เอกสารสัมมนา PowerPoint - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Download Report

Transcript เอกสารสัมมนา PowerPoint - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รัฐไทยกับการปฏิรปู เศรษฐกิจ: คุณูปการและบทวิพากษ์
วีระยุทธ กาญจน์ ชูฉัตร
Assistant Professor of Political Economy, GRIPS Tokyo
คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 15 กันยายน 2557
ประเด็นอภิปราย
1)
ตำแหน่งแห่งทีแ่ ละคุณูปกำรของ “รัฐไทยกับกำรปฎิรปู เศรษฐกิจ”
2)
บทวิพำกษ์เชิงทฤษฎีและจำกมุมมองเอเชียตะวันออก
3)
ข้อเสนอแนะกำรศึกษำรัฐไทยในอนำคต
1. ตำแหน่งแห่งทีแ่ ละคุณูปกำร
ต่อวงวิชำกำรเศรษฐศำสตร์กำรเมือง
ข้อเสนอของอภิชาต (2556) แบ่งได้เป็ นสองส่วน
“อภิชาต” = อภิชำต สถิตนิรำมัย (2556) รัฐไทยกับการปฎิรปู เศรษฐกิจ: จากกาเนิดทุนนิยมนาย
ธนาคารถึงวิกฤตเศรษฐกิจ 2540. นนทบุร:ี ฟ้ำเดียวกัน.
ตาแหน่ งแห่งที่ในวงวิชาการ: วงวิชาการไทย (I)

เอนก เหล่ำธรรมทัศน์, เขียน ; สำยทิพย์ สุคติพนั ธ์, เรียบเรียงเป็ นไทย. 2539. มอง
เศรษฐกิจการเมืองไทยผ่านการเคลื่อนไหวของสมาคมธุรกิจ. กรุงเทพฯ: คบไฟ.

เอนก: จำก “อำมำตยำธิปไตย” (bureaucratic polity) สู่ “ภำคีรฐั -สังคมแบบเสรี” (liberal
corporatism) ในยุครัฐบำลเปรม

อภิชำต: เศรษฐกิจกำรเมืองไทย พ.ศ. 2500–2540 = “ทุนนิยมนำยธนำคำร” ผ่ำน
ควำมสัมพันธ์สำมเส้ำระหว่ำง นำยทหำร–เทคโนแครต–นำยธนำคำรเอกชน
ตาแหน่ งแห่งที่ในวงวิชาการ: วงวิชาการไทย (II)

ผำสุก พงษ์ไพจิตร. 2541. พัฒนาการอุตสาหกรรมและพัฒนาการเศรษฐกิจ:
ประสบการณ์ของเกาหลีใต้ บราซิล ไทย. กรุงเทพฯ: จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.

ผำสุกชีว้ ำ่ ไทยเป็ น “รัฐขันกลำง”
้
ทีป่ ระสบควำมสำเร็จในกำรพัฒนำอุตสำหกรรมมำกกว่ำ
บรำซิล แต่ดอ้ ยกว่ำเกำหลีใต้

อภิชำตเน้นบทบำทของรัฐและเทคโนแครตต่อกำรกำหนดนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค
ตาแหน่ งแห่งที่ในวงวิชาการ: วงวิชาการไทย (III)

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ.์ 2532/2546. กระบวนการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจใน
ประเทศไทย: บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเมือง พ.ศ. 2475-2530.
กรุงเทพฯ: คบไฟ.

รังสรรค์มองว่ำเทคโนแครตเป็ นส่วนหนึ่งในอุปทำนของกระบวนกำรกำหนดนโยบำย ทีต่ อ้ ง
ปะทะกับตัวแสดงอื่นๆ + โครงสร้ำงส่วนบนของระบบเศรษฐกิจ + ระบบทุนนิยมโลก

