ครั
้
ง
ฟุต
- ทาซ้าได้ อกี 2 ครั้ง
พัฒนาการ
9.ส่ งเสี ยงอ้อแอ้ (EL)
วิธีประเมิน
- สั งเกต
- สอบถามผู้ปกครอง
ผ่ าน
เด็กทาเสี ยงอ้อแอ้ได้
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
10. มองจ้ องหน้ าได้ นาน อุ้มเด็ก หรือวางเด็กให้ ห่างจาก เด็ ก สามารถจ้ องมอง
1 – 2 วินาที (PS)
หน้ าผู้ประเมินประมาณ 1 ฟุต หน้ า ผู้ ป ระเมิ น ได้ อ ย่ า ง
ยิม้ และพูดคุยกับเด็ก
น้ อย 1 วินาที
หมายเหตุ ถ้ าไม่ ผ่าน
ใ น ข้ อ นี้ ส่ ง พ บ แ พ ท ย์
ป ร ะ เ มิ น เ รื่ อ ง ก า ร
มองเห็น
พัฒนาการ
11. ยกศีรษะตั้งขึน้ ได้ 45
องศา นาน 3 วินาที ขณะ
นอนควา่ (GM)
อุปกรณ์ : กรุ๋ งกริ๋งผ้ า
วิธีประเมิน
จัดเด็กนอนควา่ แขนทั้งสองข้ าง
อยู่หน้ าไหล่ บนเบาะนอน และ
สั งเกตว่าเด็กยกศีรษะหันไป
มาข้ างใดข้ างหนึ่งได้
ผ่ าน
เด็กสามารถยกศีรษะ
และหันไปข้ างใดข้ าง
หนึ่งได้
พัฒนาการ
12. มองตามสิ่ งของ
จากด้ านหนึ่งไปอีก
ด้ านหนึ่ง (FM)
อุปกรณ์ : ลูกบอลผ้ า
สั กหลาด
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- จัดเด็กท่ านอนหงาย เด็กมองตามของเล่ นได้
- กระตุ้นให้ เด็กจ้ องมองที่ ตลอด โดยไม่ หันมอง
ลูกบอลผ้ าสั กหลาดสี แดง ไปทางอืน่
- ค่ อยๆเคลื่อนลูกบอลผ้ า
สั ก หลาดสี แ ดงผ่ า นจุ ด
กึ่งกลางใบหน้ าเด็กไปอีก
ด้ านหนึ่ง
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
13. มองหน้ าผู้พูดคุย - จัดเด็กในท่ านอนหงาย เด็กหันมามองหน้ าและ
ด้ วยได้ นาน 5 วินาที - นั่ ง ลงยื่ น หน้ า ห่ า งจาก ปากผู้พูดได้ อย่ างน้ อย
(RL)
เด็กประมาณ 2 ฟุต
5 วินาที
- พูดกับเด็กในขณะที่เด็ก
ไม่ มองหน้ า
พัฒนาการ
14. ทาเสี ยงในลาคอ
(เสี ยง “อู” หรือ “อือ”
หรือ “อา”) อย่ าง
ชัดเจน
วิธีประเมิน
ผ่ าน
ฟังเสี ยงเด็กขณะทดสอบ เด็กทาเสี ยง “อู” หรือ
โ ด ย อ ยู่ ห่ า ง จ า ก เ ด็ ก “อือ” หรือ “อา” อย่ าง
ประมาณ 2 ฟุต หรื อ ชัดเจน
สอบถามพ่อแม่
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
15. ยิม้ หรือส่ งเสี ยง จับเด็กท่ านอนหงาย ก้ ม เด็กสามารถยิม้ หรือส่ ง
ตอบได้ เมื่อแตะต้ อง หน้ าไปใกล้ เด็ก แตะต้ อง เสี ยงโต้ ตอบได้
