การจัดการที่ยั่งยืน
Download
Report
Transcript การจัดการที่ยั่งยืน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ที่มา : ดร. ปรียานุ ช พิบูลสราวุธ
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
2
คุณลักษณะของคน/กิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
พอเหมาะกับสภาพ
ของตน
พอควรกับสิ่ งแวด
ล้อมทางกายภาพ /
สังคม
(ไม่ โลภจนเบียดเบียน
ตัวเอง/ผู้อื่น /ทำลำย
สิ่ งแวดล้ อม)
ความมีเหตุมีผล
ไม่ประมาท
(รอบรู้ / มีสติ)
รู้สาเหตุ – ทาไม
รู ้ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
รู้ผลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นในด้านต่างๆ
มีภูมิคุ้มกันทีด่ ี
สุ ขภาพดี
พร้อมรับความเสี่ ยง
ต่างๆ (วางแผน /
เงินออม /ประกัน)
ทาประโยชน์ให้กบั
ผูอ้ ื่น/สังคม
เรี ยนรู้ / พัฒนาตน
อย่างต่อเนื่อง
สามารถพึง่ ตนเองได้ และเป็ นทีพ่ งึ่ ของผ้ อู ื่นได้ ในทีส่ ุ ด
ที่มา : ดร. ปรียานุ ช พิบูลสราวุธ
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
3
ด้านจิตใจ
มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ / มีจิตสำนึ กที่ดี / เอื้ ออำทร
ประนี ประนอม / นึ กถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
ด้านสังคม
ช่วยเหลือเกื้ อกูลกัน / รูร้ กั สำมัคคี /สร้ำงควำมเข้มแข็ง
ให้ครอบครัวและชุมชน
ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ด้านเทคโนโลยี
รูจ้ กั ใช้และจัดกำรอย่ำงฉลำดและรอบคอบ / เลือกใช้
ทรัพยำกรที่มีอยูใ่ ห้เกิดควำมยัง่ ยืนสูงสุด
รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีที่เหมำะสม สอดคล้องกับควำม
ต้องกำรและสภำพแวดล้อม (ภูมิสงั คม) / พัฒนำ
เทคโนโลยีจำกภูมิปัญญำชำวบ้ำนเองก่อน / ก่อให้เกิด
ประโยชน์กบั คนหมูม่ ำก
ที่มา : ดร. ปรียานุ ช พิบูลสราวุธ
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
4
ตัวอย่างความพอเพียงในองค์กรเอกชน แพรนด้านจิวเวอรี่
ความพอประมาณ
ความมีเหตุมีผล
การสร้างภูมิคมุ ้ กันที่ดี
ผลิตเพื่อกลุ่มลูกค้ำชั้นดีที่
มีช่องทำงกำรขำยชัดเจน
ยึดหลักควำมเสี่ยงปำนกลำง
เพื่อกำไรปกติ
ยึดหลักกำรแบ่งปั นและไม่
เบียดเบียนคู่คำ้ ธุรกิจ
มีเครือข่ำยผูป้ ระกอบกำร
รำยย่อย ช่วยจัดส่งงำน
เมื่อยอดกำรสัง่ สินค้ำเพิ่ม
สร้ำง Brand ของตัวเองอย่ำง
ต่อเนื่ อง และมี Brand ต่ำงกัน
สำหรับแต่ละระดับของตลำด
ตรวจสอบกำรทำงำนของ
บริษัทเทียบกับคู่แข่งอย่ำง
สมำ่ เสมอ
ขยำยกำรผลิตไปยังประเทศที่
มีค่ำแรงถูก
มีควำมยืดหยุน่ ในกำรเสนอ
ผลิตภัณฑ์ตำมควำมต้องกำร
กระจำยผลิตภัณฑ์ในหลำยระดับและ
ขยำยตลำดในหลำยประเทศ
ให้รำคำแก่ Suppliers อย่ำงเหมำะสม
มีนโยบำยจ่ำยเงินปั นผลไม่เกิน ๖๐%
ของกำไรสุทธิ
ประเมินควำมเสี่ยงของกิจกำรทุกๆ
6 เดือน
ป้องกันควำมเสี่ยง โดยซื้ อขำยเงินตรำ
ล่วงหน้ำ
เงื่อนไขควำมรู ้
เงื่อนไขคุณธรรม
พัฒนำและเรียนรู ้ เพื่อสร้ำงนวัตกรรมและโอกำสทำงธุรกิจเสมอๆ
จัดทำโครงกำรศึกษำทวิภำคีเพื่อเด็กด้อยโอกำสและพนักงำนของบริษัท
ร่วมในเครือข่ำย SVN ในกำรพัฒนำควำมรูแ้ ละมำตรฐำนธุรกิจ
จัดโครงกำรร่วมบริจำคโลหิตให้สภำกำชำดเป็ นประจำทุก ๓ เดือน
เป็ นโครงกำรโรงงำนสีขำวดำเนิ นกำรป้องกันและแก้ไขปั ญหำยำเสพติดใน
องค์กร
ที่มา : ดร. ปรียานุ ช พิบูลสราวุธ
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
5
กรอบของการจัดการที่ยงั ยืนและจริยธรรมทางธุรกิจ
จริยธรรมทางธุรกิจ
(Business Ethics)
ตลาด/ลูกค้า
CSR
ความรับผิดชอบของ
ธุรกิจต่อสังคม
สังคม
การกากับกิจการที่ดี
Corporate Governance
ธุรกิจ
Corporate Citizenship
การเป็ นพลเมืองที่ดี
การจัดการที่ยั ่งยืน
