การพัฒนาหลักสูตรวิชาผู้นำตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักศึกษา

Download Report

Transcript การพัฒนาหลักสูตรวิชาผู้นำตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักศึกษา

การพัฒนาหลักสูตรวิชาผูน้ าตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาการศึกษา
ความเป็นมาของปัญหา
ตัง้ แต่ปี 2516
- พัฒนาเป็ นขัน้ ตอน
เพื่อ ให้คนส่วนใหญ่พอ
อยูพ
่ อกิน
- เกษตรทฤษฎีใหม่
2545 - ปัจจุบนั
แผนฯ 9
อัญเชิญ ปศพ. เป็ น
ปรัชญาชี้นาการ
พัฒนา
- วิกฤต 40
- พอประมาณ ไม่โลภ
ประหยัด
- คานิยาม 42
แผนฯ 10
สังคมอยูเ่ ย็นเป็นส ุข
ร่วมกัน
ฯลฯ
พระราชดารัส
แผนพัฒนาฯ
มาตรา 75 (1)
ข้อเสนอ 6 ข้อ
บริหารราชการแผ่นดิน - ขจัดยากจน
อย่างยัง่ ยืน โดยต้อง - พัฒนาศักยภาพช ุมชน
ส่งเสริมการดาเนินการ
- CSR ของธ ุรกิจ & มุ่ง
ตาม ปศพ.
กาไรระยะยาว
(แนวนโยบายด้าน
- ปรับปร ุงมาตรฐาน
เศรษฐกิจ)
ธรรมาภิบาลของภาครัฐ
มาตรา 83
รัฐต้องส่งเสริมให้มี
การดาเนินการตาม
แนวปศพ.
รัฐธรรมนูญ 50
- เติบโตที่เสมอภาคและ
ยัง่ ยืน
- ปล ูกฝังจิตสานึก
UNDP NHDR
2007
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กรอบแนวคิด
เป็นปรัชญาที่ ช้ ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ิ ตนของประชาชน
ในท ุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ใน
การพัฒ นาและการบริ ห ารประเทศให้ด าเนิ น ไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วหน้าทันต่อโลกโลกภิวฒ
ั น์
เป้าหมาย
มุ่งให้เกิดความสมด ุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่า งรวดเร็ว และกว้า งขวาง ทั้งทางวัตถ ุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ
นวัตกรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ)
หลักการ
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหต ุผล การ
สร้างภ ูมิคม้ ุ กันที่ดีในตัวพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน
เงื่อนไขพื้นฐาน (ความรูค้ ่คู ณ
ุ ธรรม)
- จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง
ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการท ุก
ขัน้ ตอน
- การเสริมสร้างจิตใจคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี
และนักธ ุรกิจในท ุกระดับ ให้มีสานึกในค ุณธรรม ความซื่อสัตย์ส ุจริต และ
ให้มีความรอบรท้ ู ี่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ
ปัญญา และความรอบคอบ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ)
วัตถ ุ / สังคม / สิ่งแวดล้อม / วัฒนธรรม
สมด ุล / พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ทางสายกลาง พอเพียง
พอประมาณ
มีเหต ุผล
มีภมู ิคม้ ุ กันที่
ดีในตัว
เงื่อนไขความร ้ ู
เงื่อนไขค ุณธรรม
รอบร ้ ู รอบคอบ ระมัดระวัง
ซื่อสัตย์ส ุจริต อดทน เพียร มีสติ ปัญญา
ค ุณลักษณะของกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง
ความพอประมาณ
- พอเหมาะกับสภาพของ
ตน
(ปัจจัยภายใน)
- พอควรกับภ ูมิสงั คม
(ปัจจัยภายนอก)
(สมด ุล)
ความมีเหต ุผล
- รูส้ าเหต ุ – ทาไม
- รป้ ู ั จจัยที่เกี่ยวข้อง
วิชาการ / กฎหมาย /
ความเชื่อ / ประเพณี
มีภมู ิคม้ ุ กันที่ดี
- คานึงถึงการเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ
- รูเ้ ท่าทันและเตรียมความ
พร้อม
- รูผ
้ ลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน (วางแผน / รอบคอบ / เรียนรู้ /
ด้านต่างๆ
(รอบรู้ / สติ / ปัญญา)
พัฒนาตน / ทาประโยชน์ให้กบั
สังคม / รักษ์ส่ ิงแวดล้อม)
(ไม่ประมาท)
ใช้ความรูค้ ค
่ ู ุณธรรม เพื่อให้เกิดความพอเพียงในการดาเนินชีวิต
ที่สมด ุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
สร ุปหลักการทางาน














ระเบิดจากข้างใน
คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
ปล ูกจิตสานึก
ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
ทาตามลาดับขัน้ คานึงถึงภมู ิสงั คม
คิดอย่างเป็นองค์รวมมองอย่างครบวงจร
บริการรวมที่จดุ เดียว
ปฏิบตั ิอย่างพอเพียง
ไม่ติดตารา ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สงู ส ุด
ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ให้อธรรมปราบอธรรม
การมีสว่ นร่วม
ขาดท ุนคือกาไร รูร้ กั สามัคคี รูเ้ สียสละ
ซื่อสัตย์ ส ุจริต ขยัน เพียร อดทน
เน้นให้พึ่งตนเองได้ พออยูพ
่ อกิน
เป้าหมายคือสังคมพอเพียง
ประโยชน์สว่ นร่วม มุง่ ประโยชน์ส ุขคนส่วนใหญ่
สร ุปเศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร
- เป็นวิถีการดาเนินชีวิตที่ใช้ค ุณธรรมกากับความรู้
- เป็นการพัฒนาตนเอง ครอบครัว องค์กร ช ุมชน สังคม
ประเทศชาติ ให้กา้ วหน้าไปพร้อมกับความสมด ุล มัน่ คง ยัง่ ยืน
- เป็นหลักคิดและหลักปฏิบต
ั ิ
เพื่อให้คนส่วนใหญ่พออยูพ
่ อกิน พอใช้ ได้อย่างมัน่ คง
เพื่อให้คนในสังคม สามารถอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติส ุข
เพื่อให้คนอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติได้อย่างสมด ุลยัง่ ยืน
และเพื่อให้แต่ละคนอยูอ่ ย่างมีศกั ดิ์ศรี มีรากเหง้าทางวัฒนธรรม
ค ุณลักษณะเด่นของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักพอเพียง คือ หลักพัฒนาคนให้มีค ุณภาพ เพื่อการ
พัฒนาที่ยงั่ ยืน
 การพัฒนาที่กา้ วหน้าไปพร้อมกับความสมด ุล
 การพัฒนาที่มนั่ คงอย่างเป็นขัน้ ตอน โดยเริม่ จากฐานราก
 มุ่งประโยชน์สว่ นรวม และความส ุขที่ยงั่ ยืน
 พัฒนาค ุณภาพคนให้มีค ุณธรรมกากับความร ้ ู
พระราชทานแก่ผส้ ู าเร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (19 มิถ ุนายน 2522)
“........การให้การศึกษานัน้
กล่าวสัน้ ๆ โดยความหมายรวบยอด
คือ การช่วยให้บ ุคคลค้นพบวิธีการดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง เหมาะสม
ไปสูค่ วามเจริญ และความส ุขตามอัตภาพ.........
....ผูส้ อนมีหน้าที่ตอ้ งหาความรู้ และวิธีการดาเนินชีวิต มาให้ศิษย์ได้รไ้ ู ด้
ทราบ เพื่ อ ให้ส ามารถเรีย นรูต้ ่ อ ไปได้ด ้ว ยดี จนบรรล จุ ดุ หมาย หาก
ผูส้ อนมีอ ุบายอันแยบคาย ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ สดุ ทัง้ ในการแสวงหา
ความรู้ ทัง้ ในการถ่ายทอดความรู้ เกิดจากความระลึกได้ถึงในความรูท้ ี่
ผ่านพบมาแล้ว ประกอบกับความรูต้ วั และความคิดอ่านที่ ว่องไวเฉลียว
ฉลาด ซึ่ ง ปกติ ช นท กุ คนจะต้อ งฝึ กฝนให้เ กิ ด ขึ้ นได้ไ ม่ เ กิ น วิ ส ั ย แล้ว
น ามาใช้ค วบเข้า กับ ความรูค้ วามถนัด ของตนให้เ ป็ นประโยชน์ไ ด้ท กุ
โอกาส........”