แม้รงั สรรค์จะใช้คำว่ำ “ตลำดนโยบำยเศรษฐกิจ” แต่ในแง่กำรให้เหตุผล ก็ใช้ “กำรต่อสูข้ อง
พลังทำงสังคม” อธิบำยนโยบำยเช่นกัน โดยไม่ผำ่ นควำมเข้มแข็ง-อ่อนแอของรัฐ
ตาแหน่ งแห่งที่ในวงวิชาการ: วงวิชาการนานาชาติ
เควิน เฮวิสนั (2006) แบ่งสำนักคิดทีว่ เิ ครำะห์เศรษฐกิจกำรเมืองไทยออกเป็ น 4 สำนัก

สำนักกำรทำให้ทนั สมัย (modernization school)

สำนักทฤษฎีพง่ึ พิง (dependency school)

สำนักเสรีนิยมใหม่ (neoclassical school)

สานักสถาบันนิยม (institutionalist school)

งำนเช่น Christensen et al. (1993); Doner and Ramsay (1997); Thitinan (2001)

ลักษณะร่วมกัน คือ กำรยึดถือมโนทัศน์ “ทวิรฐั ” (bifurcated state) ซึง่ มีอทิ ธิพลสูงสุดในกำรอธิบำย
กำรเมืองไทยหลังอำมำตยำธิปไตย
ดู Hewison, Kevin. 2006. “Thailand: Boom, Bust and Recovery.” In The Political Economy of South-East Asia. Markets, Power and
Contestation, ed. Gary Rodan, Kevin Hewison, and Richard Robison. Melbourne: Oxford University Press.
คุณูปการทางวิชาการและการกาหนดนโยบาย
นอกเหนือไปฐำนข้อมูลใหม่ของกำรกำหนดนโยบำยเศรษฐศำสตร์มหภำคอันเกิดจำกควำม
อุตสำหะของผูเ้ ขียนในกำรค้นคว้ำวิจยั แล้ว ผลกระทบทีล่ กึ ซึง้ ได้แก่:
1. กำรฟื้นฟูมโนทัศน์เศรษฐศำสตร์กำรเมืองเรือ่ งรัฐ
2. ยุคจอมพล ป. มิใช่เพียงยุค “สวรรค์ของนักแสวงหำค่ำเช่ำ”
3. กำรเมืองภำยในเป็ นปจั จัยชีข้ ำดในกำรกำหนดทิศทำงนโยบำยเศรษฐกิจ
4. กำร “ปฎิรปู ” ต้องรวมถึงระบบรำชกำรและเทคโนแครตด้วย
คุณูปการ 1: การฟื้ นฟูมโนทัศน์ เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องรัฐ
 กำรฟื้ นฟูกำรกรอบวิธค
ี ดิ แบบเศรษฐศำสตร์กำรเมืองและเศรษฐศำสตร์สถำบัน
ที่
ถูกละเลยไปในเศรษฐศำสตร์กระแสหลัก
 อัมมำร สยำมวำลำ:
“งำนเขียน…เล่มนี้จะอ่อนไหวต่อบริบททำงกำรเมืองมำกกว่ำงำนของนักเศรษฐศำสตร์โดยทัวไป
่ จุดเด่นดังกล่ำว
นี้ปรำกฏชัดเจนทีส่ ดุ ในบทที่ 4...ซึง่ เป็ นหัวใจของหนังสือ และมีกำรวิเครำะห์ทโ่ี ดดเด่นเป็ นพิเศษ”
 ผำสุก พงษ์ไพจิตร:
“จุดเด่นของหนังสือเล่มนี้ [คือ] จะเข้ำใจพัฒนำกำรกำรเปลีย่ นแปลงเศรษฐกิจไทย...จะต้องเข้ำใจควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงรัฐไทยกับระบบเศรษฐกิจ บทบำทของพลังทำงสังคมสำคัญๆ ทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังรัฐไทยในห้วงเวลำหนึ่งๆ
รวมทัง้ ระบบกำรแบ่งสรรผลประโยชน์ทล่ี งตัว”
คุณูปการ 2: ยุคจอมพล ป. มิใช่เพียง “สวรรค์ของนักแสวงหาค่าเช่า”
 อภิชำตชีใ้ ห้เห็นว่ำ
ควำมสำเร็จและทิศทำงของกำรปฏิรปู เศรษฐกิจมหภำค
เริม่ ต้นขึน้ ในยุคจอมพล ป.