Corporate Sustainability
6
เศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการที่ยั ่งยืน
สังคม
สิ่งแวดล้อม
7
ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม
(Corporate Social Responsibility CSR)
ควำมรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม หมำยถึงกำรดำเนิ นงำน
กิจกรรมภำยในและภำยนอกองค์กร ที่คำนึ งถึงผลกระทบต่อสังคม
ทั้งระยะสั้นและระยำว ด้ำนกำรใช้ทรัพยำกรที่มีอยูท่ ้งั ในองค์กรหรือ
ทรัพยำกรภำยนอกองค์กรในอันที่จะอยูร่ วมกันในสังคมได้อย่ำงยัง่ ยืน
ปกติสุข (www.sedb.org)
8
คาว่ า “กิจกรรม” ในความหมายข้ างต้ น หมายรวมถึง การคิด การพูด
และการกระทา ซึ่ งครอบคลุมตั้งแต่ การวางแผน การตัดสิ นใจ การ
สื่ อ สารประชาสั ม พัน ธ์ การบริ ห ารจั ด การ และการด าเนิ น งานของ
องค์ กร สั งคมใกล้ คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ย วข้ องใกล้ ชิด กับองค์ กรโดยตรง
ได้ แก่ ลูกค้ า คู่ค้า ครอบครัวของพนักงาน ชุ มชนที่องค์ กรตั้งอยู่ เป็ น
ต้ น สั งคมไกล คือ ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับองค์ กรโดยอ้ อม ได้ แก่ คู่แข่ งขันทาง
ธุรกิจ ประชาชนทัว่ ไป เป็ นต้ น
9
CSR
สั งคม
- พร้อมที่จะให้สำธำรณชน
ตรวจสอบ
- ควำมเป็ นอยูท่ ี่ดีของ
พนักงำน
- คุณภำพชีวติ
- จรรยำบรรณทำงธุรกิจ
สิ่ งแวดล้ อม
- กำรควบคุมมลภำวะ
- กำรลดกำรใช้ทรัพยำกร
- ผลกระทบธุรกิจต่อ
สิ่งแวดล้อม
- กำรลดของเสีย
- สุขอนำมัยและควำม
ปลอดภัย
เศรษฐกิจ
- Fiduciary Duty
ระมัดระวัง
ควำมซื่อสัตย์
กฎข้อบังคับ
กำรเปิ ดเผยข้อมูล
- ผลกำรดำเนิ นงำนที่สร้ำง
คุณค่ำให้ผถู้ ือหุน้
10
ระดับของการมีความรับผิดชอบต่อสังคม
เครื่องมือ
สร้ างคุณค่ า
ลดอันตราย
ดาเนินการข้ อกฎหมาย
• กลยุทธ์ ทเี่ ชื่อมโยงกับ CSR การมีส่วนร่ วม
ชุ มชน การลงทุนทางสั งคม
• การตรวจสอบและจัดทารายงานด้ านสั งคมและ
สิ่ งแวดล้ อม จรรยาบรรณทางธุรกิจ การจัด
ECO-Efficiency
• ตรวจสอบและดาเนินการตามข้ อบังคับทางกฎหมาย
ไม่ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย
11
ขั้นที่ 1
ไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
· ดาเนินการที่ขดั ต่อกฎหมาย
· ละเลยกฎเกณฑ์ขอ้ บังคับ
ขั้นที่ 2
ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
·
·
·
·
·
·
·
ขั้นที่ 3
ปฎิบตั ดิ ีกว่าที่กฎหมาย
กาหนด
ขั้นที่ 4
กลยุทธ์แบบบูรณาการ
ขั้นที่ 5
มีเป้าหมาย
·
·
·
·
·
ปฏิบตั ิตามกฎข้อบังคับ
ดาเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมขั้นต ่า
การทา CSR เพียงแต่พูด
ดูแลสิ่งแวดล้อมที่ปลายเหตุ
จากการแก้ไขเป็ นการป้องกัน
ดาเนินการด้าน ECO-Efficiency , กระบวนการผลิตที่สะอาด
ตระหนักถึงการลงทุนเพื่อชุมชน และทาการตลาดเพื่อสังคม เพื่อ
เสริมสร้างภาพลักษณ์
บริษทั มีความตั้งใจจะดาเนินการบูรณาการ การจัดการที่ยั ่งยืนในกลยุทธ์
ธุรกิจ
เสาะแสวงหาโอกาสและลงทุนที่คานึงถึงความเสี่ยง
มีขอ้ ได้เปรียบการแข่งขันจากการมีการดาเนินการที่ยั ่งยืน
พลังผลักดันที่มุ่งมั ่นที่จะปรับปรุงการเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ้นของธุรกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อม
เห็นว่าการจัดการที่ยั ่งยืนเป็ นสิ่งที่ถูกต้องควรทา
12
CSR มี 2 มิติ ดังนี้
มิตภิ ายใน การปฏิบตั ดิ า้ นความรับผิดชอบต่อสังคมภายในจะ
เกี่ยวกับ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์
•
•
•
•
•
•
•
การเรียนรูใ้ นองค์กร
การมอบหมายอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ
การสื่อสาร ข้อมูล
การสมดุลย์ ชีวิตการงาน ครอบครัว