เศรษฐกิจพอเพียงสูส่ ถานศึกษา
ค ุณธรรมนาความรู้
การบริหารสถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียง
การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน
- จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ต่อการเรียนรูว้ ิถี
พอเพียง
- กาหนดมาตรฐานการเรียนร ้ ู
ชัน้ ปี (รายวิชาพื้นฐาน)
- สร้างวัฒนธรรม
องค์กร
- จัดกิจกรรมการเรียนร ้ ู
- ปล ุกฝังให้เป็นวิถีชีวิต
- ช ุมชนสัมพันธ์
- จัดทาหน่วย / แผนการเรียนร ้ ู
- จัดทาสื่อ / แหล่งเรียนร ้ ู
- จัดทาเครือ่ งมือวัด /
ประเมินผล
- เกณฑ์การผ่านช่วงชัน้
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
แนะแนว
กิจกรรมนักเรียน
- ให้บริการแนะแนว
- ลส. – นน. ย ุวกาชาด
ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์
- ระบบด ูแล
ช่วยเหลือ นักเรียน
- โครงงาน
- ช ุมนุม
- ชมรม
- ฯลฯ
กิจกรรมเพื่อสังคม / จัดสาธารณะ เน้น
การมีสว่ นร่วม การเห็นค ุณค่าของการ
อยูร่ ว่ มกัน
เป้าหมาย นักศึกษาอยูอ่ ย่างพอเพียง สมด ุล
และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ด้านวัตถ ุ
ปล ูกฝังให้เด็กและเยาวชน รูจ้ กั ใช้วตั ถ ุ /
สิ่งของ / ทรัพยากร อย่างพอเพียง
ด้านสังคม
ฝึกการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ ื่น อย่างเอื้อเฟ้ ื อเผื่อแผ่ /
แบ่งปัน / ไม่เบียดเบียน
ด้านสิ่งแวดล้อม
ปล ูกฝังจิตสานึกรักษ์ธรรมชาติ /
สิ่งแวดล้อม
ด้ านวัฒนธรรม
สร้างความภ ูมิใจ / เห็นค ุณค่าของวัฒนธรรม
ค่านิยม เอกลักษณ์ความเป็นไทย
ตัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง
โดยใช้หลักสัปปุรสิ ธรรม 7
1. รเ้ ู หต ุ
2. รผ้ ู ล
3. รต้ ู น
4. รป้ ู ระมาณ
5. รก้ ู าล
6. รบ้ ู ุคคล
7. รช้ ู ุมชน
ความมีเหต ุผล
ความพอประมาณ
มีภ ูมิคม้ ุ กันที่ดี
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.
2549 มาตรา 8
1. แสวงหาความจริงเพื่อสูค่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ บนพื้นฐานของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
2. ผลิตบัณฑิตที่มีความรค้ ู ค
่ ู ุณธรรม สานึกในความเป็นไทย มีความ
รักและผูกพันต่อท้องถิ่นอีกทัง้ ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิตใน
ช ุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรูเ้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิต
บัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจานวนและค ุณภาพสอดคล้องกับ
แผนการผลิตบัณฑิตของประเทศ
3. เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจในค ุณค่า ความสานึก และความ
ภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.