เช่น กำรยกเลิกอัตรำแลกเปลีย่ นหลำยอัตรำทีใ่ ช้มำตัง้ แต่หลังสงครำมโลก กำรยกเลิก
กำรควบคุมสินค้ำนำเข้ำ กำรออกกฎหมำยสวัสดิกำรสังคม กำรพัฒนำโครงสร้ำง
พืน้ ฐำน ทัง้ หมดนี้เป็ นรำกฐำนสำคัญทีจ่ อมพลสฤษดิ ์นำไปต่อยอด
 ในแง่น้ี งำนของอภิชำตจึงอยูใ่ นกระแสใหม่ของสังคมศำสตร์ไทยทีก
่ ลับมำฟื้นฟู
ควำมเข้ำใจต่อยุคสมัยจอมพล ป. โดยเปิดมิตทิ ำงเศรษฐกิจเพิม่ เติมจำกประเด็น
ทำงประวัตศิ ำสตร์และกำรเมือง
คุณูปการ 3: การเมืองภายในเป็ นปัจจัยชี้ขาดในการกาหนดทิศทาง
นโยบายเศรษฐกิจ

ข้อเสนอเด็ดเดีย่ วของอภิชำต (2556) = “สภำวะกำรเมืองภำยในประเทศไทยเป็ นปจั จัยชีข้ ำด” (หน้ำ
106) ไม่ใช่แรงกดดันจำกภำยนอก เช่น สหรัฐอเมริกำ หรือแม้แต่ระบบทุนนิยมโลก

กำรปฏิรปู ยุคจอมพล ป. เกิดจำกควำมพยำยำมเอำตัวรอดจำกฐำนกำรเมืองอันง่อนแง่น สหรัฐอเมริกำ
จึงเป็ นแนวร่วมทีต่ อ้ งไขว่คว้ำ: “บทบำทในกำรปรับปรุงรัฐเพือ่ รองรับกำรพัฒนำเศรษฐกิจของรัฐบำล
จอมพล ป. สมัยที่ 2 นัน้ เป็ นผลพลอยได้จำกนโยบำยด้ำนกำรต่ำงประเทศของเขำ” (หน้ำ 50)

จอมพลสฤษดิ ์ “กำรพัฒนำเศรษฐกิจกลำยมำเป็ นเป้ำหมำยหลักของรัฐไทย...สืบเนื่องจำกจอมพลสฤษดิ ์
มีควำมจำเป็ นต้องแสวงหำแหล่งอ้ำงอิงสิทธิธรรมในกำรปกครองใหม่ กำรท้ำทำยอำนำจทำงกำรเมือง
ของ พคท. รวมทัง้ ภำวะสงครำมเย็นและสงครำมในอินโดจีน” (หน้ำ 106)