การจัดสรรกาไร
ความปลอดภัย
การสรรหา ไม่มีการกีดกัน
สุขอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
การจัดการผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
13
มิตภิ ายนอก
ชุมชน
ว่าจ้างแรงงานในชุมชน จ่ายภาษี จัดการผลกระทบด้าน
สิ่งแวดล้อมกับชุมชน
ช่วยเหลือสนับสนุนชุมชนด้านการศึกษา วัฒนธรรม การกีฬา
โดยการบริจาค
พันธมิตรกับหุน้ ส่วนทางธุรกิจ ได้แก่ ผูจ้ ดั จาหน่าย ลูกค้า มีการ
ผลิตสินค้าที่ตอบสนองต่อลูกค้าโดยคานึงถึงประสิทธิภาพ มี
จรรยาบรรณและดูแลสิ่งแวดล้อม
สิทธิมนุษยชน
ดาเนินการตามมาตรฐานแรงงาน กฎหมาย และนโยบายการค้า
การไม่มีคอร์รปั ชั ่น
ภาคธุรกิจต้องดาเนินการโดยมีจติ สานึกด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
สิ่งแวดล้อมภายนอก
14
ปั จจัยผลักดันที่ทาให้มีการจัดทารายงาน CSR
1. การเปิ ดเผยข้อมูล
ตำมแนวคิดของ WBCSO ถ้ำธุรกิจเชื่อในตลำดเสรีที่ผบู้ ริโภคมีทำงเลือก ดังนั้น
ธุรกิจจะต้องรับควำมรับผิดชอบ สำหรับกำรให้ขอ้ มูลแก่ผบู้ ริโภคเกี่ยวกับสังคม
และสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อกำรตัดสินใจเลือกของผูบ้ ริโภค
2. การใช้ขอ้ มูลของภาครัฐ
รัฐบำลหลำยประเทศได้ปรับเปลี่ยนโดยให้ภำคธุรกิจเปิ ดเผยข้อมูลแก่สำธำรณะ
เพิ่มเติมจำกระบบกำรสัง่ กำรและควบคุม เป็ นกลยุทธ์ที่ภำครัฐต้องกำรดูแล
จัดกำรด้ำนสิ่งแวดล้อมและสังคม
3. ผูบ้ ริโภค
ควำมต้องกำรของผูบ้ ริโภคเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
15
4. นักลงทุน
นักลงทุนต้องกำรทรำบข้อมูลด้ำนควำมเสี่ยงและกำรรับผิดชอบ ทั้งด้ำนกำรเงิน
และไม่ใช่กำรเงิน
มีผลกำรศึกษำวิจยั พบว่ำผลสำเร็จด้ำนกำรเงินมีควำมสัมพันธ์กบั กำรจัดกำร
ด้ำนสิ่งแวดล้อม
5. ความสนใจของผูป้ ระกอบการในการจัดทารายงาน
เป็ นกำรพัฒนำและเรียนรูข้ ององค์กร
1993
1996
1999
2002
35%
45%
17%
24%
28%
15%
18%
27%
Non-Financial Reporting by the Global Fortune Top 250
Non-Financial Reporting by the Top 100 Companies in 19
Countries
Independent Verification of Reports
13%
16
ประโยชน์ของ CSR
1. สร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันที่ยงั ่ ยืน
•
•
•
•
•
สร้ำงชื่อเสียงและภำพลักษณ์ที่ดี
กำรดำเนิ นงำนมีประสิทธิภำพ
ผลกำรดำเนิ นงำนทำงกำรเงินดีขึ้น
เพิ่มยอดขำยและควำมจงรักภักดีของลูกค้ำ
เพิ่มควำมสำมำรถในกำรดึงดูดและรักษำบุคลำกร
2. สร้ำงโอกำสทำงธุรกิจใหม่
3. ดึงดูดและรักษำนักลงทุนที่มีคุณภำพ ซึ่งก่อให้เกิด
•
•
•
สร้ำงคุณค่ำให้กบั ผูถ้ ือหุน้
ลดต้นทุนทำงกำรเงิน
ลดควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน
17
CSR สาหรับ SMEs
“IT’s the right thing to do”
ปั ญหาของ SMEs ในการทา CSR
1. ค่ำใช้จำ่ ยในกำรดำเนิ นกำร CSR สูง เป็ นค่ำใช้จำ่ ยในกำรดำเนิ นตำมกฎระเบียบตำม
กฎหมำย ตำมแนวคิดของผูป้ ระกอบกำร
2. SMEs ไม่มีอำนำจต่อรองกับผูจ้ ดั จำหน่ ำยวัตถุดิบที่จะจัดหำ จำหน่ ำยสินค้ำที่เป็ นมิตร
ต่อสิ่ง
แวดล้อมและสังคม
3. ลูกค้ำที่ซื้อสินค้ำไม่ได้มีจิตสำนึ กในกำรซื้ อผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
4. กำรสื่อสำรให้บุคลำกรในองค์กรให้มีจิตสำนึ ก ด้ำน CSR
แนวทางของ SMEs
1. ค้นหำควำมคำดหวังและประโยชน์ร่วมกันกับกลุ่มผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
2. ให้บุคลำกรมีส่วนร่วมในกำรหำแนวทำงด้ำน CSR
3. ประชำสัมพันธ์กำรดำเนิ นกำรด้ำน CSR
4. เลือกกำรทำ CSR ที่มีค่ำใช้จำ่ ยตำ่
18
จรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Conduct)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
