seminar_20 Sep_2011 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Download Report

Transcript seminar_20 Sep_2011 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นโยบายอุตสาหกรรมภายใต้ทกั ษิ โณมิกส์
1






บทนำ
กำรทบทวนกรอบแนวคิดทำงเศรษฐศำสตร์ในกำรกำหนดนโยบำยอุตสำหกรรม
โครงสร้ำงของภำคอุตสำหกรรมไทย รวมทัง้ ปัญหำและแนวทำงแก้ไขทีผ่ ่ำนมำ
กำรทบทวนนโยบำยอุตสำหกรรมในช่วงรัฐบำลทักษิณ (พ.ศ. 2544-2549)
รวมทัง้ ควำมล ้มเหลวบำงประกำรในสมัยรัฐบำลทักษิณ
นโยบำยอุตสำหกรรมหลังยุครัฐบำลทักษิณ
ควำมท้ำทำยของภำคอุตสำหกรรมไทยในอนำคตและข้อเสนอแนะทำงนโยบำย
2

ภาคอุตสาหกรรมของไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมจากระบบทุนนิ ยมโดยรัฐ
เป็ นระบบเศรษฐกิจเสรี พัฒนาจากการผลิตเพื่อทดแทนการนาเข้า (Import
Substitution) สู่การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยส่งเสริมการส่งออก(Export
Promotion) ในช่วงปี พ.ศ.2503-12 การพัฒนาอุตสาหกรรมเน้นกลยุทธ์การ
ผลิตเพื่อทดแทนการนาเข้า ต่อมาตั้งแต่แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.251519) จึงเน้นนโยบายส่งเสริมการส่งออก
 การลงทุนจากต่างประเทศ ตั้งแต่ปี 2530 เพิ่มการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม
มากขึ้ น
 มีการพัฒนาอุตสาหกรรมตามชายฝัง่ ทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) มี
การกระจายอุตสาหกรรมสู่ภมู ิภาค มีการกาหนดอุตสาหกรรมเป้าหมาย มี
การส่งเสริมอุตสาหกรรมสนับสนุ น การส่งเสริมผูป้ ระกอบการ SMEs มีการ
ส่งเสริม cluster อุตสาหกรรม
3


นโยบายอุตสาหกรรมของไทยมุ่งเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็ นเป้าหมายหลัก
ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาโครงสร้างการผลิตและยกระดับการพัฒนา
อุตสาหกรรมภายในประเทศเพื่อลดการพึ่งพาการนาเข้าอย่างจริงจัง
 นโยบายอุตสาหกรรมของไทย โดยเฉพาะนโยบายส่งเสริมการลงทุนที่ผ่านมาไม่มี
ยุทธศาสตร์เชิงรุกและรับที่ชดั เจน
 นโยบายอุตสาหกรรมแบบไทยๆ มักไม่เจาะจงอุตสาหกรรม
 วิกฤติเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 ทาให้ประเทศไทยหันมาดาเนิ นนโยบายการปรับ
โครงสร้างอุตสาหกรรม ให้มีผลิตภาพและความสามารถในการแข่งขันที่สงู ขึ้ น
และปรับตัวกลายเป็ นอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อการส่งออก (Export-oriented
Industry)
4
ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
Electrical Machinery
Computer-Parts,
Accessories
Seafood
Telecom Equipment
Apparel
Tourism
GDP Mil Baht
10,000,000
8,000,000
What’s Next???
Agri…
Manuf……
Service
Clothing
Electrical machinery
Seafood
Other Machinery
Rice & Rubber
6,000,000
Rice
Fruit & Vegetable
Non-ferrous Metal
Crude rubber
Electrical machinery
4,000,000
2,000,000
0
Rice
Crude Rubber
Ores & Metal Scrap
Textile Fiber
Fruit & Vegetable
Rice
Crude Rubber
Fruit & Vegetable
Non-ferrous Metal
Textile Fiber
1960
1970
1980
1990
2000
2010
Key Policies/Drivers:
Import Substitution, Export-led growth, FDI
Innovation + Knowledge
5




รัฐบำลทักษิณ (พ.ศ. 2544-2549) ได้ดำเนินยุทธศำสตร์พฒั นำประเทศภำยใต้ทกั ษิโณมิกส์
(Thaksinomics) ทีม่ สี ำระสำคัญ คือ นโยบำยประชำนิยม (People-centered Policy Menu) และ
ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำทวิวถิ ี (Dual-Track Development Strategy) ซึง่ แบ่งออกได้ 2 วิถี ได้แก่
ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำแบบเปิ ด (Outward Orientation) และกำรพัฒนำในระดับรำกหญ้ำ (Grass-Root
Development)
ด้ำนกำรพัฒนำอุตสำหกรรมรัฐบำลทักษิณมุง่ เน้นเรื่องของกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของ
ภำคอุตสำหกรรมมีนโยบำยยกระดับอุตสำหกรรม เช่น กำรพัฒนำและสนับสนุน SMEs กำรเพิม่ ขีด
ควำมสำมำรถด้ำนเทคโนโลยีและคุณภำพแรงงำน กำรกำหนดอุตสำหกรรมเป้ ำหมำยและกำรพัฒนำใน
รูปแบบคลัสเตอร์ รวมทัง้ กำรปฏิรูประบบรำชกำร
ในยุคทักษิณแนวทำงกำรพัฒนำอุตสำหกรรมมีควำมชัดเจนมำกกว่ำในอดีต แต่กำรยกระดับขีด
ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันก็ยงั ไม่ประสบควำมสำเร็จเท่ำทีค่ วร เนื่องจำกๆข้อจำกัดของภำครำชกำรไทย
และกำรขำดแรงผลักดันทำงด้ำนกำรเมือง (Laurids, 2004)
Question: รัฐบาลใหม่น้ ี จะสานต่อนโยบายอุตสาหกรรมของอดีตนายกทักษิ ณอย่างไร และจะสามารถ
ก้าวข้ามอุปสรรคในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยได้อย่างไร ?
6


เศรษฐศำสตร์กำรพัฒนำ
กำรทำให้เป็ นเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (industrialization) และกำรพัฒนำอุตสำหกรรม
(industrial development)
 นโยบำยอุตสำหกรรม (industrial policy) หมำยถึง แนวทำงดำเนินกำรในด้ำนต่ำง ๆ เพือ่ ทำ
ให้ภำคอุตสำหกรรมหรืออุตสำหกรรมใดอุตสำหกรรมหนึ่งภำยในประเทศ มีควำมเจริญเติบโต
(growth) และพัฒนำ (development)
 ควำมล้มเหลวของตลำด (market failure) vs. ควำมล้มเหลวของรัฐ (government failure)
 “ฉันทมติแห่งวอชิงตัน” (Washington Consensus) และกำรกลับมำของนโยบำย
อุตสำหกรรม
7
1. นักเศรษฐศาสตร์สานักคลาสสิค