ตัว และพูดคุยด้ วย ตัวเด็ก
(PS)
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
16. ท่ านอนควา่ ยกอกพ้ น จัดเด็กนอนคว่าบนพืน้ ราบ เด็กยกศีรษะและอก โดยใช้
พืน้ (GM)
แล้วเคลือ่ นของเล่นให้ เด็ก แขนยันกับพืน้ พยุงตัวไว้
อุปกรณ์ : กรุ๋งกรุ๋ง
มองตาม เพือ่ ให้ เด็กสามารถ
ยกศีรษะและหน้ าอกพ้นพืน้
ได้
พัฒนาการ
17. มองตามสิ่ งของที่
เคลือ่ นไหวได้ เป็ นมุม
180 องศา (FM)
อุปกรณ์ : ลูกบอลผ้ า
สั กหลาด
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- จัดเด็กท่ านอนหงาย เด็กมองตามของเล่น ได้
- กระตุ้นให้ เด็กจ้ องมองที่ อย่างน้ อย 180 องศา อย่าง
ลูกบอลผ้ าสั กหลาดสี แดง น้ อย 1 ใน 3 ครั้ง
- เ ค ลื่ อ น ลู ก บ อ ล ผ้ า
สั ก หลาดสี แ ดงเป็ นแนว
โค้ ง จากด้ า นหนึ่ ง ไปอี ก
ด้ านหนึ่ง โดยให้ ห่างจาก
หน้ าเด็กประมาณ 20-30
ซม.
พัฒนาการ
18. หันตามเสี ยงได้
(FM)
อุปกรณ์ : กรุ๋งกริ๋ง
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- จัดเด็กท่ านอนหงาย หรื อ เด็กสามารถหันตามเสี ยง
อุ้มนั่งตัก หันหน้ าออกจากผู้ และมองทีข่ องเล่น เช่ น
ประเมิน
กรุ๋งกริ๋งได้
- เขย่ ากรุ๋ งกริ๋ งด้ านซ้ ายและ
ข ว า ข อ ง ตั ว เ ด็ ก ห่ า ง
ประมาณ 2 ฟุต และไม่ ให้
เด็กเห็น
หมายเหตุ ถ้ า ข้ อ นี้ ไ ม่ ผ่ า น
ต้ อ งส่ งพบแพทย์ คั ด กรอง
เรื่องการได้ ยนิ
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
19. ทาเสี ยงสู งๆ ต่าๆ
โต้ ตอบเวลาพูดคุย (EL)
ระหว่ างประเมินให้ สังเกตว่ าเด็ก เด็ ก ท าเสี ยงสู งๆ ต่ า ๆ และ
ทาเสี ยงสู งๆ ต่าๆ ได้ หรื อไม่ หรื อ โต้ ตอบได้
สอบถามผู้ปกครอง
ผ่ าน ถ้ าผู้ทดสอบได้ ยินว่ าเด็ก
ทาได้ หรื อผู้เลีย้ งดูรายงานเด็ก
ทาได้
20. ยิม้ ทักและยิม้ ตอบ
(PS)
สั ง เ ก ต เ ด็ ก ข ณ ะ ท ำ ก ำ ร เด็กยิม้ ทักและยิม้ ตอบได้
ทดสอบ หรื อถำมผูป้ กครอง
เด็ ก ว่ ำ “ยิ้ ม ตอบคนอื่ น ได้
หรือไม่ ”
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
4. ตรวจการเหยียดแขนขา จับทารกนอนหงายศีรษะไปด้ าน ทารกเหยียดแขนและขาไป
Asymmetrical Tonic Neck ใดด้ านหนึ่งทันทีทนั ใด โดยให้ ด้ านที่หันหน้ า ส่ วนด้ านตรง
Reflex (ATNR)