ข้อพึงปฏิบตั ิต่อลูกค้ำ
ข้อพึงปฏิบตั ิต่อคู่คำ้
ข้อพึงปฏิบตั ิต่อพันธมิตรธุรกิจธนำคำร
ข้อพึงปฏิบตั ิต่อคู่แข่ง
ข้อพึงปฏิบตั ิต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ข้อพึงปฏิบตั ิในฐำนะผูบ้ งั คับบัญชำ
ข้อพึงปฏิบตั ิในฐำนะผูบ้ งั คับบัญชำ
ข้อพึงปฏิบตั ิในฐำนะเพื่อนร่วมงำน
ข้อพึงปฏิบตั ิในกำรทำงำนและควำมประพฤติส่วนตัว
ข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับข้อมูล
ข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับกำรใช้ขอ้ มูลภำยในเพื่อกำรซื้ อขำยหลักทรัพย์
ข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับกำรขัดแย้งทำงผลประโยชน์
ข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับกำรรับประโยชน์อื่นใด
กำรรักษำทรัพย์สินของธนำคำร
ข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับเทคโนโลยีสำรสนเทศ
19
1. ข้อพึงปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้า
1.1 ให้บริ การลูกค้าอย่างเต็มใจ เต็มกาลังความสามารถด้วยความเสมอ
ภาค เป็ นธรรม พร้อมให้คาแนะนาช่วยเหลือ มีน้ าใจ และใช้กริ ยา
วาจาที่สุภาพอ่อนโยน
1.2 พร้อมรับฟังปัญหา พยายามค้นหาสาเหตุ และวิธีการแก้ไขปัญหาให้
ลูกค้าได้อย่างดี
1.3 ห้ามเปิ ดเผยข้อมูลหรื อความลับของลูกค้า เว้นแต่กฎหมายกาหนดให้
ต้องเปิ ดเผยข้อมูล หรื อได้รับอนุญาตเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากลูกค้า
20
2. ข้อพึงปฏิบตั ติ อ่ คู่คา้
2.1 พนักงำนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรซื้ อ.ขำยทรัพย์สิน สินค้ำ และบริกำรทุกชนิ ด
ของธนำคำร ต้องยึดหลักผลประโยชน์สงู สุดของธนำคำรโดยไม่คำนึ งถึง
ผลประโยชน์ส่วนตนหรือของ พวกพ้อง ทั้งนี้ ต้องให้ขอ้ มูลที่ถกู ต้อง อยูบ่ น
พื้ นฐำนของควำมจริง ไม่ทำให้ผซู้ ื้ อหรือผูข้ ำยทรัพย์สิน สินค้ำและบริกำร
เข้ำใจ
ผิดพลำด หรือได้รบั ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน
2.2 หลีกเลี่ยงกำรรับของกำนัล สินน้ ำใจ กำรรับเชิญไปในงำนเลี้ ยงประเภท
สังสรรค์ หรืองำนเลี้ ยงรับรองจำกผูซ้ ื้ อหรือผูข้ ำยทรัพย์สิน สินค้ำและบริกำรที่
จัดขึ้ นให้เป็ นกำรส่วนตัว หรือหมูค่ ณะอย่ำงเฉพำะเจำะจง รวมถึงกำรรับเชิญ
ไป
ดูงำนที่ผซู้ ื้ อหรือผูข้ ำย สินค้ำและบริกำรเสนอตัวเป็ นผูอ้ อกค่ำใช้จำ่ ยที่
เกี่ยวข้องให้ ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงข้อครหำต่ำงๆ ที่อำจจะมีขึ้น และป้องกันมิให้
เกิดควำมโน้มเอียงที่จะช่วยเหลือตอบแทนฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่ งเป็ นพิเศษในโอกำส 21
3. ข้อพึงปฏิบตั ิตอ่ พันธมิตรธุรกิจธนาคาร
3.1 ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงที่ธนำคำรทำพันธกิจร่วมกับพันธมิตรทำงธุรกิจ
3.2 ให้ควำมช่วยเหลือในลักษณะเอื้ ออำนวยผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน
เพื่อผลทำงธุรกิจโดยรวม
22
4. ข้อพึงปฏิบตั ิตอ่ คู่แข่ง
4.1 ไม่ใส่รำ้ ยป้ำยสี กลัน่ แกล้ง หรือไม่บิดเบือนข้อเท็จจริงของคู่แข่ง
4.2 หลีกเลี่ยงกำรตกลงหรือ กำรพูดคุยถกเถียงกับพนักงำนของหน่ วย
งำนหรือสถำบันกำรเงินอื่น ๆ เกี่ยวกับตำแหน่ งที่ต้งั ภูมิประเทศ
กำรตลำด กำรจัดสรรลูกค้ำ อัตรำดอกเบี้ ย ค่ำธรรมเนี ยมต่ำง ๆ
รวมถึงผลิตภัณฑ์บริกำร หรือแผนธุรกิจต่ำง ๆ ซึ่งอำจส่งผลกระทบ
ต่อกำรแข่งขันทำงธุรกิจของธนำคำร
23
5. ข้อพึงปฏิบตั ิตอ่ สังคมและสิ่งแวดล้อม
5.1 พึงปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดี และสำมำรถอยูร่ ่วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้
อย่ำงมีเกียรติ