กำรแทรกแซงของรัฐควรเกิดในกรณีทก่ี ลไกตลำดล้มเหลว กำรใช้งบของรัฐต้องใช้กรณีเป็ นสินค้ำ
สำธำรณะ (public goods) หรือเสริมกำรทำงำนของตลำดกรณีเกิดควำมล้มเหลวของตลำดไม่ใช้ใน
กิจกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์ส่วนตัวของเอกชน บทบำทของรัฐบำลควรเป็ นตัวกระตุน้ และผู ส้ ร้ำงควำมท้ำ
ทำย (catalyst and challenger)
2. สานักนิ ยมปรับโครงสร้าง (structuralist)

มีควำมเชื่อว่ำ กำรพัฒนำเศรษฐกิจเป็ นกระบวนกำรเปลีย่ นโฉมโครงสร้ำงเศรษฐกิจ โดยมี
ภำคอุตสำหกรรมเป็ นกุญแจสำคัญในกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ไม่เชื่อถือบทบำทของกลไกตลำดหรือกลไก
รำคำในกำรจัดสรรทรัพยำกร แต่เชื่อว่ำกำรปรับโครงสร้ำงกำรผลิตและแก้ไขปัญหำกำรจัดสรร
ทรัพยำกรในประเทศกำลังพัฒนำ จำเป็ นต้องอำศัยกำรแทรกแซงของรัฐบำลโดยกำรปรับโครงสร้ำง
กำรค้ำมีแนวโน้มทีจ่ ะลดควำมสำคัญของสินค้ำส่งออกขัน้ ปฐมและหันมำส่งเสริมบทบำทของ
ภำคอุตสำหกรรม สำนักนิยมปรับโครงสร้ำงจึงเสนอแนวทำงทีป่ กป้ องคุม้ ครองอุตสำหกรรม และกำร
ดำเนินกลยุทธ์กำรพัฒนำอุตสำหกรรมเพือ่ ทดแทนกำรนำเข้ำ (import substitution
industrialization) เพือ่ พัฒนำอุตสำหกรรมภำยในประเทศก่อนไปสู่ขนั้ กำรพัฒนำต่อไป
8



“สำนักนิ ยมปรับโครงสร้ำงใหม่” (New Structural Economics)
โดยแนวคิดนี้จะเชื่อในบทบำทของรัฐในกำรพัฒนำอุตสำหกรรม แต่ประยุกต์ใช้วธิ กี ำรทำงเศรษฐกิจนีโอคลำสสิค
เพือ่ ให้เข้ำใจโครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจกำรเปลีย่ นแปลงในกำรพัฒนำ กล่ำวคือ เชื่อว่ำ โครงสร้ำงอุตสำหกรรม
เป็ นปัจจัยภำยใน (endogenous) ของโครงสร้ำงปัจจัยพื้นฐำน (endownment) กำรพัฒนำปัจจัยพื้นฐำนจะทำให้
เกิดกำรยกระดับโครงสร้ำงอุตสำหกรรม และกำรพัฒนำตำมควำมได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบเป็ นวิธที ่ดี ที ส่ี ุดใน
กำรปรับปัจจัย endownment และเพือ่ รักษำกำรยกระดับอุตสำหกรรมกำรเจริญเติบโตของรำยได้และลดปัญหำ
ควำมยำกจน (ดู Lin and Monga, 2010)
ประเทศไทยดำเนินยุทธศำสตร์กำรพัฒนำอุตสำหกรรมแบบเป็ นมิตรกับตลำด (market-friendly approach) ที่
ได้รบั กำรส่งเสริมจำกธนำคำรโลกและควำมคิดแบบเศรษฐศำสตร์กระแสหลักหรือเศรษฐศำสตร์นีโอคลำสิกของ
ขุนนำงนักวิชำกำร (technocrats) ทีม่ บี ทบำทในกำรกำหนดนโยบำย ทำให้นโยบำยอุตสำหกรรมจำกัดอยู่แค่กำร
แทรกแซงหรือส่งเสริมของรัฐในระดับกว้ำง ๆ (function intervention)
9




ประเทศไทยไม่ให้ควำมสำคัญกับ “นโยบำยวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี” และแทบจะไม่มนี โยบำยทีเ่ น้นกำร
สนับสนุนสำขำอุตสำหกรรมทีเ่ ป็ นกลุม่ เป้ ำหมำย อย่ำงเฉพำะเจำะจง (selective policies) และไม่มกี ำรกฏเกณฑ์ใน
กำรเชื่อมโยงกำรอุดหนุนของรัฐกับกำรพัฒนำควำมสำมำรถทำงเทคโนโลยีของบริษทั ทีไ่ ด้รบั กำรสนับสนุน
ประเทศไทยประสบควำมสำเร็จในกำรเปลีย่ นแปลงในทำงโครงสร้ำงของเศรษฐกิจจำกภำคเกษตรไปสู่อตุ สำหกรรม
และด้วยกำรเปิ ดเสรีกำรค้ำและกำรลงทุนจำกต่ำงประเทศ ทำให้มกี ำรกระจำยในผลิตภัณฑ์ใหม่ๆใน
ภำคอุตสำหกรรม (Sectoral Diversification) แต่กำรกระจำยสำขำอุตสำหกรรมอำจเป็ นกำรเปลีย่ นเป็ นเศรษฐกิจ
อุตสำหกรรมทีไ่ ร้เทคโนโลยี (Technology less Industrialization)
กำรยกระดับควำมสำมำรถด้ำนเทคโนโลยีเป็ นกระบวนกำรระยะยำว ทีต่ อ้ งผ่ำนกำรเรียนรู ้ แบบลองผิดลองถูกด้วย
กำรทำเอง (learning by doing) ซึง่ ต้องใช้ควำมพยำยำมมำกมีตน้ ทุนสูง เพรำะต้องใช้เวลำสัง่ สมควำมรู ้
กำรพัฒนำอุตสำหกรรมจึงไม่ใช่เพียงแค่ม่งุ เน้นกำรทำรำคำให้ถกู ต้อง (Getting the price right) เพียงด้ำนเดียว
หำกควบคู่ไปกับกำรออกแบบสถำบันทีถ่ กู ต้อง (Getting the Institution Right) และทำกำรแทรกแซงให้ถกู ต้อง
(Getting the Intervention Right)
10