คางอยู่เหนือไหล่ ทารกเหยียด ข้ ามเด็กจะงอแขนและเข่ า
แขนและขาไปด้ านที่หันหน้ า
และงอแขนและเข่ าข้ าตรงข้ าม
เหมือนท่ าฟันดาบหรือยิงธนู แต่
ไม่ ควรเกิน 1-2 เดือน
พัฒนาการ
5. ตรวจการกามือ
Integrated palmar grasp
reflex
วิธีประเมิน
ผ่ าน
สอดนิว้ มือเข้ าไปในฝ่ ามือเด็ก ทารกกาไว้ ชั่วครู่ แล้ วปล่ อย ไม่
ทารก ด้ านนิว้ ก้อยหรือใช้ นิว้ แตะ กามือแน่ นตลอดเวลา สามารถ
ฝ่ ามือของทารก ทารกจะกาไว้ ชั่ว คลายมือได้ เอง
ครู่ แล้ วปล่ อย แต่ ถ้าทารกกามือ
แน่ นขนาดผู้ตรวจสามารถยก
ทารกขึน้ จากพืน้ ที่นอน แสดงว่ า
ทารกผิดปกติ (อายุ 3 เดือน
ควรคลาย)
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
21. ยันตัวขึน้ จากท่ า
นอนควา่ โดยแขน
เหยียดตรงทั้ง 2 ข้ าง
ได้
อุปกรณ์ : กรุ๋งกริ๋งผ้ า
- จับเด็กนอนควา่
- เขย่ าของเล่น ให้ อยู่
ด้ านหน้ าเหนือศีรษะเด็ก
อย่ างช้ าๆ เพือ่ ให้ เด็กมอง
ตามและยกศีรษะและลาตัว
ผ่ าน เด็กใช้ ฝ่ามือทั้ง 2 ข้ าง
ยันตัวขึน้ จนข้ อศอก
เหยียดตรง ท้ องและ
หน้ าอกยกขึน้ พ้นพืน้
พัฒนาการ
22. ดึงขึน้ นั่ง จากท่ า
นอนหงาย เด็กสามารถ
ชัน/ ยกศีรษะขึน้ มาก่ อน
ลาตัว (GM)
อุปกรณ์ : กรุ๋งกริ๋งผ้ า
วิธีประเมิน
ผ่ าน
จับเด็กนอนหงาย จับมือเด็ก เด็กสามารถยกศีรษะขึน้ มา
ค่ อยๆ ดึงเด็กขึ้น มาอยู่ ในท่ า ก่ อ นล าตั ว ขณะดึ ง ขึ้ น มา
นั่ ง ค่ อยๆ เพิ่ ม ระยะแล้ ว ในท่ านั่ง
สั ง เกตว่ า เด็ ก สามารถงอคอ
ยกศีรษะขึน้ ก่อนลาตัว
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
23. พลิกคว่าขณะนอน - จัดเด็กนอนหงาย
เด็กสามารถพลิกคว่าได้ เอง
หงายได้ (GM)
- วางของเล่ น ไว้ ด้ า นข้ า งใน เมือ่ เอือ้ มมือไปหยิบของ
อุปกรณ์ : กรุ๋งกริ๋งผ้ า
ระยะที่ มื อ เด็ ก เอื้ อ มไม่ ถึ ง เล่น
แล้วกระตุ้นความสนใจให้ เด็ก
สามารถหยิบของเล่นได้
24. เอือ้ มมือหยิบ และถือ
วัตถุไว้ ขณะอยู่ในท่ านอน
หงายหรือนั่งตัก (FM)
อุปกรณ์ : กรุ๋ งกริ๋งผ้ า
- จับเด็กนอนหงาย หรือนั่งตัก
- ถือกรุ๋ งกรุ๋ งให้ ห่างจากหน้ าเด็ก
20-30 ซม. ให้ เด็กมองและหยิบ
- ทดสอบ 3 ครั้ง
เด็กสามารถเอือ้ มมือข้ างใดข้ าง
หนึ่งไปที่ของเล่ น 1 ใน 3 ครั้ง