5.2 ประพฤติตนโดยคำนึ งถึงหน้ำที่ ควำมรับผิดชอบต่อสังคม และ
ประเทศชำติ
5.3 ให้ควำมสนับสนุ นกิจกรรมสำธำรณะที่เป็ นประโยชน์ ร่วมพัฒนำ
สังคมชุมชน สิ่งแวดล้อมตลอดจนมุง่ สร้ำงสรรค์ และอนุ รกั ษ์
ทรัพยำกรธรรมชำติ
5.4 ให้ควำมร่วมมือสนับสนุ นนโยบำยของรัฐบำลเพื่อผลประโยชน์ของ
ประเทศ
24
6. ข้อพึงปฏิบตั ิในฐานะผูบ้ งั คับบัญชา
6.1 เป็ นผูน้ ำและแบบอย่ำงที่ดี มีควำมยุติธรรม และมีวนิ ัย
6.2 ส่งเสริมและสนับสนุ นให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชำปฏิบตั ิงำนด้วยควำม
ซื่อสัตย์สุจริต มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์
6.3 ใช้วิจำรณญำณในกำรตัดสินใจอย่ำงรอบคอบ
6.4 สอนงำน แนะนำงำน ถ่ำยทอดควำมรูแ้ ละประสบกำรณ์แก่ใต้
บังคับบัญชำ ควบคุมดูแลให้สำมำรถปฏิบตั ิงำนได้สำเร็จ
6.5 รับฟั งปั ญหำ ตลอดจนให้ขอ้ คิดเห็นและปรึกษำด้วยควำมจริงใจ
มีเหตุผล
25
7. ข้อพึงปฏิบตั ิในฐานะผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
7.1 เชื่อฟั งและปฏิบตั ิตำมคำสัง่ ของผูบ้ งั คับบัญชำที่ชอบด้วยระเบียบ
และข้อปฏิบตั ิของธนำคำร
7.2 เสนอควำมคิดเห็นเพื่อปรับปรุงระบบงำนด้วยควำมสุจริตใจ และ
ยอมรับฟั งควำมคิดเห็นของผูอ้ ื่น
7.3 มีควำมเต็มใจที่จะปฏิบตั ิงำนเพิ่มขึ้ นตำมที่ผบู้ งั คับบัญชำมอบหมำย
7.4 มีวินัย ให้เกียรติผบู้ งั คับบัญชำ ไม่แสดงอำกำรก้ำวร้ำว กระด้ำง
กระเดื่อง
26
8. ข้อพึงปฏิบตั ิในฐานะเพื่อนร่วมงาน
8.1 ให้ความช่วยเหลือเพื่อนร่ วมงาน ด้วยความเต็มใจและเต็มความ
สามารถ
8.2 ปฏิบตั ิต่อเพื่อนร่ วมงานด้วยความสุ ภาพ ให้เกียรติ
8.3 มีความสามัคคี และยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่นเสมอ
8.4 มีความอดทน อดกลั้น มีวินยั และเสี ยสละเพื่อส่ วนรวม
8.5 ละเว้นการใส่ ร้าย ป้ ายสี และกระทาการในลักษณะของการแข่งขัน
กันเอง
27
9. ข้อพึงปฏิบตั ใิ นการทางานและความประพฤติสว่ นตัว
9.1 ทุ่มเททั้งกาลังกาย กาลังใจให้กบั งานในหน้าที่และความรับผิดชอบ อุทิศตนและมุ่งมัน่ ในการ
ทางาน
9.2 หมัน่ ฝึ กฝนพัฒนาตนเอง เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ เพื่อนามาพัฒนางานให้ดียงิ่ ขึ้น
9.3 ต้องศึกษาทาความเข้าใจและปฏิบตั ิตามนโยบาย ระเบียบ คาสัง่ ตลอดจนหนังสื อเวียนของ
ธนาคาร
9.4 มีวนิ ยั ประพฤติตนให้เหมาะสมกับการเป็ นพนักงานของธนาคาร ที่มีความน่าเชื่อถือ
ทั้งด้านกิริยามารยาท การแต่งกาย บุคลิกภาพ และการวางตัว ไม่ประพฤติตนในทางเสื่ อมเสี ยชื่อ
เสี ยงทั้งต่อตนเองและธนาคาร เช่น การเที่ยวเตร่ เล่นการพนัน ใช้จ่ายฟุ่ มเฟื อย หรื อมีหนี้สินล้น
พ้นตัว การทะเลาะวิวาท เป็ นต้น
9.5 ห้ามพนักงานครอบครอง หรื อใช้สารเสพติด และดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในที่ทางานหรื อมา
ทางานในขณะที่ได้รับอิทธิพลจากการออกฤทธิ์ของสารเสพติด หรื อจากเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์
9.6 ห้ามคุกคามทางวาจา เช่น ใส่ ความ บิดเบือนข้อเท็จจริ งทาให้เสี ยชื่อเสี ยง หรื อคุกคาม
ทางกาย เช่น ข่มขู่ทาร้ายร่ างกาย หรื อคุกคามทางเพศ หรื อการคุกคามอื่นที่มองเห็นได้
เช่น สื่ อข้อความก้าวร้าว แสดงอากัปกริ ยาหรื อรู ปภาพที่ก่อให้เกิดความขุ่นเคือง
9.7 ร่ วมมือกันทางานเป็ นทีม และสร้างความสามัคคี กลมเกลียวในองค์กร
9.8 ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนร่ วมงาน และผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
28
10. ข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับข้อมูล
10.1 ข้อมูลของธนาคารทุกประเภทต้องเป็ นจริ งและถูกต้อง โดยพนักงานต้อง