ผลิตภัณฑ์ภาคอุตสาหกรรมมีสดั ส่วนสูงทั้งทางด้านการผลิตและการส่งออก อัตราการ
เจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมมีผลต่อการเจริญเติบโตต่อเศรษฐกิจไทยโดยรวม
การส่งออกของสินค้าอุตสาหกรรมในประเทศยังต้องพึ่งพาสินค้าเข้าจากต่างประเทศทั้ง
เครื่องจักรและวัตถุดิบ
ประเภทของสินค้าอุตสาหกรรมในประเทศไทยมีการกระจายตัวค่อนข้างดี
สัดส่วนการจ้างงานภาคอุตสาหกรรมเมื่อเทียบกับจานวนการจ้างงานรวมของประเทศ
อยูใ่ นระดับตา่ โดยเมื่อพิจารณาในส่วนของแรงงานทั้งหมดนั้น
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีอิทธิพลต่อการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของไทย
มาก
11
โครงสร้ าง GDP ภาคการผลิต จาแนกตามหมวดธุรกิจปี 2550
สัดส่ วนอุตสาหกรรมที่มีมูลค่ า GDP สูงสุด 10 อันดับ
มูลค่ า 1,317 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 78.1 ของ GDP ภาคการผลิต
Chemicals and Chemical
Products
5%
Textiles
5%
Wearing Apparel
5%
Food Products and
Beverages
15%
Machinery and Equipment
6%
Motor Vehicles
11%
Funiture; Manufacturing
n.e.c.
6%
Refined Petroleum Products
6.6%
Radio, Television and
Communication Equipment
and Apparatus
9%
Office, Accounting and
Computing Machinery
10%
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
12
Employment
Employment
(Employee)
(Employee)
Number
LE
LE
จานวนคนงาน
เกินกว่ า 200 คน
SME
SME
จานวนคนงานต่ากว่ า 200 คน
Total
(0.8%)
3,576
1,828
(27.25%)
454,393
668,185
668,185
(99.2%)
(72.75%)
(72.75%)
457,968
670,596โรง
Employment
(Employee)
1,776,884
(33.9%)
2,325,606
(52.15%)
3,460,967
3,460,967
(66.1%)
2,134,678
(66.1%)
(47.85%)
5,237,851คน
4,460,284
Value
(million THB)
5,483,17
1,963,973
(75.1%)
(66.35%)
1,821,337
996,163
(33.65%)
(24.9%)
7,304,513
ล้ านบาท
2,960,136
ที่มา : ประมวลจากสามะโนอุตสาหกรรม สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ 2550
13

ภำคอุตสำหกรรมไทยมีเทคโนโลยีกำรผลิตทีล่ ำ้ สมัย มีตน้ ทุนกำรผลิตสูง แรงงำนไร้ทกั ษะ ผู ผ้ ลิตขำดกำร
พัฒนำตรำสินค้ำของตนเอง ผูป้ ระกอบกำรขำดควำมรู ้ ควำมสำมำรถในกำรจัดกำร กำรตลำดและข้อมูล
กำรตลำด ขำดกำรส่งเสริมพัฒนำอุตสำหกรรมสนับสนุนขนำดกลำงและขนำดย่อม ผลิตภำพและ
ประสิทธิภำพกำรผลิตตำ่ และขำดกำรพัฒนำวัตถุดบิ และควำมเชื่อมโยงระหว่ำงอุตสำหกรรม
 ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหำทีเ่ รียกว่ำ “กับดักรำยได้ปำนกลำง” (middle – income trap) บริษทั
ส่วนใหญ่เติบโตมำโดยไม่มกี ำรเพิม่ พูนควำมสำมำรถทำงเทคโนโลยี กำรเรียนรูเ้ ทคโนโลยีของบริษทั ยัง
เป็ นไปอย่ำงเชื่องช้ำ
 กำรยกระดับอุตสำหกรรมไม่ประสบควำมสำเร็จส่วนหนึ่งเกิดจำกกำรทีภ่ ำคแรงงำนนอกระบบมีขนำดใหญ่
(informal sector)
 ช่องว่ำงทำงนโยบำยอุตสำหกรรมไทย: นโยบำยอุตสำหกรรมกับกำรลดควำมเลือ่ มลำ้ ในสังคม กำรสร้ำง
สมรรถนะในกำรแข่งขันกับกำรผนวกเข้ำกับเครือข่ำยกำรผลิตระดับโลก กำรพัฒนำอุตสำหกรรมไทย
ภำยใต้กรอบควำมร่วมมือในระหว่ำงประเทศ และกำรพัฒนำอุตสำหกรรมกับควำมยัง่ ยืนทำงทรัพยำกร
และสิง่ แวดล้อม
14

อุตสำหกรรมไทยจะอ่อนไหวกับกำรเปลีย่ นแปลงเศรษฐกิจโลกเนื่องจำกพึง่ พำตลำดส่งออก
มำกขึ้น และกำรทีอ่ ตุ สำหกรรมในปัจจุบนั มีควำมเป็ นนำนำชำติ มีกำรแบ่งขัน้ ตอนกำรผลิต
และแหล่งผลิต เกิดกำรเปลีย่ นแปลงในกระบวนกำรผลิต วงจรชีวติ ของผลิตภัณฑ์ท่สี นั้ ลง กำร
บริกำรก่อนและหลังกำรขำยมีควำมสำคัญมำกขึ้น สินทรัพย์ทไ่ี ม่มตี วั ตนมีควำมสำคัญมำกขึ้น
 กำรพัฒนำเทคโนโลยีของไทยมีกำรใช้จ่ำยในกำรค้นคว้ำวิจยั อยู่ในระดับทีต่ ำ่ ส่วนใหญ่เป็ นกำร
วิจยั ของรัฐบำลซึง่ ไม่สำมำรถนำมำใช้ได้จริงในภำคกำรผลิต พึง่ พำเทคโนโลยีจำกต่ำงประเทศ
เป็ นหลักมีปญั หำขำดแคลนบุคลำกรด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
 ภำยใต้ WTO และข้อตกลงกำรค้ำเสรี กำรใช้นโยบำยอุตสำหกรรม กำรปกป้ องอุตสำหกรรม
กำรให้เงินอุดหนุนทำได้ยำกขึ้น
 มีควำมพยำยำมแก้ไขปัญหำของภำคอุตสำหกรรมไทย แผนแม่บทอุตสำหกรรมฉบับที่ 1
(พ.ศ.2540-2544) ต่อมำหลังวิกฤตปี 2540 มีกำรดำเนินกำร แผนปรับโครงสร้ำงอุตสำหกรรม
ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2542-2543) และระยะที่ 2 (พ.ศ. 2544-2545)
15




ทักษิโณมิกส์ (Thaksinomics) เน้นนโยบำยเศรษฐกิจสองแนว (dual track policies) คือ ในด้ำน
หนึ่งเป็ นกำรมองออกข้ำงนอก (Outward Orientation) มุง่ เพิม่ ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันระหว่ำง
ประเทศ เช่น เพิม่ กำรส่งออก กำรลงทุนโดยตรงจำกต่ำงประเทศ และกำรท่องเทีย่ ว ในขณะเดียวกัน ก็ใช้
Inward-Looking Strategy ให้ควำมสำคัญแก่ Domestic-Led Growth มุง่ เสริมสร้ำงควำมสำมำรถของ
เศรษฐกิจในประเทศโดยเฉพำะในระดับรำกหญ้ำ (Grass-Root Development)
ทักษิโณมิกส์ ไม่ปฏิเสธฉันทมติแห่งวอชิงตัน (Washington Consensus) และ แนวคิดเสรีนิยมใหม่
(Neoliberalism) เพรำะรัฐบำลทักษิณได้ดำเนินนโยบำยเปิ ดเสรีทำงเศรษฐกิจ (Liberalization) กำรถ่ำย
โอนกำรผลิตไปสู่ภำคเอกชน (Privatization) กำรลดกำรกำกับ/ควบคุม (Deregulation) แต่กำรดำเนิน
นโยบำยทำงด้ำนกำรคลังกลับมีควำมสุ่มเสีย่ งในกำรรักษำเสถียรภำพทำงเศรษฐกิจ (Stabilization
ทักษิโณมิกส์ไม่มอี ะไรใหม่ในด้ำนปรัชญำเศรษฐศำสตร์ ระเบียบวิธกี ำรวิเครำะห์ และแนวควำมคิดพื้นฐำน
แต่จดุ เด่นของทักษิโณมิกส์อยู่ทก่ี ำรผสมผสำนแนวคิดดัง้ เดิมเพือ่ นำเสนอเมนู นโยบำย และนำกรอบ
ควำมคิดไปดำเนินนโยบำยระบบตำข่ำยควำมปลอดภัยทำงสังคม (Social Safety Net) ในประเทศไทย
ดูเพิม่ เติมจำก อำจำรย์รงั สรรค์ ธนพรพันธ์ (2547)
16