2549 มาตรา 8 (ต่อ)
4. เรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็งของผูน้ าชมุ ชน ผู้นาศาสนา
และนักการเมืองท้องถิ่นให้มีจิตสานึกประชาธิ ปไตย ค ณ
ุ ธรรม
จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชมุ ชน
และท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
5. เสริมสร้างความเข้มแข็งของวิชาชีพครู ผลิตและพัฒนาครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาให้มีค ุณภาพและมาตรฐานที่ เหมาะสม
กับการเป็นวิชาชีพชัน้ สูง
6. ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อก ูลกันระหว่าง
มหาวิทยาลัย ช ุมชน องค์กรปกครอง
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.
2549 มาตรา 8 (ต่อ)
7. ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพ้ ืนบ้านและ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดารงชีวิตและการประกอบ
อาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทาง เพื่อ
ส่งเสริมให้เกิดการจัดการ การบาร ุงรักษา และการใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมด ุลและยัง่ ยืน
8. ศึกษา วิจยั ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนว
พระราชดาริในการปฏิบตั ิภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการ
พัฒนาท้องถิ่น
กรอบมาตรฐานค ุณว ุฒิระดับอ ุดมศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2552
1. ด้านค ุณธรรม จริยธรรม
ค ุณภาพของบัณฑิตท ุกระดับ
ค ุณว ุฒิและสาขาวิชา ต้องเป็นไป
ตามมาตรฐานผลการเรียนรท้ ู ี่
คณะกรรมการการอ ุดมศึกษา
กาหนด คือ
2. ด้านความรู้
3. ด้านทักษะทางปัญญา
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบ ุคคลและความ
รับผิดชอบ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง
ตัวเลขการสื่อสารและการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักสูตรคร ุศาสตรบัณฑิต
โครงสร้างของหลักสูตรตามองค์ประกอบของมาตรฐานและเกณฑ์การ
รับรองปริญญาตรีทางการศึกษาหลักสูตร 5 ปี ประกอบด้วยหน่วยกิตรวมไม่
น้อยกว่า 160 หน่วยกิต ได้แก่ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต หมวดวิชาชีพครูไม่นอ้ ย
กว่า 50 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะด้านไม่นอ้ ยกว่า 74 หน่วยกิต หมวดวิชา
เลือกเสรีไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต หมวดวิชาชีพครู ประกอบด้วยมาตรฐาน
ความรแ้ ู ละประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้
1. ความรว้ ู ิชาชีพครู
2. ประสบการณ์วิชาชีพครู
3. สมรรถนะ
ความมุง่ หมายของการวิจยั
1. เพื่อสร้างหลักสูตรวิชาผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียงสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา
การศึกษา
1.1 เพื่อสร้างตรวจสอบภาวะผูน้ าตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา สาขาการศึกษา
1.2 เพื่อสร้างแผนจัดกิจกรรมการเรียนร ้ ู เรือ่ ง
การเป็นผูน้ าตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง
1.3 เพื่อสร้างแบบวัดการเรียนรค้ ู วามสามารถ
ของตนด้านความเป็นผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ความมุง่ หมายของการวิจยั (ต่อ)
2. เพื่อประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรวิชาผูน้ าตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียงสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา
การศึกษา
2.1 ประเมินความสามารถด้านการเป็นผูน้ า
ประกอบด้วย EQ สมรรถนะ ได้แก่ ค ุณธรรมจริยธรรม การ
บาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนร่วม การใฝ่รใ้ ุ ฝ่เรียน ทักษะ