ผูว้ จิ ำรณ์ หำกจะปรับข้อเสนอนี้ให้แหลมคมยิง่ ขึน้ ก็อำจกล่ำวได้วำ่ กำรพัฒนำเศรษฐกิจไม่เคยเป็ น
เป้ำหมำยหลักของชนชัน้ นำไทย เป็ นแต่เพียงผลพลอยได้ (by-product) ของกำรต่อสูท้ ำงกำรเมือง
คุณูปการ 4: การ “ปฎิรปู เศรษฐกิจ” ต้องรวมถึงระบบราชการและ
คุณค่า/ความสามารถของเทคโนแครตด้วย
 ในบริบททีค
่ ำว่ำ
“ปฎิรปู ” ถูกนำมำใช้อย่ำงพร่ำเพรือ่ และหลักลอย งำนของ
อภิชำตน่ำจะช่วยย้ำยควำมสนใจของกำรปฏิรปู จำกนักกำรเมืองและระบบ
เลือกตัง้ กลับมำทีป่ ญั หำใจกลำงของตัวรัฐเอง
 เช่น กำรปรับปรุง “ระบบรำชกำรทีแ่ ยกส่วน”
“ควำมเสือ่ มถอยทำงคุณธรรมของ
เทคโนแครต” หรือ “อำนำจเผด็จกำรของผูว้ ำ่ กำรธนำคำรแห่งประเทศไทย” ซึง่
ทัง้ หมดนี้ อภิชำตชีใ้ ห้เห็นว่ำเป็ นปญั หำทีท่ ำให้กำรปฏิรปู เศรษฐกิจไทยล้มเหลว
2. บทวิพำกษ์เชิงทฤษฎี
และจำกมุมมองเอเชียตะวันออก
ปัญหาสามประการของ “รัฐไทยกับการปฎิรปู เศรษฐกิจ”
1. ปจั จัยอธิบำย: แล้วอะไรกำหนดรัฐอ่อน-รัฐแข็ง แล้วรัฐอ่อน-รัฐแข็งสำคัญหรือไม่?
2. สมมติฐำนต่อเทคโนแครต: คุณพ่อรูด้ หี รือสัตว์เศรษฐกิจ?
3. บทบำทรัฐและลำดับควำมสำคัญ: รัฐแข็ง/รัฐพัฒนำทีไ่ ม่สนใจอุตสำหกรรม?
ปจั จัยอธิบำย:
แล้วอะไรกำหนดรัฐอ่อน-รัฐแข็ง
แล้วรัฐอ่อน-รัฐแข็งสำคัญหรือไม่?
ปัญหา 1: แล้วอะไรกาหนดรัฐอ่อน-รัฐแข็ง แล้วรัฐอ่อน-รัฐแข็ง
สาคัญหรือไม่? (I)





ในบทที่ ๑ อภิชำตเสนอว่ำ “กำรต่อสูร้ ะหว่ำงกลุม่ พลังทำงสังคม” กำหนดควำมเข้มแข็งของรัฐ
ในบทที่ ๕ กำรต่อสูด้ งั กล่ำวเหลือเพียง “กำรเสือ่ มสลำยของปทัสถำนของเหล่ำขุนนำงนักวิชำกำร”
ในบทที่ ๖ และ ๗ “กติกำกำรเมือง” อันได้แก่ รัฐธรรมนูญ กลับมำกลำยเป็ นประเด็นใหญ่
สรุปแล้ว พลังทำงสังคม เทคโนแครต หรือรัฐธรรมนูญ เป็ นตัวชีข้ ำดควำมสำเร็จหรือล้มเหลว
ของกำรปฏิรปู ?
งำนสำยสถำบันนิยมมักจะฟนั ธงปจั จัยอธิบำยไปเลย เช่น ประชำธิปไตยทำให้กำรจัดกำร
เศรษฐกิจมหภำคถูกแทรกแซง; ระบอบอำณำนิคมญีปนุ่ สร้ำงรัฐแข็งให้เกำหลีใต้
ปัญหา 1: แล้วอะไรกาหนดรัฐอ่อน-รัฐแข็ง แล้วรัฐอ่อน-รัฐแข็ง
สาคัญหรือไม่? (II)

อภิชำตแยกส่วนการวิเคราะห์ ความสาเร็จ – ความล้มเหลว ออกจำกกันมำกเกินไป ซึง่ ทำให้:
 ขำดมุมมองต่อควำมลักลันปะปนระหว่
่
ำงควำมสำเร็จกับควำมล้มเหลว หรือผลทำงอ้อมของ
นโยบำย (โดยเฉพำะหำกเปรียบเทียบกับเอเชียตะวันออก)
 มองไม่เห็นข้อจำกัดภำยใน อันเกิดจำกองค์ประกอบของแนวร่วมกำรเมืองเอง

พันธมิตร “ทหำร-เทคโนแครต-นำยธนำคำร” เกิดจำกกำรต่อรองโดยนัย (implicit bargain) ทีม่ ตี น้ ทุน
ของมันเองอยูแ่ ล้ว เทคโนแครตเองก็เป็ นส่วนหนึ่งของแนวร่วมนี้ มิใช่ผถู้ กู กระทำ