รัฐบำลทักษิณยกเรื่องของกำรเพิม่ ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันเป็ นวำระแห่งชำติ โดยมุง่ หวังที่
จะขับเคลือ่ นประเทศไทยสูป่ ระเทศ "เศรษฐกิจฐานความรู ”้ (knowledge-based economy)
 มีกำรตัง้ “คณะกรรมกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ” ทีม่ ี
นำยกรัฐมนตรีเป็ นประธำนขึ้น และมีกำรทำงำนใกล้ชิดกับภำคเอกชนมำกขึ้น มุ่งเน้นของกำร
พัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของภำคอุตสำหกรรม สนับสนุนผูป้ ระกอบSMEs กำร
เพิม่ ขีดควำมสำมำรถด้ำนเทคโนโลยีและคุณภำพแรงงำน กำรกำหนด“อุตสำหกรรมเป้ ำหมำย”
ต้องกำรให้เศรษฐกิจไทยใช้จดุ แข็งของตัวเอง ใช้ภมู ปิ ญั ญำท้องถิน่ ใช้กลยุทธทำงกำรตลำด
และเทคโนโลยีสำรสนเทศในกำรขยำยตัว
 กำหนดยุทธศำสตร์ให้เกิดกำรลงทุนด้ำนวิจยั และพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง กำรสร้ำงสิง่ แวดล้อมที่
ดึงดูดและกระตุน้ ให้เกิดนวัตกรรม ผลักดันให้เกิดแผนกลยุทธ์วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
(2547-2556) ใช้แนวคิดระบบนวัตกรรมแห่งชำติและคลัสเตอร์เป็ นแนวคิดหลักในกำรจัดทำ
แผน (ได้แก่ อำหำร รถยนต์ ซอฟแวร์ แฟชัน่ ท่องเทีย่ ว)
 รัฐบำลทักษิณผลักดันกำรปฏิรูประบบรำชกำร
17



รัฐบำลทักษิณให้ควำมสำคัญกับกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขันในระดับจุลภำค
(ระดับบริษทั องค์กร) และระดับมัชฌิมภำค (ระดับรำยอุตสำหกรรมหรือรำยคลัส
เตอร์) กำรเปลีย่ นนโยบำยในสมัยรัฐบำลทักษิณทีเ่ น้นนโยบำยในระดับมัชฌิมำภำค
และจุลภำคมำกขี้น ได้ผลักดันกำรกำหนดนโยบำยอุตสำหกรรมทีเ่ น้นกำรสนับสนุน
อุตสำหกรรมทีเ่ ป็ นกลุม่ เป้ ำหมำยอย่ำงเฉพำะเจำะจง (selective policies)
รัฐบำลทักษิณพยำยำมสร้ำงควำมตื่นตัวให้ภำคเอกชนมีควำมตระหนักในควำมจำเป็ น
ทีจ่ ะต้องเพิม่ ขีดควำมสำมำรถทำงเทคโนโลยีและนวัตกรรม องค์กรเอกชนเริ่มเปลีย่ น
บทบำทจำกกำรเป็ นเพียงแค่กลุม่ ผลประโยชน์มำทำหน้ำทีใ่ นกำรส่งเสริมให้สมำชิก
พัฒนำควำมสำมำรถในกำรแข่งขันและร่วมมือในลักษณะคลัสเตอร์อตุ สำหกรรม
ผลักดันให้องค์กรวิจยั และมหำวิทยำลัยให้ปรับตัวเองให้ตอบสนองควำมต้องกำรของ
ภำคเอกชน ทำให้ในปัจจุบนั มหำวิทยำลัยของรัฐมีกจิ กรรมร่วมกับภำคเอกชนมำกขึ้น
18
ก่อนยุคทักษิณ
ยุคทักษิณ
Japanese Style
Market friendly/ horizontal
Mainly macro
Fairly separated
Linear model of innovation
Focused on the improvement of
competitiveness for the specific
manufacturing Industry
Michael E. Porter
Vertical (sector and cluster specific)
Macro/meso/micro
Better alignment
More innovation systemic approach
Improvement of competitiveness at a
cluster level (geographical and
sectoral) including nonmanufacturing sector ex. Services /
• New entrepreneur-ship development
Capacity building at the
The transformation of company in
workplace in each company or
each firm in line with the
factory (using “industry institute”) development of the global value chain
National Industrial Development
Committee (technocrat)
National Competitiveness Committee
(private & Thaksin)
19


(1) ความล้มเหลวในการลดการพึง่ พิงต่างประเทศ: รัฐบำลทักษิณยังไม่ประสบ
ควำมสำเร็จเท่ำทีค่ วรในกำรปรับโครงสร้ำงอุตสำหกรรม โดยเฉพำะเรื่องกำรลดกำร
พึง่ พำกำรส่งออกและสร้ำงมูลค่ำเพิม่ ภำยในประเทศ (หรือ re-balancing growth)
(2) ความล้มเหลวในการผลักดันระบบนวัตกรรมแห่งชาติท่เี ข็มแข็ง: กำรขำดควำม
ต่อเนื่องในกำรผลักดันจำกรัฐบำลนำไปสู่ควำมล่ำช้ำและไม่สอดคล ้องกันในกำร
กำหนดและกำรดำเนินกำรปฏิรูปกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ กำรเชื่อมโยงระหว่ำง
บริษทั ทัง้ กับหน่วยต่ำงๆ ทีเ่ กี่ยวข้องยังคงเป็ นจุดทีอ่ ่อนแอในระบบนวัตกรรมของ
ประเทศไทย กำรปรับโครงสร้ำงและกำรปรับปรุงโครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนวิทยำศำสตร์
และเทคโนโลยีพ้นื ฐำนทีไ่ ด้รบั ควำมสนใจน้อยและดำเนินกำรได้ชำ้
20
(3) ความล้มเหลวในการยกระดับเทคโนโลยีระดับสาขาอุตสาหกรรม:กำรศึกษำของ
World Bank ในปี พ.ศ. 2548 พบว่ำ ควำมคืบหน้ำในกำรปรับโครงสร้ำงองค์กรช้ำ
มำกเนื่องจำกปัญหำขำดแคลนเงินสนับสนุนจำกรัฐบำล โครงสร้ำงกำรบริหำรและกำร
ดำเนินงำนของหน่วยรำชกำรทีล่ ำ่ ช้ำ รัฐบำลทักษิณไม่ประสบควำมสำเร็จในกำรเพิม่
ค่ำใช้จ่ำยในกำรวิจยั และพัฒนำ (R&D) ต่อ GDP ตำมเป้ ำหมำยทีว่ ำงไว้
งบประมำณทีม่ ใี ห้กบั สถำบันเฉพำะทำงอุตสำหกรรมมีจำกัด
 (4) ความล้มเหลวในการยกระดับผลิตภาพแรงงาน: กำรปฏิรูปกำรศึกษำทีม่ ี
ควำมสำคัญกับกำรยกระดับอุตสำหกรรม ได้แก่ อำชีวศึกษำ กำรพัฒนำทักษะ และ
กำรศึกษำระดับอุดมศึกษำ ยังไม่ประสบควำมสำเร็จ อำจเป็ นเพรำะกำรเปลีย่ นแปลง
ตัวรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรบ่อย แรงต้ำนทำนกำรเปลีย่ นแปลงจำก
สถำบันกำรศึกษำ (มหำวิทยำลัยไม่ยอมออกนอกระบบ) กำรขำดกำรประสำนงำน
ระหว่ำงกระทรวง