(อาจเคลือนไหวสะเปะสะปะ
เพือ่ หยิบกรุ๋ งกริ๋ง)
พัฒนาการ
25. สนใจฟังคนพูดและ
สามารถมองไปทีข่ อง
เล่นทีผ่ ู้ทดสอบเล่ นกับ
เด็ก (RL)
อุปกรณ์ : ตุ๊กตาผ้ า
วิธีประเมิน
ผ่ าน
นั่ ง หั น หน้ าเข้ าหาเด็ ก แล้ ว เด็ ก สบตาและมองที่ ข อง
เรี ยกชื่ อเด็ก เมื่อเด็ก มองแล้ ว เล่ นนาน 5 วินาที อย่ าง
หยิ บ ตุ๊ ก ตาผ้ า ให้ เ ด็ ก เห็ น ใน น้ อย 1 ใน 3 ครั้ง
ระดั บสายตาเด็ ก กระตุ้ น ให้
เด็กสนใจตุ๊กตาผ้ าด้ วยคาพูด
ทดสอบได้ ไม่ เกิน 3 ครั้ง
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
26. เลียนแบบการเล่นทา - ให้ ใ ช้ ป ากทาเสี ย ง เช่ น จุ๊ บ เด็กเลียนแบบการเล่นทา
เสี ยงได้ (EL)
เสี ยงกระดกลิน้
เสี ยงได้
- หรือถามผู้ปกครอง
27. จ้ องมอง หรือร้ องไห้
- สั งเกตเด็ก
เด็กจ้ องมอง หรื อร้ องไห้ เมื่อ
เมือ่ เห็นคนแปลกหน้ า (PS) - ถามจากผู้ปกครองว่ า “เมื่อเด็ก เห็นคนแปลกหน้ า
เ ห็ น ค น แ ป ล ก ห น้ า เ ค้ า ท า
อย่างไร”
พัฒนาการ
28. นั่งได้ มั่นคง และ
สามารถเอีย้ วตัว ใช้ มือเล่น
ได้ อย่างอิสระ (GM)
อุปกรณ์ : ลูกบอลมีเสี ยง
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- จับให้ เด็กอยู่ในท่ านั่ง
เด็กสามารถเอีย้ วตัวหรื อหมุน
- วางลู ก บอลไว้ ด้ า นข้ า งเยื้อ ไป ตั ว ไ ป ห ยิ บ ข อ ง เ ล่ น แ ล้ ว
ทางด้ านหลัง
กลับมานั่งตัวตรงอีก
- สั ง เกตว่ า เด็ ก เอี้ย วตั ว หยิ บ ลู ก
บอลหรือไม่
พัฒนาการ
29. จ้ องมองไปที่หนังสื อ
พร้ อมกับผู้ใหญ่ นาน 2-3
วินาที (FM)
อุปกรณ์ : หนังสื อภาพสี
ขนาดใหญ่
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- จั บ เด็ ก นั่ ง บนตั ก เปิ ดหนั ง สื อ เด็ ก จ้ องมองที่ ห นั ง สื อที่ มี
และพูดกับเด็กเกีย่ วกับรู ปภาพ ภาพสี ข นาดใหญ่ ขณะที่ พู ด
- สั งเกตว่ าเด็ ก จ้ องมองไปที่ ด้ วยเป็ นเวลา 2-3 วินาที
หนังสื อได้ นาน 2-3 วินาที
พัฒนาการ
30. หันตามเสี ยง
เรียกชื่อ (RL)
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- ปล่อยให้ เด็กเล่นอย่ างอิสระ เด็กตอบสนองโดยการหัน
แล้ ว เรี ย กชื่ อ เด็ ก ด้ วยเสี ยง มามอง
ปกติ ห่ า งจากเด็ ก ประมาณ
120 ซม.