A package deal? หำกควำมล้มเหลวของกำรปฎิรปู เกิดจำกพันธมิตรหรือรัฐธรรมนูญลักษณะนี้ นันก็
่
เป็ นต้นทุนทีเ่ กิดจำกกำรหล่อเลีย้ งระบอบเผด็จกำรทหำรและเสถียรภำพเศรษฐกิจมหภำคนันเอง
่

ในแง่น้ี ควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกำรปฏิรปู เศรษฐกิจย่อมสำมำรถอธิบำยได้จำกลักษณะและ
องค์ประกอบของแนวร่วมทำงกำรเมืองแต่ละระบอบ โดยควำมอ่อน-แข็งของรัฐแทบจะไม่มนี ยั สำคัญ
อะไรในกำรอธิบำยผลปลำยทำงเลย
ปัญหา 1: แล้วอะไรกาหนดรัฐอ่อน-รัฐแข็ง แล้วรัฐอ่อน-รัฐแข็ง
สาคัญหรือไม่? (III)
Vu, Tuong. 2010. Paths to Development in Asia: South Korea, Vietnam, China, and Indonesia.
Cambridge: Cambridge University Press.
องค์ประกอบของรัฐพัฒนา
A) Centralized structure
B) Cohesive political
organizations
C) Growth-conducive state–
class relations or foreign
alliances
D) Ideological congruence
ความสัมพันธ์ชนชัน้ นาและผลต่อโครงสร้างรัฐ
สมมติฐำนต่อเทคโนแครต:
คุณพ่อรูด้ หี รือสัตว์เศรษฐกิจ?
ปัญหา 2: เทคโนแครต: คุณพ่อรู้ดีหรือสัตว์เศรษฐกิจ? (I)

สมมติฐำนของรังสรรค์ = “ขุนนำงนักวิชำกำรไทยเป็ นปุถุชนทีม่ กี เิ ลสตัณหำ มีควำมเห็นแก่ตวั และ
แสวงหำอรรถประโยชน์สงู สุด (utility maximization) ดุจดังมนุ ษย์โดยทัวไป”
่ (รังสรรค์ 2546: 119)

สมมติฐำนของอภิชำต เทคโนแครต = “มีพฤติกรรมอนุ รกั ษนิยม ซื่อสัตย์ และมีควำมกลมเกลียว
ภำยในสูง” (หน้ำ 222)

เรำควรนำ ผลประโยชน์ + อุดมการณ์ ของเทคโนแครตเข้ำมำร่วมวิเครำะห์ดว้ ย

ผลประโยชน์ : งำนศึกษำ เช่น Adolph (2013) Bankers, Bureaucrats, and Central Bank Politics:
The Myth of Neutrality พบว่ำ [อำชีพในอดีต] + [อำชีพทีค่ ำดหวังในอนำคต] มีผลต่อกำรกำหนด
นโยบำยของเทคโนแครตในช่วงทีเ่ ขำดำรงตำแหน่ งในธนำคำรกลำง

อุดมการณ์ : ปญั หำทีอ่ ภิชำตตัง้ ไว้วำ่ “ด้วยเหตุใดพวกเทคโนแครตทีข่ น้ึ ชือ่ ว่ำมีพฤติกรรมอนุ รกั ษนิยม
ซื่อสัตย์และมีควำมกลมเกลียวภำยในสูง จึงเปิดเสรีบญ
ั ชีเงินทุนเคลือ่ นย้ำย และตัง้ ใจกระตุน้ ให้มกี ำร
นำเข้ำเงินทุนขนำนใหญ่” (หน้ำ 332) ไม่น่ำจะเป็ นประเด็น เพรำะเทคโนแครตเสรีนิยมใหม่ทวโลกใน
ั่
ทศวรรษ 2530 ต่ำงก็เลือกแนวทำงเปิดเสรีทำงกำรเงิน โดยไม่จำเป็ นต้องเป็ นคนซื่อสัตย์
ปัญหา 2: เทคโนแครต: คุณพ่อรู้ดีหรือสัตว์เศรษฐกิจ? (II)