กระบวนการคิด ทักษะทางภาษาและสื่อสาร
2.2 ประเมินการรับรค้ ู วามสามารถของตนด้านความ
เป็นผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
3. เพื่อประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรวิชาผูน้ าตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
ขอบเขตของการวิจยั
กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั
การวิจยั ครัง้ นี้แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
1. กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ระยะที่ 1 เพื่อตรวจสอบ
สภาพภาวะผูน้ าของนักศึกษาสาขาการศึกษา กลมุ่
ตัวอย่างเป็นนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 และ 3 จานวน 250 คน
จากประชากร 2,500 คน กาหนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง
โดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan กลมุ่
ตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงและให้นกั ศึกษา
ท ุกคนเป็นหน่วยการสมุ่
ขอบเขตของการวิจยั (ต่อ)
2. กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ระยะที่ 2 เพื่อสร้างแบบตรวจสอบ
นักศึกษาที่มีภาวะผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้การทา
คะแนนจุดตัดของแบบวัดกลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการสร้าง แบบวัดการ
รับรูค้ วามสามารถของตนด้านความเป็นผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียง ใช้นกั ศึกษาคนละกลมุ่ กับการหาค ุณภาพเครื่องมือแรก
3. กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ระยะที่ 3 ที่ใช้ในการทดลองสอนตาม
หลักสูตรวิชาผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
กลมุ่ ตัวอย่างเป็นนักศึกษา คณะคร ุศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครราชสีมา ชัน้ ปีที่ 3 ซึ่งเป็นนักศึกษาที่เลือกเรียนวิชาเลือก
เสรี หรือเข้าโครงการฝึกอบรมพัฒนานักศึกษา จานวน 40 คน
ดาเนินการเลือกโดยวิธีเจาะจง (Purposive Sampling)
ตัวแปรที่ศึกษา
ประสิทธิผลของหลักสูตรวิชาผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาสาขาการศึกษา
1. ความรค้ ู วามสามารถเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง
1.1 ความพอประมาณ
1.2 ความเป็นเหต ุผล
1.3 การมีภ ูมิคม้ ุ กัน
1.4 ค ุณธรรม (ซื่อสัตย์ ขยัน แบ่งปัน พึ่งตนเอง)
1.5 ความรอบร ้ ู รอบคอบ ระมัดระวัง
ตัวแปรที่ศึกษา (ต่อ)
2. ความสามารถในการเป็นผูน้ า
2.1 EQ
2.2 การใฝ่ร ้ ู Learner
2.3 การบริหารและจิตอาสา Manager
2.4 สนใจติดตามการบริหารกิจการบ้านเมือง Politician
2.5 การพิทกั ษ์ประโยชน์สว่ นรวม Advocate
3. การรับรค้ ู วามสามารถของตนด้านการเป็นผูน้ าตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
4. ความเหมาะสมของหลักสูตรวิชาผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียงสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาสาขาการศึกษา
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. ประสิทธิภาพของหลักสูตร
2. ประสิทธิผลของหลักสูตร
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.2 ทักษะปฏิบตั ิ
2.3 ด้านทัศนคติ
3. ความเหมาะสมของหลักสูตร
กรอบแนวคิดวิจยั
ประสิทธิภาพของหลักสูตร
หลักสูตรผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับนักศึกษา
ระดับปริญญาตรีสาขาคร ุศาสตร์
องค์ประกอบ
เนื้อหา
หลักส ูตรวิชาผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียงสาหรับนักศึกษาปริญญาตรี
สาขาคร ุศาสตรบัณฑิต ที่พฒ
ั นาขึ้นมี
องค์ประกอบหลัก คือ
1. เครือ่ งมือวัดการรับรต้ ู นเองก่อน