31. เลียนเสี ยงพูดคุย เช่ น - สั งเกตเด็ก ว่ าเด็กทาเสี ยงเหมือน เด็กทาเสี ยงทีแ่ ตกต่ าง
มามา ปาปา หมา่ หม่า จ๊ ะจ๊ ะ คุยกับตัวเองหรือไม่
2 ถึง 3 เสี ยงต่ อเนื่องกันเป็ น
จ๋ าจ๊ ะ (EL)
- ถามจากผู้ปกครอง
ภาษาเด็ก คล้ ายประโยคยาวๆ
แต่ ฟังไม่ ร้ ู เรื่อง
พัฒนาการ
32. เด็กเล่นจ๊ ะเอ๋ ได้ (PS)
อุปกรณ์ : ผ้าขนาด 30x30
ซม. มีรูตรงกลาง
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- ให้ เด็กมองผู้ประเมิน
เด็ ก จ้ อ งมองตรงที่ ผ้ ู ป ระเมิ น
- ใช้ ผ้าที่เตรียมไว้ บังหน้ าตนเอง โผล่หน้ าจากผ้า
- โผล่ หน้ าด้ านเดียวกัน 2 ครั้ ง
พร้ อมพูด จ๊ ะเอ๋ แล้ วครั้งที่ 3 พูด
จ๊ ะเอ๋ แต่ ไม่ ต้องโผล่หน้ า
- มองผ่ า นรู ผ้ า ว่ า เด็ ก จ้ อ งมอง
ด้ านทีเ่ คยโผล่หน้ าหรือไม่
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
33. ยืนอยู่ตามลาพัง ได้ - จั ด เด็ ก อยู่ ใ นท่ า ยื น โดยไม่ เด็กยืนได้ โดยไม่ ต้องพยุ ง
นาน 2 วินาที (GM)
ต้ องช่ วยพยุง
นาน 2 วินาที
- สั งเกตว่ าเด็กสามารถยืนอยู่
ตามลาพังได้ นาน 2 วินาที
พัฒนาการ
34. จีบนิว้ มือเพือ่ หยิบ
ลูกปัด (FM)
อุปกรณ์ : ถ้ วยสี แดง และ
ลูกปัดขนาด 1 ซม. 3 ลูก
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- วางลูกปัดขนาด 1 ซม. บนพืน้ เด็กสามารถจีบ นิ้วหยิบลู กปั ด
ตรงหน้ าเด็ก 1 เม็ด
ขึน้ มาได้ 1 ใน 3 ครั้ง
- กระตุ้ น ให้ เ ด็ ก สนใจ และหยิ บ
ลู ก ปั ด โดยใช้ นิ้ ว หั ว แม่ มื อ และ
นิว้ ชี้
พัฒนาการ
35. โบกมือหรือตบมือ
ตามคาสั่ ง (RL)
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- สบตาเด็กแล้วสั่ งให้ เด็กโบก เด็กสามารถทาตามคาสั่ ง
มื อ หรื อ ตบมื อ โดยห้ ามใช้ แม้ ไม่ ถูกต้ องแต่ พยายาม
ท่ าทางประกอบ
ยกแขน และเคลือ่ นไหวมือ
อย่ างน้ อย 1 ใน 3 ครั้ง
36.แสดงความต้ องการ - สั งเกต
โดยทาท่ าทาง หรือเปล่ ง - สอบถามจากผู้ปกครอง เมื่อ
เสี ยง (EL)
เด็กต้ องการสิ่ ง ต่ า งๆ เด็ กทา
อย่ างไร
เด็ ก แสดงความต้ อ งการ
ด้ ว ยการท าท่ าทาง เช่ น ชี้
ยื่ น มื อ ให้ อุ้ ม ชี้ ดึ ง มื อ ดึ ง
เสื้อ หรือเปล่งเสี ยง