อานาจเทคโนแครตกับความเจริญทางเศรษฐกิจ:
 ควำมรุง่ เรือง/เสือ
่ มถอยของเทคโนแครตไม่ควรถูกโยงเข้ำกับควำมสำเร็จ/ล้มเหลวของเศรษฐกิจ
อย่ำงเป็ นเส้นตรง
 หำกเทคโนแครตไทยมีอำนำจมำกกว่ำทีไ่ ด้รบ
ั เรำจะมันใจได้
่
อย่ำงไรว่ำพวกเขำจะไม่ขบั ประเทศ
ไปสูก่ ำรเปิดเสรีทม่ี ำกกว่ำนี้ ดังเช่นในละตินอเมริกำทศวรรษ 1980 ซึง่ นำยพลให้อำนำจเทคโน
แครตเสรีนิยมใหม่มำกกว่ำไทย

เทคโนแครตเอเชียตะวันออก: กลุม่ ข้ำรำชกำรผูม้ อี ำนำจในกำรขับเคลือ่ นนโยบำยเศรษฐกิจเอเชีย
ตะวันออกยุคไล่กวดไม่ได้เป็ นนักเศรษฐศำสตร์เสรีนิยมใหม่
 ในญี่ปน
ุ่ พวกเขำมีพน้ื ฐำนกำรศึกษำด้ำนนิตศิ ำสตร์
 ในไต้หวัน พวกเขำคือวิศวกรและนักวิทยำศำสตร์
 ในเกาหลีใต้ พวกเขำคือนักเศรษฐศำสตร์มำร์กซิสต์ผเู้ ชือ
่ มันในกำรพั
่
ฒนำอุตสำหกรรมหนัก!
บทบำทรัฐและลำดับควำมสำคัญ:
รัฐแข็ง/รัฐพัฒนำทีไ่ ม่สนใจอุตสำหกรรม?
ปัญหา 3: รัฐพัฒนาที่ไม่สนใจอุตสาหกรรม? (I)

แก่นของงำนชิน้ นี้ = การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนแครตกับทุนธนาคาร ภายใต้การ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมืองไทย รัฐพัฒนำไม่ใช่แกนกลำงในงำนชิน้ นี้

ควำมสำเร็จในกำรปฏิรปู ของรัฐ = กำรปรับปรุงเศรษฐกิจมหภำค?

ควำมยอกย้อน คือ ในขณะทีอ่ ภิชำตเลือกใช้มโนทัศน์รฐั อ่อน-รัฐแข็งในกำรวิเครำะห์เศรษฐกิจ เมือ่
วิเครำะห์วำ่ ชุดนโยบำยใดเป็ นคุณหรือเป็ นโทษกับระบบเศรษฐกิจ อภิชำติกลับมีควำมโน้ มเอียงไปยัง
เศรษฐศำสตร์เสรีนิยมใหม่

ในขณะทีก่ ลุม่ นักวิชำกำรทีส่ ร้ำงและพัฒนำกรอบมโนทัศน์รฐั พัฒนำต่ำงเน้นย้ำว่ำ



ในช่วงแรก กำรปฎิรปู ทีด่ นิ เพือ่ กำรลดควำมเหลือ่ มล้ำและเพิม่ ประสิทธิภำพภำคเกษตร
ช่วงต่อมำ ส่งเสริมกำรพัฒนำอุตสำหกรรมเพือ่ แข่งขันในตลำดส่งออก
รักษำควำมสมดุลระหว่ำงอุตสำหกรรม-เสถียรภำพทำงเศรษฐกิจ: ประเทศเอเชียตะวันออกให้ควำมสำคัญกับ
นโยบำยอุตสำหกรรม เช่น หำกต้องเลือกให้เงินเฟ้อเพิม่ ขึน้ เพือ่ แลกกับกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจ เกำหลีใต้
เลือกอย่ำงหลัง ในขณะทีเ่ ทคโนแครตไทยจะเลือกควบคุมเงินเฟ้อ
ปัญหา 3: รัฐพัฒนาที่ไม่สนใจอุตสาหกรรม? (II)