เรียน เป็นแบบตรวจสอบประเมินตนเอง
2. แผนการจัดการเรียนร ้ ู
2.1 กาหนดเป้าหมายในการเรียน
2.2 วิเคราะห์ผเ้ ู รียน
2.3 กาหนดกิจกรรมการเรียนร ้ ู
2.4 กาหนดบทบาทผูส้ อน
2.5 การสร้างแรงจูงใจในการเรียน
2.6 การใช้เทคนิควิธีและนวัตกรรม
การเรียนรท้ ู ี่หลากหลาย มีการฝึกปฏิบตั ิ
3. เครือ่ งมือประเมินวัดผลสัมฤทธิ์
3.1 แบบทดสอบ
3.2 แบบประเมินทักษะกระบวนการ
คิด และการแก้ปัญหาตามสถานการณ์
พร้อมเกณฑ์การประเมินแบบ Rubric
3.3 แบบวัดการรับรค้ ู วามสามารถ
ตนเอง
ผ้าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบด้วย
1. ความพอประมาณ
2. ความมีเหต ุผล
3. การมีภ ูมิคม้ ุ กัน (ค ุณธรรมและความ
รอบร)้ ู
4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
5. การใฝ่ร ้ ู (Learner)
6. การจัดการและจิตอาสา
7. การประสานประโยชน์
8. การพิทกั ษ์สิทธิ (Advocate)
แผนการจัดการเรียนร ้ ู (ตรวจสอบความเที่ยงตรง)
เครื่องมือวัด (ตรวสจสอบคตวามเที่ยงตรงและความ
เชื่อมัน่
ประสิทธิผลของหลักสูตร
1. การรับรข้ ู องตนด้านผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียง
- การรับรก้ ู อ่ นเรียน
- การรับรห้ ู ลังเรียน
2. ความสามารถในการเป็นผูน้ าตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
- ด้านประบวนการ (Process)
- ด้านผลงาน (Product)
3. ด้านทัศนคติ
- ความคิดรวบยอด
- ความคิดสร้างสรรค์
- การมีวิสยั ทัศน์
ความเหมาะสมของหลักสูตร
1.วิเคราะห์ปรับปร ุง
2.ตรวจสอบโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
ขัน้ ตอนการดาเนินการ
การสร้างหลักสูตรผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาคร ุศาสตร
บัณฑิต
การสร้างแบบประเมินวัดผลสัมฤทธิ์การ
เรียนรต้ ู าม KPI
การสร้างเครือ่ งมือทดสอบการรับร ้ ู
ความสามารถของตนเกี่ยวกับความเป็นผูน้ า
สร้างแผนการจัดการเรียนรร้ ู ะหว่างผูน้ าตาม
แนวเศรษฐกิจพอเพียง
1. วิเคราะห์ทฤษฎีเกี่ยวกับผูน้ าตาม
สถานการณ์
1. ออกแบบและเขียนแผน
- ศึกษาร ูปแบบการสอน
- จัดทาแผน 10 สัปดาห์
1. ออกแบบและเขียนแผนวัดผลประเมินผล
- ศึกษาผลประเมินผล
- สร้างข้อประเมินความสามารถในการ
เป็นผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
2. ออกแบบและเขียนเครือ่ งมือ
- ศึกษาโครงสร้าง
- สร้างเครือ่ งมือตรวจสอบ
2. ตรวจสอบค ุณภาพและปรับปร ุง
2. ตรวจสอบค ุณภาพ
3. ตรวจสอบค ุณภาพและปรับปร ุง
3. ได้แผนการจัดการเรียนรพ
้ ู ร้อมสื่อ
ประกอบการเรียนร ้ ู
- เนื้อหา
- แผนการสอน
- สื่อและนวัตกรรม
- คมู่ ือ
3. ได้แบบประเมินวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนร ้ ู
4. ได้เครือ่ งมือแผนตรวจสอบการรับร ้ ู
ความสามารถของตนเกี่ยวกับความเป็นผูน้ า
ขัน้ ตอนการดาเนินการ
การประเมินประสิทธิผลหลักสูตรผูน้ าตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การปรับปร ุงหลักสูตร
1. ดาเนินการตรวจสอบ ค้นหานักศึกษาที่มีแวว
ผูน้ า
1. ดาเนินการปรับปร ุงหลักสูตร
- วิเคราะห์ผลการประเมินประสิทธิผลหลักสูตร
- วิเคราะห์ปัญหา อ ุปสรรคที่เพิ่มขึ้นระหว่าง
ทดลอง
- ปรับปร ุงแก้ไข ตรวจผลการวิเคราะห์
2. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูค้ วามเป็ นผูน้ า
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
2. ตรวจสอบโดยผูเ้ ชี่ยวชาญและปรับปร ุง
3. ดาเนินการประเมินความสามารถผูน้ า และการ
รับรูค้ วามสามารถของตนด้านผูน้ าตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
3. ได้หลักสูตรผูน้ าตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
สาหรับนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรคร ุศาสตร
บัณฑิต
4. ได้ประสิทธิผลของหลักสูตร