พัฒนาการ
37. เล่นสิ่ งของตาม
ประโยชน์ ของสิ่ งของได้
(PS)
อุปกรณ์ : หวี ช้ อนเล็ก
แก้วนา้ แปรงสี ฟัน
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- ยื่นของเล่ นที่เตรี ยมไว้ ให้ เด็ก ที เด็กเล่ นสิ่ งของตามประโยชน์
ละ 1 ชิ้น จนครบ 4 ชิ้น
ได้ ถูกต้ อง อย่ างน้ อย 1 ใน 4
- สั งเกตเด็กเล่ นของเล่ นทั้ง 4 ชิ้น ชิ้น
ตรงตามประโยชน์
- หรือ ถามจากผู้ปกครอง
พัฒนาการ
5. ตรวจการกางแขน
Parachute reflex
วิธีประเมิน
จับตัวเด็กบริเวณเอวในท่ านอน
ควา่ ให้ มั่นคง ยกสู งขึน้ จากพืน้
เตียงประมาณ 1 ฟุต แล้ วลด
ระดับต่าลงมาเร็วๆ เด็กจะใช้
แขนทั้ง 2 ข้ างกางออกไป
ข้ างหน้ าพ้อมทีจ่ ะใช้ มือยันพืน้
ได้ ทนั ทีและเท่ ากัน
ผ่ าน
เด็กกางแขนทั้ง 2 ข้ างออก
เพือ่ พร้ อมทีจ่ ะเอามือยันพืน้
เหมือนท่ าคนกระโดดร่ ม
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
38. เดินลากของเล่นหรือ
สิ่ งของได้ (GM)
อุปกรณ์ : กล่ องพลาสติกผูก
เชือก
- ลากจูงรถของเล่ นให้ เด็กดู
- ส่ งเชือกทีม่ รี ถของเล่นให้ เด็ก
และบอกให้ เด็กเดินของรถของ
แล่นเอง
เด็กเดินลากรถของเล่นที่มีล้อ
และมีเชือกผูก สาหรับลากได้
ไกล 2 เมตร โดยเดินไป
ข้ างหน้ า พร้ อมกับลากรถของ
เล่นตามหลัง
39. หยิบก้อนไม้ ใส่ ถ้วย (FM)
อุปกรณ์ : ก้อนไม้ สี่เหลีย่ ม
ลูกบาศก์ 3 ก้อน
ถ้ วยเล็ก
วางก้ อนไม้ 3 ก้ อนและถ้ วยไว้ บน ผ่ าน ถ้ าเด็กสามารถหยิบก้ อนไม้
โต๊ ะข้ างหน้ าเด็ก กระตุ้นให้ เด็กหยิบ ใส่ ถ้วยอย่ างน้ อย 1 ก้ อน
ก้ อนไม้ ใส่ ถ้วย โดยอาจสาธิตและใช้
คาพู ด การสาธิ ตอาจต้ อ งท าหลาย
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
เด็กพูดได้ 1 คาที่มีความหมาย
40. พูดได้ 1 คา ที่เป็ นคา - สังเกต
- ถามผู้ปกครอง ว่ าเด็กพูดคาทีม่ ี คาเหล่านั้นต้ องไม่ ใช้ ปาปา มา
โดด (RL)
ความหมายได้ กคี่ า อะไรบ้ าง
41. เด็กสามารถส่ งของ - ส่ งของเล่นให้ เด็กถือ
เล่นได้ ตามคาสั่ ง (EL) - สบตาเด็กแล้วพูด “ขอ...ค่ะ/
อุปกรณ์ : ตุ๊กตาผ้ า รถ บอล ครับ” โดยไม่ ต้องยืน่ มือออกไป
- ทาซ้า 3 ครั้ง
มา หรือชื่อของคนใน
ครอบครัวและสั ตว์ เลีย้ ง