21

(5) ความล้มเหลวในการยกระดับผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมท้องถิ่น: รัฐบำล
ทักษิณนัน้ เน้นทีก่ ำรช่วยเหลือ SMEs มำก โดยเฉพำะวิสำหกิจขนำดเล็กใน
ต่ำงจังหวัด (micro-enterprises) แต่ในแง่ของกำรสร้ำงขีดควำมสำมำรถด้ำน
อืน่ ๆและกำรสร้ำงคลัสเตอร์ กำรสนับสนุน supplier ของกิจกำรข้ำมชำติทม่ี ี
ควำมเชื่อมโยงกับ Global Production Network ยังไม่มคี วำมชัดเจนในกำร
ดำเนินงำน
22
รัฐบำลทักษิณสำมำรถรวมศูนย์อำนำจเข้ำสู่ตวั นำยกฯได้สำเร็จ (รัฐธรรมนู ญ 2540 และจำกกำร
สนับสนุนจำกประชำชน) สำมำรถนำเอำอำนำจรวมศูนย์นนั้ ไปสังกำรขั
่ บเคลือ่ นนโยบำยให้มที ศิ มีทำง
และสอดคล้องตรงกับควำมต้องกำรของภำคอุตสำหกรรมมำกขึ้น แต่นนั้ ก็ยงั ไม่เพียงพอต่อกำร แต่
กำรยกระดับขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของภำคอุตสำหกรรมก็ยงั ไม่ประสบควำมสำเร็จเท่ำทีค่ วร
เนื่องจำก
 ข้อจำกัดของภำครำชกำรไทยและกำรขำดแรงผลักดันทำงด้ำนกำรเมือง เพรำะเศรษฐกิจขยำยตัวได้ดี
ขึ้นกำรส่งออกเพิม่ ขึ้นจำกกำรขยำยตัวของเศรษฐกิจโลก รวมทัง้ ควำมนิยมจำกประชำชนที่เพิม่ ขึ้นทำ
ให้แรงกดดันทำงกำรเมืองต่อรัฐบำลทักษิณในกำรยกระดับอุตสำหกรรมลดลง
 ระบบรำชกำรไทยที่ ขำดทิศทำงหลัก (overarching policy) ในกำรดำเนิ นนโยบำยอุตสำหกรรม
และ กำรเมืองแบบเปิ ดและรัฐบำลหลำยพรรค (หลำยมุง) มีกำรปรับเปลีย่ นนโยบำยและกำรปรับ
คณะรัฐมนตรี (ครม.)ก็ทำให้หน่วยงำนและข้ำรำชกำรปรับตัวไม่ทนั ทำให้นโยบำยไม่ต่อเนื่อง กำรปฏิรูป
ระบบรำชกำร กลับทำให้จำนวนกระทรวง เพิม่ ขึ้น
 ควำมสำเร็จของกำรพัฒนำอุตสำหกรรม (ทีต่ อ้ งใช้กำรทำงำนแบบบูรณำกำร) ขึ้นอยู่กบั ควำมใส่ใจของ
นำยกทักษิณต่อกำรพัฒนำอุตสำหกรรมเป็ นสำคัญ

23



ผลประโยชน์ของกลุม่ ทุนทีห่ นุนหลังรัฐบำลทักษิณ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นกลุม่ ทุนจำกภำคบริกำรและ
เน้นตลำดภำยในประเทศเป็ นหลัก เช่น กลุม่ ธุรกิจมือถือ กลุม่ อสังหำริมทรัพย์ กลุม่ ธุรกิจบันเทิง
ไม่ใช่ กลุม่ ทุนภำคอุตสำหกรรมโดยเฉพำะอย่ำงยิง่ กลุม่ ทุนส่งออก
Doner (2005) สรุปไว้วำ่ แรงกดดันเรียกว่ำ “Systemic vulnerability” ทีม่ ตี ่อชนชัน้ นำไทยมี
น้อยเกินไปและไม่ต่อเนื่องเพียงพอทีจ่ ะบีบบังคับให้รฐั ไทยต้องเพิม่ ขีดควำมสำมำรถของรัฐ
(capacity building) ยกระดับตัวเองขึ้นเป็ นรัฐแห่งกำรพัฒนำ (developmental state) เพือ่ เอำ
ตัวรอด โดยเฉพำะในทำงกำรเมือง
รัฐบำลนำยกทักษิณ สมัยทีส่ อง (9 มีนำคม 2548 -19 กันยำยน 2549) ภำยใต้สโลแกน “4 ปี
ซ่อม 4 ปี สร้าง” เน้นทีก่ ำรปรับโครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจของประเทศ" มำตรกำรเพิม่ ขีด
ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันทำงธุรกิจ อำทิ ภำษีกำรวิจยั และพัฒนำ หรือมำตรกำรให้เงินกูด้ อกเบี้ย
ผ่อนปรน เพือ่ ปรับปรุง หรือเปลีย่ นเครื่องจักรทีล่ ้ำสมัยทีไ่ ม่สำมำรถแข่งขันกับคู่แข่งได้ เป็ นต้น มี
กำรวำงแผนลงทุนโดยเฉพำะกำรสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนกำยภำพ
24
รัฐบำลพล.อ.สุรยุทธ์ จุลำนนท์ (1 ตุลำคม พ.ศ. 2549 – 29 มกรำคม พ.ศ. 2551 รวม 1 ปี ,
120 วัน) ในสมัยรัฐบำลสุรยุทธ์ได้มกี ำรผลักดัน แผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา
(พ.ศ. 2551-2555) แผนแม่บทการเพิม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพ (พ.ศ. 2551-2555) และ
แผนกำรส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2550-2554) เพือ่
เป็ นทิศทำงหลักของกำรพัฒนำอุตสำหกรรมในประเทศไทย แต่กำรดำเนินงำนตำมแผนแม่บท
ดังกล่ำวก็ไม่ถกู นำไปใช้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เนื่องจำกปัญหำโครงสร้ำงกำรทำงำนของระบบ
รำชกำรไทย กำรขำดกำรสนับสนุนทำงจำกภำคกำรเมืองและควำมไร้เสถียรภำพของรัฐบำล
 แม้รฐั บำลพล.อ.สุรยุทธ์จะเป็ นถูกจัดตัง้ โดย คณะมนตรีควำมมันคงแห่
่
งชำติ (คมช.) แต่
แนวนโยบำยเศรษฐกิจรวมทัง้ นโยบำยอุตสำหกรรมมีกรอบแนวคิดคล้ำยคลึงกับนโยบำย
เศรษฐกิจสมัยนำยกทักษิณ เช่นเดียวกับ นโยบำยเศรษฐกิจของรัฐบำลของนำยกสมัคร สุนทร
เวช (29 มกรำคม พ.ศ. 2551 – 9 กันยำยน พ.ศ. 2551 รวม 223 วัน) และรัฐบำลนำยก
สมชำย วงศ์สวัสดิ์ (18 กันยำยน พ.ศ. 2551 – 2 ธันวำคม พ.ศ. 2551 รวม 75 วัน) ทีม่ ี
ควำมคล้ำยคลึงกัน