รับผิดชอบร่ วมกันบันทึกข้อมูลและจัดทารายงานให้ถกู ต้องและทันต่อเวลา
ตลอดจนอยูบ่ นบรรทัดฐานของมาตรฐานที่กาหนดอย่างโปร่ งใส
10.2 ไม่เปิ ดเผยข้อมูลที่เป็ นความลับของธนาคาร ลูกค้า ผูซ้ ้ื อหรื อผูข้ ายสิ นค้าและ
บริ การให้กบั ผูอ้ ื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากกรรมการผูจ้ ดั การ
หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมายเท่านั้น
10.3 กาหนดวิธีควบคุมการจัดทาสา เนา ส่ งโทรสาร และการจัดเก็บข้อมูลอย่าง
เหมาะ สม ปลอดภัย เพื่อป้ องกันมิให้ผไู ้ ม่เกี่ยวข้องเข้าถึงข้อมูลหรื อความลับ
เหล่านั้น นอกจากนี้พึงหลีกเลี่ยงที่จะพูดถึงข้อมูลลับในที่สาธารณะ เช่น ลิฟต์
ห้องโถง ร้านอาหาร ห้องน้ า หรื อบริ การขนส่ งสาธารณะ เป็ นต้น
29
11. ข้อพึงปฏิบตั เิ กี่ยวกับการใช้ขอ้ มูลภายในเพื่อการ
ซื้อขายหลักทรัพย์
11.1 ห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ เช่น หุน้ หุน้ กู้ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อ
หุน้ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ กูข้ องกิจการใด ๆ ที่ยงั ไม่
ประกาศให้สาธารณะได้ทราบ (หรื ออาจเรี ยกว่าเป็ นข้อมูลภายใน)
และห้ามพนักงานซึ่งมีโอกาสรับทราบข้อมูลภายใน ทาการซื้อขาย
หลักทรัพย์ของบริ ษทั เหล่านี้เด็ดขาด โดยจะต้องปกปิ ดข้อมูลนั้น
เป็ นความลับสูงสุ ด
11.2 ห้ามให้ขอ้ มูลภายในแก่บุคคลอื่นซึ่งอาจจะนาไปใช้เป็ นข้อมูลใน
การซื้อขายหลักทรัพย์หรื อส่ งผ่านข้อมูลไปยังผูอ้ ื่นอีกต่อหนึ่ง
เนื่องจากเป็ นการกระทาผิดกฎหมาย
30
12. ข้อพึงปฏิบตั เิ กี่ยวกับการขัดแย้งทางผลประโยชน์
12.1 หลีกเลี่ยงการมีส่วนเกี่ยวข้องทางการเงิน และ/หรื อ ความสัมพันธ์
กับบุคคลภายนอกอื่นๆที่จะส่ งผลให้ธนาคารต้องเสี ยผลประโยชน
12.2 หลีกเลี่ยงการลงทุนส่ วนตัวในบริ ษทั ที่อาจส่ งผลต่อการตัดสิ นใจ
หรื อการดาเนินงานในธนาคาร หากพนักงานมีการลงทุนใน
บริ ษทั ดังกล่าวก่อนที่จะมาทางานกับธนาคารจะต้องรายงาน
กรรมการผูจ้ ดั การหรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมายทราบ
12.3 การดารงตาแหน่งกรรมการ เจ้าหน้าที่ พนักงาน ตัวแทน หรื อที่
ปรึ กษาของบริ ษทั ที่ทาการซื้อขายสิ นค้าหรื อบริ การกับธนาคาร
หรื อบริ ษทั ในเครื อ จะต้องได้รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการ
ธนาคารก่อน
12.4 ห้ามใช้ชื่อ สถานที่ หรื อความสัมพันธ์ของธนาคาร เพื่อผล
ประโยชน์ส่วนตัว
31
13. ข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับการรับประโยชน์อื่นใด
13.1 ห้ามพนักงานรับของกานัล และ / หรื อสิ่ งจูงใจใด ๆ ไม่วา่ จะเป็ นเงินทอง
สิ่ งของบริ การ หรื อผลประโยชน์รูปแบบต่าง ๆ และห้ามมอบหมาย หรื อสั่ง
การให้ผอู ้ ื่นรับของกานัล และ/หรื อสิ่ งจูงใจแทนตนอันอาจมีผลต่อการ
ตัดสิ นใจทางธุรกิจของพนักงานในนามธนาคาร
13.2 เทศกาลอันเป็ นประเพณี นิยม พนักงานอาจรับของขวัญได้ เพื่อรักษาไมตรี
หรื อความสัมพันธ์อนั ดี แต่จะต้องมีมูลค่าไม่เกิน 3,000.- บาท โดยควร
หลีกเลี่ยงกรณี ที่อาจทาให้เกิดภาพลักษณ์ของการเกื้อหนุนหรื อการมีพนั ธะ
ต่อกัน
13.3 ละเว้นการให้ของกานัลแก่ผบู ้ งั คับบัญชา หรื อรับของกานัลจากผูใ้ ต้บงั คับ
บัญชาที่สามารถพิสูจน์ได้วา่ การให้หรื อรับดังกล่าว กระทาเพือ่ หวังผลต่อ
การเลื่อน ชั้น เลื่อนตาแหน่ง หรื อพิจารณาความดีความชอบประจาปี
32
14. การรักษาทรัพย์สินของธนาคาร
14.1 ใช้และรักษาทรัพย์สินของธนาคารให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ไม่นาไปใช้เพื่อ
ประโยชน์ส่วนตนหรื อบุคคลภายนอก และต้องดูแลรักษาทรัพย์สินของ