เด็กเล่นส่ งของเล่น ให้ ผ้ ู
ประเมินได้ อย่างน้ อย 2 ใน 3
ครั้ง
พัฒนาการ
42. เลียนแบบท่ าทาง
ทางานบ้ าน (PS)
วิธีประเมิน
ผ่ าน
ถามจากผู้ปกครอง ว่ าเด็กเคย เด็กเลียนแบบงานบ้ านได้
เลียนแบบการทางานบ้ านบ้ าง อย่ างใดอย่ างหนึ่ง
หรือไม่ เช่ น กวาดบ้ าน ถูพนื้
เช็ดโต๊ ะ
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
43. เด็กวิง่ หรือเดินเร็วๆ โดย ชวนเด็กวิง่ แข่ งกัน และสั งเกตว่ า เด็กพยายามวิง่ ด้ วยการเดิน
สายตาอาจจ้ องมองอยู่ที่พนื้ เด็กวิง่ หรือเดินเร็วๆ โดยสายตา เร็วๆ โดยตาของเด็กอาจจ้ อง
(GM)
อาจจ้ องมองทีพ่ นื้
มองทีพ่ นื้
44. ขีดเขียนเป็ นเส้ นบน
กระดาษได้ (FM)
อุปกรณ์ : กระดาษ ดินสอ
- แสดงวิธีขีดเขียนบนกระดาษ เด็กสามารถขีดเขียนเป็ นเส้ น
- ส่ งดินสอให้ เด็กและพูดว่า “ลอง ใดๆ ก็ได้ บนกระดาษ
วาดซิ”
พัฒนาการ
45. ทาตามคาสั่ ง 2-3 คา โดย
ไม่ ต้องมีท่าทางประกอบ
(RL)
อุปกรณ์ : ตุ๊กตาผ้ า รถ ลูก
บอล
46. ตอบชื่อวัตถุได้ ถูกต้ อง
(EL)
อุปกรณ์ : ตุ๊กตาผ้ า รถ ลูก
บอล
วิธีประเมิน
ผ่ าน
- วางของเล่น 3 ชิ้น แล้วสั่ งให้ เด็ก เด็กทาตามคาสั่ งได้ อย่ างน้ อย 1
“กอดตุ๊กตาซิคะ” “ขว้ างลูกบอลซิ ใน 3 อย่าง
คะ” “ส่ งรถให้ หน่ อยค่ ะ”
วางของเล่น แล้วชี้ไปที่ของเล่น
และถามว่ า “นี่อะไร”
เด็กตอบชื่อวัตถุ ได้ ถูกต้ อง
หรือออกเสี ยงใกล้เคียง ได้ 1
ชนิด
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
47. ถือถ้ วยนา้ ดื่มเองหก - วางแก้วตรงหน้ าเด็ก แล้วให้
เล็กน้ อย (PS)
เด็กยกแก้วนา้ ดื่มเอง
อุปกรณ์ : ถ้ วยฝึ กดื่มมีหู - หรือถามจากผู้ปกครอง
ใส่ นา้ ¼ ของแก้ว
ผ่ าน
- เด็กยกแก้วนา้ ดื่มและวาง
แก้วลงที่เดิม เทนา้ เข้ าปาก
อาจมีหกบ้ าง
- หรือผู้ปกครองบอกว่ าเด็ก
ทาได้ ที่บ้าน
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
48. เด็กเหวีย่ งขาเตะลูก เตะลูกบอลให้ เด็กดู และบอก เด็กเหวี่ยงขาเตะบอล ได้
บอลได้ (GM)
ให้ เด็กทาตาม
โดยไม่ เสี ยการทรงตัว และ
อุปกรณ์ : ลูกบอลขนาด
ทาได้ อย่ างน้ อย 3 ใน 5 ครั้ง
เส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 15
ซม.