25
26



สมัยนำยกอภิสทิ ธิ์ เวชชำชีวะ (17 ธันวำคม พ.ศ. 2551 – 10 พฤษภำคม พ.ศ. 2554) จำกประกำศ
ในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2552-2554 (27 มกรำคม 2552) ซึง่ แนวทำงกำรดำเนิน
นโยบำยส่วนใหญ่ก็คล้ำยกับนโยบำยเศรษฐกิจสมัยรัฐบำลนำยกสมัครและนำยกสมชำย (ภำยใต้
รัฐธรรมนู ญฯปี พ.ศ. 2550 และแผนบริหำรรำชกำรแผ่นดิน 4 ปี พ.ศ. 2551-2554 เหมือนกัน)
นโยบำยเร่งด่วนเกี่ยวกับภำคอุตสำหกรรม เช่น กำรกำหนดจังหวัดชำยแดนภำคใต้เป็ นเขตพัฒนำ
พิเศษ สนับสนุนอุตสำหกรรมฮำลำล เร่งลงทุนเพือ่ พัฒนำประเทศและเสริมสร้ำงบรรยำกำศกำร
ลงทุน ร่วมมือกับภำคเอกชนในกำรดำเนินมำตรกำรชะลอกำรเลิกจ้ำงและป้ องกันกำรขยำยตัวของ
กำรเลิกจ้ำงในภำคอุตสำหกรรม รองรับปัญหำแรงงำนว่ำงงำนจำกภำคอุตสำหกรรมและนักศึกษำจบ
ใหม่ เร่งผลิตบุคลำกรด้ำนอำชีวะตำมควำมต้องกำรของภำคอุตสำหกรรม
รัฐบำลอภิสทิ ธิ์ได้ตงั้ ”คณะกรรมกำรพัฒนำอุตสำหกรรมแห่งชำติ” (กอช.) ขึ้นเพือ่ ให้กำรผลักดัน
นโยบำยอุตสำหกรรมเป็ นไปอย่ำงมีเอกภำพโดยมีรองนำยกรัฐมนตรี (นำยไตรรงค์ สุวรรณคีร)ี เป็ น
ประธำนคณะกรรมกำรพัฒนำอุตสำหกรรมแห่งชำติ (กอช.) (ประชุมครัง้ ที่ 1 วันที่ 9 ก.ค. 2553)
27



รัฐบำลอภิสทิ ธิ์ได้จดั ทำกรอบยุทธศำสตร์เพือ่ เพิม่ ขีดควำมสำมำรถของประเทศใน 8 ด้ำน รวมทัง้ ได้
เสนอแนวคิด “เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์” เป็ นแนวทำงในกำรกำหนดทิศทำงกำรพัฒนำของเศรษฐกิจ
เพือ่ รับมือกับวิกฤติเศรษฐกิจกำรเงินโลกรัฐบำลอภิสทิ ธิ์ ได้ผลักดัน มำตรกำรกระตุน้ เศรษฐกิจระยะที่
1 (SP 1) (พ.ศ. 2551) ซึง่ ก็ทำให้เศรษฐกิจโดยรวมมีทศิ ทำงทีด่ ขี ้นึ ต่อมำได้ผลักดัน “แผนปฏิบตั ิ
กำรไทยเข้มแข็ง 2555 ” ซึง่ จะเป็ นโครงกำรลงทุนภำยใต้แผนฟื้ นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2 (SP2) (พ.ศ.
2552-2555) เพือ่ ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจและเพิม่ กำรจ้ำงงำนอย่ำงต่อเนื่อง
กำรศึกษำของ Walsh (2010) ประเมินว่ำ กำรดำเนินงำนของมำตรกำรดังกล่ำว ขำดควำมโปร่งใสในแง่
ของกำรจัดลำดับควำมสำคัญโครงกำร (มักเป็ นไปตำมแรงผลักดันด้ำนกำรเมือง) มีปญั หำในกำร
เบิกจ่ำยงบประมำณทีล่ ำ่ ช้ำ กำรใช้จ่ำยเงินมักเป็ นเรื่องกำรช่วยเหลือคนจน (กระจำยรำยได้) มำกกว่ำ
คำนึงถึงกำรเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในระยะยำว ขำดวิสยั ทัศน์ดำ้ นเศรษฐกิจทีช่ ดั เจนของประเทศ
ในอนำคต (เน้นแก้ปญั หำระยะสัน้ ) ขำดกำรประสำนงำนระหว่ำงหน่วยงำนภำครัฐต่ำงๆ เช่น มี
นโยบำยเรียนพรีแต่ไม่ได้ช่วยแก้ปญั หำขำดแคลนแรงงำนมีฝีมอื ในภำคอุตสำหกรรม เป็ นต้น
28
ภำยใต้กรอบรัฐธรรมนู ญฯปี พ.ศ. 2550 รัฐบำลนำยกอภิสทิ ธิ์ให้ควำมสนใจกับกำรพัฒนำ
อุตสำหกรรมยัง่ ยืน โดยให้ สศช.ทบทวนแผนแม่บทกำรพัฒนำอุตสำหกรรมของประเทศใหม่โดย
ให้คงไว้ซง่ึ ควำมสำมำรถกำรส่งออกของภำคอุตสำหกรรมแต่ให้เพิม่ สัดส่วนกำรเติบโตเศรษฐกิจ
ของประเทศจำกภำยในประเทศให้มำกขึ้นและประชำชนเกิดควำมสุขมำกขึ้น
 ปัญหำควำมไม่แน่นอนทำงกำรเมือง ทำให้รฐั บำลไม่สำมำรถยกระดับควำมสำมำรถทำงด้ำน
เทคโนโลยีภำคอุตสำหกรรม รวมทัง้ ไม่สำมำรถผลักดันนโยบำยกำรลงทุนในระยะยำว กำรปฏิรูป
ทำงเศรษฐกิจและสังคมและกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ ซึง่ ปัจจัยต่ำงๆเหล่ำนี้ จะมีผลกระทบต่อ
กำรพัฒนำของเศรษฐกิจไทยและศักยภำพในกำรทำกำไรของธุรกิจไทยในระยะยำว
 สำหรับนโยบำยทีเ่ กี่ยวข้องกับอุตสำหกรรมของรัฐบำลนำยกอภิสทิ ธ์ทย่ี งั ดำเนินกำรไม่เสร็จ ได้แก่
กำรปรับโครงสร้ำงภำษีสรรพสำมิตรถยนต์ นโยบำยอุตสำหกรรมเชิงนิเวศน์ (อีโค ทำวน์) และ
กำรปรับประเภทกิจกำรส่งเสริมกำรลงทุน ให้สอดคล้องกับกำรพัฒนำอุตสำหกรรมยัง่ ยืน