ธนาคารมิให้สูญหาย หรื อชารุ ดเสี ยหาย หรื อนาไปใช้ในทางที่ผิดตลอดจน
ต้องใส่ ใจปฏิบตั ิตามขั้นตอนของการรักษาความปลอดภัย และการตื่นตัวต่อ
สถานการณ์ที่อาจทาให้ทรัพย์สินของธนาคารเกิดความชารุ ดเสี ยหาย
ทรัพย์สินของธนาคารดังกล่าว ได้แก่ เงินสด เครื่ องมือทางการเงิน เอกสาร
ยานพาหนะ วัสดุอุปกรณ์ ชื่อธนาคาร เครื่ องหมายสัญลักษณ์ต่าง ๆ รวมถึง
ข้อมูลต่าง ๆ ทรัพย์สินทางปัญญา (โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รู ปจาลอง ฯลฯ)
และบริ การต่างๆ
14.2 ต้องเปิ ดเผยและมอบผลประโยชน์ในการคิดค้นและพัฒนา ที่จดั ทาขึ้น
ในระหว่างเป็ นพนักงาของธนาคารให้แก่ธนาคาร เมื่อพนักงานพ้นสภาพ
การเป็ นพนักงาน สิ ทธิ ในทรัพย์สินและข้อมูลที่เกิดขึ้นหรื อได้มาระหว่างการ
ทางานกับธนาคาร ให้ถือเป็ นทรัพย์สินของธนาคารเท่านั้น จึงห้ามกระทา
การคัดลอก ขายหรื อเผยแพร่ ขอ้ มูล ซอฟท์แวร์ และทรัพย์สินทางปัญญาใน
รู ปแบบอื่น ๆ
33
15. ข้อพึงปฏิบตั เิ กี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
15.1 ไม่ติดตั้งและคัดลอกซอฟท์แวร์ ใด ๆ ที่ไม่ใช่ซอฟท์แวร์ ที่ธนาคารจัดไว้ให้ลง
ในเครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ของธนาคาร หากมีความ
จาเป็ นในการปฏิบตั ิงาน ต้องขออนุมตั ิจากธนาคารก่อน
15.2 ห้ามเข้าถึงข้อมูลธนาคารเพื่อคัดลอก เผยแพร่ ลบทิ้ง ทาลาย หรื อ
เปลี่ยนแปลงข้อมูลหรื อกระทาการอื่นใดที่ทาให้เกิดความเสี ยหายโดยไม่ได้
รับอนุญาต
15.3 ห้ามใช้ระบบอินทราเน็ต อินเตอร์เน็ต และอิเล็กทรอนิกส์เมล์ ในธุรกิจ
ส่ วนตัวของตนเองหรื อผูอ้ ื่น
15.3 หลีกเลี่ยงการใช้เวบไซต์ที่ธนาคารถือว่าผิดกฎหมาย หรื อละเมิดศีลธรรม
โดยไม่เผยแพร่ ขอ้ มูลของเวบไซต์ดงั กล่าวต่อผูอ้ ื่น และงดเว้นที่จะส่ งข้อความ
เผยแพร่ ทางอินทราเน็ต อินเตอร์เนต ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ก่อให้เกิดอุปสรรค
ในการปฏิบตั ิงานของธนาคาร หรื อฝ่ าฝื นนโยบายของธนาคาร ที่เป็ นการ
ละเมิดศีลธรรม และผิดกฎหมาย
15.5 ห้ามกระทาการใด ๆ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะนาไปสู่ การกระทา
ทุจริ ต หรื อเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ที่มิชอบโดยให้ใช้ในธุรกิจของธนาคารเท่านั้น
34
การกากับกิจการที่ดี
(Corporate Governance – CG)
กำรกำกับกิจกำรที่ดีจะเกี่ยวข้องกับกำรบริหำรจัดกำรในองค์กร
เพื่อให้แน่ ใจว่ำมีควำมสมดุลในส่วนได้เสียของทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้อง
(Stakeholder)
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
สิทธิของผูถ้ ือหุน้
การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ ือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน
บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสีย
การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่งใส
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
35
ดังนั้นถ้าใช้แนวความคิดข้างต้นการบริหารจัดการที่ดีหรือ
ธรรมาภิบาลจะประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้
1. ความโปร่ งใส (transparency) ซึ่ งหมายถึง การตัดสิ นใจและการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ
ต้องสามารถเปิ ดเผยให้สาธารณชนทราบได้ ไม่มีลกั ษณะลับลมคมใน งานบางอย่างของ
หน่วยงานของรัฐต้องทาเป็ นความลับ แต่งานส่ วนใหญ่ตอ้ งเปิ ดเผยพร้อมที่จะให้ประชาชน
ได้รับทราบและตรวจสอบ
2. ความซื่อสัตย์สุจริ ต (honesty) เรื่ องนี้คงเป็ นที่เข้าใจกันดีอยูแ่ ล้ว หมายความรวมถึงความซื่อสัตย์
สุ จริ ตที่จะต้องปฏิบตั ิให้ถูกต้องตามกฎระเบียบข้อบังคับและตามขนบธรรมเนียมประเพณี และ