พัฒนาการ
49. ต่ อก้อนไม้ 4 ชั้น
(FM)
อุปกรณ์ : ก้อนไม้ สี่เหลีย่ ม
ลูกบาศก์ 4 ก้อน
วิธีประเมิน
ผ่ าน
วางก้อนไม้ 4 ก้อน ไว้
เด็กสามารถต่ อก้อนไม้ ได้
ข้ างหน้ าเด็ก กระตุ้นให้ เด็ก โดยไม่ ล้มจานวน 4 ก้อน 3
ต่ อก้อนไม้ อาจทาให้ ดูก่อน ครั้ง
ได้ หรือช่ วยส่ งก้อนไม้ ให้ เด็ก
ทีละก้อน ให้ เด็กทาได้ 3 ครั้ง
พัฒนาการ
50. เลือกวัตถุตามคาสั่ ง
(ตัวเลือก 4 ชนิด) (RL)
อุปกรณ์ : ตุ๊กตา รถ บอล
ถ้ วย
วิธีประเมิน
- วางของเล่น 4 ชิ้น ไว้
ตรงหน้ าเด็กในระยะที่เด็ก
หยิบถึง แล้วสั่ งว่ า
- หยิบตุก๊ ตำให้หน่อยค่ะ
- หยิบรถให้หน่อยค่ะ
- หยิบบอลให้หน่อยค่ะ
- หยิบถ้วยให้หน่อยค่ะ
สลับของเล่นทุกครั้งที่บอก
เด็ก
ผ่ าน
เด็กสามารถหยิบของเล่น
ได้ ถูกต้ อง 4 ชนิด
พัฒนาการ
วิธีประเมิน
ผ่ าน
51. เลียนคาพูดทีเ่ ป็ นวลี
- พูดวลี 2 คากับเด็ก และให้ เด็ก
ประกอบด้ วยคา 2 คาขึน้ ไป เลียบคาพูดตาม เช่ น กินข้ าว ไป
(EL)
เทีย่ ว กินนม
เด็กเลียนคาพูดทีเ่ ป็ นวลี 2 คา
ขึน้ ไป ได้ เอง
52. ใช้ ช้อนตักอาหารกินเอง ถามจากผู้ปกครองว่ า “เด็ก
ได้ (PS)
สามารถใช้ ช้อนกินอาหารได้
หรือไม่ ”
เด็กใช้ ช้อนตักอาหารได้ โดยไม่
หก (กรณีทเี่ ด็กกินข้ าวเหนียว
เป็ นหลัก ให้ เด็กใช้ ช้อนตัก
อาหาร)
พัฒนาการ
6. เดินต่ อส้ นเท้ า
อายุ 55 – 60 เดือน
วิธีประเมิน
ผ่ าน
เดินโดยใช้ ส้นเท้ าข้ างหนึ่งไป
ต่ อชิดกับปลายเท้ าอีกข้ าง
หนึ่งให้ เด็กดู แล้วให้ เด็กทา
ตาม
เด็กสามารถเดินต่ อส้ นเท้ า
ได้ 4 ก้าว โดยไม่ เสี ยการ
ทรงตัว และไม่ กางแขน
เพือ่ ช่ วยทรงตัว






ใช้ คาพูดง่ายๆ ชัดเจน ให้ เวลาเด็กปฏิบตั ิตาม 3- 5 วินาที
ถ้ าเด็กยังไม่ได้ ทาหรื อ ทาไม่ได้ ให้ พดู ซ ้าคาเดิมๆ ช้ าๆ ชัดๆ
ช่วยเหลือเท่าที่จาเป็ น เช่น จับมือทา ผงกศีรษะหรื อส่ายหน้ า
ชมเชยทันทีเมื่อเด็กทาได้ เช่น ยิ ้ม ตบมือ ลดการช่วยเหลือเมื่อเด็กทาได้
ถ้ าเด็กเรี ยนรู้แล้ ว ให้ เปลี่ยนข้ อความอื่นที่มีความหมายเดิม
ควรขัดขวางพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ
ขอบคุณค่ ะ