29
แนวทำงกำรพัฒนำอุตสำหกรรม ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2555-2574)
“มุ่งสูอ่ ุตสำหกรรมสร้ำงสรรค์ที่สมดุลและยัง่ ยืน” มุง่ เน้นไปทีก่ ำรพัฒนำอุตสำหกรรมบนพื้นฐำนควำมรู ้ กำร
พัฒนำทักษะฝี มอื แรงำนและนวัตกรรมในผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรมตลอดจนควำมสมดุลระหว่ำงชุมชน สังคม
และสิง่ แวดล้อมเพือ่ ก้ำวไปสู่ควำมยัง่ ยืน





นโยบายในการยกระดับความสามารถในเชิงแข่งขัน (Capacity Building)
นโยบายในการพัฒนาปั จจัยสนับสนุ น (Enabling Factor)
นโยบายในการขจัด/ผ่อนคลายข้อจากัดต่างๆ (Relaxing Constrain)
นโยบายในการยืนหยัดอยูท่ ่ามกระแสโลกาภิวตั น์ (Global Reach)
นโยบายในการใช้โอกาสในการพัฒนาสินค้าใหม่/กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างโอกาสใหม่ (New
Product) โดยมีประเด็นการพัฒนา




เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy policy)
เศรษฐกิจบนฐานรากเกษตร (Agro-based resource policy)
การแสวงหาโอกาสจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
และการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (Cluster of city policy)
30





กำรมุง่ เน้นด้ำนกำรส่งเสริมกำรลงทุนทัง้ กำรลงทุนโดยตรงจำกต่ำงประเทศ (FDI) และกำรส่งเสริม
ให้กจิ กำรของคนไทยทีม่ คี วำมเข้มแข็งออกไปลงทุนในต่ำงประเทศเพิม่ ขึ้น ปรับปรุง “นโยบำย
ส่งเสริมกำรลงทุนใหม่ระยะเวลำ 5 ปี (2555-2559)”
กำรปรับโครงสร้ำงภำษีรถยนต์
เพิม่ พื้นทีก่ ำรลงทุนแห่งใหม่ในทุกภูมภิ ำค เช่น พื้นทีช่ ำยแดน แม่สอด เชียงของ และ 3 จังหวัด
ชำยแดนใต้
ให้ควำมสำคัญกับอุตสำหกรรมกำรเกษตร อุตสำหกรรมเกษตรทีไ่ ม่ใช่อำหำรอุตสำหกรรมต่ อยอด
วัฒนธรรม (Cultural Industry) อุตสำหกรรมสีเขียว อำทิ อุตสำหกรรมพลำสติกชีวภำพ โครงกำร
เหล็กต้นนำ้ เหมืองแร่โปแตช กำรพัฒนำแหล่งแร่ทม่ี ศี กั ยภำพ เน้นกำรอยู่ร่วมกันระหว่ำง
ภำคอุตสำหกรรมและสิง่ แวดล ้อมอย่ำงโปร่งใส
ยกระดับมำตรฐำนผลิตภัณฑ์ของ SMEs และโอท็อป เตรียมควำมพร้อมให้ผูป้ ระกอบกำรก้ำวสู่
ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน
31
(1) ความท้าทายในการปรับเศรษฐกิจให้มีความสมดุลมากขึ้น (Rebalancing
Strategies)
 นอกเหนือจำกกำรสนับสนุ นวิสำหกิจขนำดย่อม OTOP แล ้ว รัฐบำลต้องไม่ลมื ทีจ่ ะ
สนับสนุนกำรลดกำรนำเข ้ำสินค้ำทุนโดยสนับสนุนผูป้ ระกอบกำรท้องถิ่นทีม่ คี วำม
เชื่อมโยงกับ Global Production Network ให้มขี ดี ควำมสำมำรถด้ำนเทคโนโลยีท่ี
สูงขึ้นเพรำะกลุม่ นี้ตอ้ งเผชิญกับกำรแข่งขันทีร่ ุนแรง
 กำรปรับโครงสร้ำงภำษีโดยกำรลดภำษีนิตบิ คุ คลและปรับลดขอบเขตกำรให้สทิ ธิ
ประโยชน์ทำงด้ำนภำษีฯ ก็น่ำจะทำให้ควำมลำเอียงทีภ่ ำครัฐเคยมีกบั MNEs
มำกกว่ำกิจกำรท้องถิน่ ลดลง
 อุปสงค์ในประเทศยังไม่สำมำรถเข ้ำมำทดแทนกำรส่งออกได้ ดังนัน้ ไทยต้องเร่งใช้
ประโยชน์จำกเศรษฐกิจอำเซียน
32
(2) ความท้าทายในการยกระดับประสิทธิภาพแรงงาน (Labor Productivity)