ศีลธรรม
3. ความรับผิดชอบ (responsibility) อันหมายถึง ความตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องปฎิบตั ิวา่ มี
ขอบเขตมากน้อยเพียงใดและต้องรับผิดถ้ามีความผิดพลาดเกิดขึ้น
4. ความสามารถที่จะอธิบายได้ (accountability) ต่อผูท้ ี่ตนต้องอยูใ่ นความดูแลหรื อควบคุมหรื อต่อ
สาธารณชน จะเห็นได้วา่ เรื่ องนี้เกี่ยวข้องกับความโปร่ งใส ความซื่ อสัตย์ สุ จริ ต และความ
รับผิดชอบ เมื่อมีเรื่ องราวๆ เกิดขึ้นหรื อเมื่อหน่วยงานของรัฐตัดสิ นใจในนโยบายใดนโยบาย
หนึ่งจะต้องสามารถตอบข้อซักถามหรื ออธิบายต่อผูค้ วบคุมหรื อประชาชนทัว่ ไปถ้าการทางาน
ไม่โปร่ งใสไม่ซื่อสัตย์และไม่ยอมรับผิดชอบคงจะอธิบายต่อผูอ้ ื่นได้ยาก
5. การมีหลักนิติธรรม (rule of law) การตัดสิ นใจและการดาเนินงาน ต้องเป็ นไปตามบทบัญญัติ
ของกฎหมายจะทาตามอาเภอใจของผูบ้ ริ หารหรื อของผูป้ กครองไม่ได้
6. หลักคุณธรรม (morality) อาจมีบางเรื่ องที่กฎหมายครอบคลุมไม่ถึงจึงต้องอาศัยหลักของ
คุณธรรม คือ การดาเนินงานไม่ควรคานึงถึงความถูกต้องตามกฎหมายเท่านั้น แต่ตอ้ งคานึงถึง
ความถูกต้องตามหลักคุณธรรมด้วย
36
ในส่วนของธรรมำภิบำลของภำคเอกชนหรือระบบกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดีซึ่งภำษำ
อังกฤษใช้คำว่ำ good corporate governance นั้นมีลกั ษณะเช่นเดียวกันกับ
ธรรมำภิบำลในภำครัฐ คือ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
มีความรับผิดชอบต่อผูถ้ ือหุ น้ และผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมอื่น ซึ่ งรวมทั้งลูกค้าและ
ชุมชนที่บริ ษทั หรื อที่กิจการนั้นๆ ตั้งอยู่
มีความโปร่ งใสในการบริ หารจัดการ รวมทั้งความโปร่ งใสในการตัดสิ นใจและ
การเปิ ดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ
มีความมุ่งมัน่ สู่ ความเป็ นเลิศ
เน้นการสร้างมูลค่าและผลตอบแทนระยะยาว
คานึงถึงความซื่ อสัตย์สุจริ ตรวมทั้งต่อต้านการให้สินบนเจ้าหน้าที่ของรัฐ
คานึงถึงหลักคุณธรรมและจริ ยธรรมและควรมีการจัดทาประมวลจริ ยธรรมทาง
ธุรกิจให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
ปรับปรุ งกลไกการตรวจสอบให้มีประสิ ทธิ ภาพ เช่น ระบบบัญชี ต้องเป็ น
มาตรฐานสากล
37
ตารางแสดงข้อแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย
1.
2.
3.
4.
5.
จริยธรรม
เป็ นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรม
ระดับสูงของมนุ ษย์
ไม่มีกำรลงโทษตำมกฎหมำยแต่
ลงโทษโดยสังคม
เป็ นกำรควบคุมพฤติกรรมจำก
ภำยใน
เป็ นข้อบังคบจำกสังคมที่ไม่มีเป็ น
ลำยลักษณ์อกั ษร
เป็ นเรื่องของจิตสำนึ กที่ทำเพรำะ
เห็นว่ำถูกต้องและภูมิใจที่ได้ทำ
กฎหมาย
1. เป็ นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรมระดับ
ตำ่ ของมนุ ษย์
2. มีบทลงโทษที่ชดั เจน
3. เป็ นกำรควบคุมพฤติกรรมจำก
ภำยนอก
4. เป็ นข้อบังคับจำกรัฐที่เป็ นลำยลักษณ์
อักษร
5. เป็ นบทบัญญัติวำ่ ด้วยต้องทำหรือต้อง
ละเว้นไม่สำมำรถหลีกเลี่ยงได้
38
โดยดัชนีช้ ีวัดความสาเร็จในการจัดการที่ยั ่งยืน 3 ด้านได้แก่
ด้ านเศรษฐกิจพอเพียง
• ความพึงพอใจของลูกค้า
• ความพึงพอใจของผูจ้ ดั จาหน่าย
• ความพึงพอใจของพนักงาน
• ภาพลักษณ์ของธุรกิจ
• อัตราการใช้งานของโรงงาน
• ผลตอบแทนจากการลงทุน
• ความเสี่ ยงของธุรกิจ
ด้ านสิ่ งแวดล้ อม
• การใช้ทรัพยากร
• มลภาวะ
• การปฏิบตั ิตามข้อบังคับตามกฎหมาย
• อัตราของเสี ย
ด้ านสั งคม
• ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์และบริ การที่จะมีผลกระทบ
• ความรับผิดชอบต่อสังคม
• การมีส่วนช่วยเหลือพัฒนาสังคม/ชุมชน
39