อภิชำตเอง (หน้ำ 94-5) ก็ชว้ี ำ่ กำรพัฒนำในยุคสฤษดิต่์ ำงจำกเอเชียตะวันออกตรงทีไ่ ทยใช้ธนำคำร
เอกชนเป็ นหัวหอกผูก้ ำหนดทิศทำงกำรลงทุนในภำคอุตสำหกรรม (private bank-led investment)
ในขณะทีใ่ นไต้หวันและเกำหลีใต้ รัฐมีหน้ำทีน่ ้ี (หรือทีเ่ รียกกันว่ำ “policy loans”) นอกจำกนี้ พอมำถึง
หลังวิกฤต 2540 อภิชำตยังชีใ้ ห้เห็นต่อว่ำ “รัฐไทยเกือบจะไม่มปี ระสบกำรณ์ในกำรปล่อยสินเชือ่ ให้แก่
ภำคเอกชนเพือ่ กำรพัฒนำอุตสำหกรรมดังเช่นทีป่ ระเทศเกำหลีใต้เคยทำมำก่อนเลย ทำให้รฐั ไทยไม่ม ี
บุคลำกรหรือควำมรูค้ วำมเข้ำใจในกำรประกอบธุรกิจของภำคเอกชนอย่ำงเพียงพอ” (หน้ำ 281)

สาเร็จหรือล้มเหลว? เมือ่ รวมสองประเด็นนี้เข้ำด้วยกัน ก็อำจจะพออนุ มำนได้วำ่ ระบอบทุนนิยมนำย
ธนำคำรไทย + กำรเน้นรักษำเสถียรภำพเศรษฐกิจมำกเกินไป ไม่น่ำจะมีผลดีต่อเศรษฐกิจดังทีอ่ ภิชำต
นำเสนอ เพรำะนอกจำกจะไม่สำมำรถส่งเสริมกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจได้เท่ำเอเชียตะวันออกแล้ว ก็ยงั
ทำให้กำรแก้ปญั หำเศรษฐกิจในยำมวิกฤตไม่มปี ระสิทธิผลอีกด้วย

รัฐกับอุตสาหกรรม: แม้วำ่ ปจั จัยทีท่ ำให้เอเชียตะวันออกประสบควำมสำเร็จจะสำมำรถถกเถียงกันได้
แต่หำกเลือกศึกษำจำกมโนทัศน์รฐั พัฒนำแล้ว เรำไม่อำจละเลยบทบำทของนโยบำยอุตสำหกรรมได้
3. ข้อเสนอแนะกำรศึกษำรัฐไทยในอนำคต
ข้อถกเถียงในวงวิชาการนานาชาติ

ปจั จัยกำหนดรัฐพัฒนำ: อำณำนิคม ภัยคุกคำม หรือกำรเมืองชนชัน้ นำ

รัฐหลำยมิต:ิ ควำมสำมำรถทำงกำรคลัง ควำมสำมำรถทำงกำรบริหำร
ควำมสำมำรถด้ำนอุตสำหกรรม

ควำมหลำกหลำยของระบบทุนนิยม (Varieties of Capitalism)

นโยบำยอุตสำหกรรมและกับดักรำยได้ขนำดกลำง (middle-income trap)
บทสรุป

“รัฐไทยกับกำรปฎิรปู เศรษฐกิจ” คือ หมุดหมำยทีส่ ำคัญของวงวิชำกำรเศรษฐศำสตร์กำรเมือง

คุณูปกำรของงำน คือ มโนทัศน์รฐั ไทย กำรเมืองภำยใน และยุคสมัยจอมพล ป.

ปญั หำของงำนอยูท่ ป่ี จั จัยกำหนดรัฐอ่อน-รัฐแข็ง สมมติฐำนเทคโนแครต และภำคอุตสำหกรรม

กำรศึกษำรัฐไทยในอนำคตควรให้น้ำหนักกับกรอบทฤษฎีและกำรศึกษำเปรียบเทียบ