กำรรัฐบำลยิง่ ลักษณ์ประกำศนโยบำยปรับขึ้นค่ำแรงขัน้ ตำ่ เป็ น 300 บำทอัตรำเดียวทัวประเทศ
่
ช่วยลดควำม
เหลือ่ มลำ้ ในสังคมได้ในระดับหนึ่ง แต่กำรเปลีย่ นแปลงดังกล่ำวย่อมทำให้ตน้ ทุนเพิม่ ขึ้นอย่ำงมีนยั สำคัญ
โดยเฉพำะอุตสำหกรรมทีใ่ ช้แรงงำนเข้มข้นและผูป้ ระกอบกำรอุตสำหกรรม SMEs ทีม่ ขี อ้ จำกัดในกำรยกระดับ
เทคโนโลยีเพือ่ ทดแทนแรงงำนทีม่ ตี น้ ทุนสูงขึ้น แต่ก็เป็ นแรงกดดันให้ผูป้ ระกอบกำรอุตสำหกรรมในประเทศไทย
ต้องปรับตัวกันครัง้ ใหญ่ ทัง้ กำรยกระดับผลิตภำพแรงงำนไทยและกำรยกระดับเทคโนโลยีกำรผลิต (Technology
Upgrading) รวมทัง้ อำจจต้องมีกำรนำเข้ำเข้ำแรงงำนจำกต่ำงประเทศ และ กำรออกไปลงทุนในต่ำงประเทศ
กำรขึ้นค่ำจ้ำงต้องสอดคลอ้ งกับผลิตภำพแรงงำนและสอดคล้องกับอุปสงค์และอุปทำนแรงงำนในแต่ละพื้นที่ กำร
เพิม่ ค่ำจ้ำงทีไ่ ม่สะท้อนผลิตภำพแรงงำนทีแ่ ท้จริงอำจนำมำสู่ผลทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ได้ อำจมีผลข้ำงเคียงทำให้มกี ำรลด
กำรจ้ำงงำนแรงงำนไทยของนำยจ้ำง และ บำงส่วนถูกผลักให้เป็ นแรงงำนนอกระบบมำกขึ้น ผ่ำนใช้กำรจ้ำงแบบ
เหมำช่วง (Outsourcing) หรือ ระบบสัญญำจ้ำงชัว่ ครำว (Sub-contracting) เพือ่ ลดต้นทุนแรงงำน
นำยจ้ำงเลือกทีจ่ ะจ้ำงแรงงำนต่ำงด้ำวแทน แต่กำรนำเข้ำแรงงำนต่ำงชำติอำจส่งผลถ่วงขบวนกำรพัฒนำเพิม่
ประสิทธิภำพกำรผลิตและอำจก่อให้เกิดปัญหำทำงสังคมอืน่ ๆตำมมำ
33
(3) ความท้าทายในการพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีของผูป้ ระกอบการ
ทีผ่ ่ำนมำรัฐบำลทักษิณให้ควำมสำคัญกับ SMEs ทีม่ คี วำมเชื่อมโยงกับ MNEs น้อยเกินไป (เพรำะคิดว่ำไม่อยำก
ช่วยกิจกำรต่ำงชำติ) แต่ภำยใต้กระแสโลกำภิวตั น์กำรพัฒนำอุตสำหกรรมของไทยไม่อำจจะแยกตัวเองออกจำก
ห่วงโซ่กำรผลิตระดับดับโลก (Global Production Chain)
 กำรเตรียมควำมพร้อมในเรื่องกำรตรวจสอบมำตรฐำนและกำรสร้ำงศูนย์ทดสอบ จึงกลำยเป็ นสิง่ จำเป็ นสำหรับ
กำรส่งเสริมควำมสำมำรถในกำรดูดซับเทคโนโลยีเพือ่ ส่งเสริมควำมเชื่อมโยง
 ภำยใต้ WTO รัฐบำลยิง่ ลักษณ์ก็ยงั มีช่องทำงทีเ่ ช่น เงือ่ นไขกำรจ้ำงงำน กำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีและกำรทำ
R&D รวมทัง้ สำมำรถสร้ำง (แบบมีขอ้ แม้) ให้บริษทั ต่ำงชำติลงทุนในกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถด้ำนเทคโนโลยี
ให้กบั คนงำนไทยและบริษทั ไทยมำกกว่ำทีเ่ ป็ นอยู่ เช่น กำรให้สนิ เชื่อเพือ่ พัฒนำ อำจใช้มำตรกำรลงทุนร่วมกัน
ระหว่ำงรัฐบำลไทยกับบรรษัทข้ำมชำติ กำรให้เงินอุดหนุนกับภำคเอกชนทีต่ อ้ งกำรทำนวัตกรรมผลิตภัณฑ์และ
นวัตกรรมกระบวนกำร จัดให้มโี ครงกำรนำวิศวกรบรรษัทข้ำมชำติมำฝึ กอบรมวิศวกรไทยและช่ำงเทคนิคของ
บริษทั ไทย กำรให้ matching grant กับภำคเอกชน
 เงือ่ นไขทีต่ อ้ งระวังมำกกว่ำคือ เงือ่ นใขในข้อตกลง FTAs ต่ำงๆ ทีม่ กั จะมำกกว่ำเงือ่ นไขในข้อตกลง WTO)

34
(4) ความท้าทายในการยกระดับระบบนวัตกรรมแห่งชาติ
 รัฐบำลต้องพยำยำมสร้ำง ปัจจัยเอื้อต่อกำรยกระดับควำมสำมำรถด้ำน
เทคโนโลยีของผูป้ ระกอบกำรอุตสำหกรรม อันได้แก่ กำรมีทนุ ทีจ่ ะช่วยพัฒนำ
ควำมพยำยำมเรียนรูอ้ ย่ำงมีประสิทธิภำพ กำรมีระบบสถำบันทีจ่ ะกำกับให้เกิด
กระบวนกำรเรียนรูท้ ไ่ี ด้ผลตำมเป้ ำหมำย และ กำรจัดควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
กลุม่ อำนำจต่ำงๆทีเ่ หมำะสมเพือ่ ให้สงั คมบรรลุเป้ ำหมำยของกำรยกระดับ
เทคโนโลยี
 รัฐบำลยิง่ ลักษณ์ควรให้ควำมสำคัญกับกำรพัฒนำเทคโนโลยีและรับผิดชอบใน
กำรนโยบำยกำรจัดสรรทรัพยำกรเพือ่ กำรสนับสนุนเทคโนโลยีในอุตสำหกรรม
เป้ ำหมำย กำรสนับสนุน “สถาบันอุตสาหกรรมเฉพาะสาขา” มีควำมสำคัญ
35
(5) ความท้าทายในการผลักดันนโยบายอุตสาหกรรม
 กำรกลับมำของ “นโยบายอุตสาหกรรม” ตำมแนวคิดกลุม่ “New Structural Economics”
 กำรพัฒนำอุตสำหกรรมนัน้ เป็ นนโยบำยในระยะยำว ต้องมีลกั ษณะมองไปข้ำงหน้ำวำงแผนและ
ป้ องกันปัญหำหรืออุปสรรคทีจ่ ะเกิดขึ้นในอนำคต มำกกว่ำกำรแก้ไขปัญหำทีเ่ ฉพำะหน้ำ
 ประเทศไทยไม่เคยขำดแคลนแผนแม่บทนโยบำยอุตสำหกรรมทีด่ ี แต่สง่ิ ทีข่ ำดคือกำรผลักดัน
นโยบำย (implement) และกำรประสำนงำนระหว่ำงหน่วยงำน (coordination)
 นำยกยิง่ ลักษณ์จะมีอำนำจทุบโต๊ะน้อยลงมำกเนื่องจำกรัฐธรรมนู ญ 2550 กำรผลักดันนโยบำย
ยกระดับควำมสำมำรถของภำคอุตสำหกรรมไทยภำยใต้รฐั บำลใหม่จะมีควำมยำกลำบำกมำกขึ้น
(และอำจมีงบประมำณมำลงทุนน้อยลงหำกดำเนินนโยบำยประชำนิยม)
 เรียนรูค้ วำมผิดพลำดในอดีต: นโยบำยและรัฐมนตรีทม่ี กี ำรเปลีย่ นแปลงบ่อย ควำมไม่ตงั้ ใจจริง
 เข้ำใจเงือ่ นไขควำมสำเร็จในกำรพัฒนำอุตสำหกรรม ไทยต้องกำรขีดควำมสำมำรถทำงสถำบัน
ใหม่ทส่ี ูงขึ้นต่ำงจำกเดิม ภำครัฐ กำรเมือง ข้ำรำชกำรและเอกชนต้องเปลีย่ นวิธีคิดและวิธีทำงำน
36