การประเมิน

Download Report

Transcript การประเมิน

หลักการทรงงาน
คิด MACRO
ทำ MICRO
การทางาน
• กำรทำงำนอย่ ำงให้ มีคุณภำพให้ ได้ ผลบริบูรณ์
จะทำอย่ ำงไร เบือ้ งต้ นต้ องทำควำมเห็นให้
ถูกต้ องในงำนที่จะทำเสียก่ อนโดยใช้ ปัญญำ
ไตร่ ตรอง ให้ เห็นเหตุท่ ีแท้ ผลที่แท้ ท่ ีถูกต้ องตรง
ตำมเป้ำหมำยที่พงึ มุ่งหวัง แล้ ววำงแผนกำรอัน
แน่ นอนที่จะดำเนินกำรต่ อไป ด้ วยหลักวิชำ
ด้ วยควำมร่ วมมือ ปรองดองกัน และสำคัญที่สุด
ต้ องมีควำมพำกเพียร ไม่ ย่อหย่ อนในอันที่จะ
กระทำต่ อไปจนกว่ ำจะเป็ นผลสำเร็จ
•
(พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : 19
กรกฎาคม 2516)
สพฐ.ห่วงเวลาเรียนจ ัดระเบียบอบรมครู
นายอภิชาต จีระวุฒิ เลขาธิการฯ กพฐ. กล่าวว่า
ข่าวด่วน
ควรงดการเชิญครูมาฝึ กอบรมในช่วงที่มีการเรียนการสอน
ขอให้ขยับไป
ช่วงปิ ดเทอม เดือนมีนาคมถึงเมษายน เพือ
่ ไมให
่ ้ส่งผลกระทบถึงการเรียนการ
สอน
ควรมีการกาหนดคุณสมบัติของครูที่จะเข้ารับการอบรมฯควรมีอายุไม่
เกิน 50 ปี
เพือ
่ ให้ไดผลตอบแทนที
ค
่ มค
ุ้ า่ เพราะการทีส
่ ่ งครูทม
ี่ อ
ี ายุมากกวา่ 50 ปี
้
ขึน
้ มาอบรม ถาเอายอดหรื
อจานวนคนเขาอบรมของโครงการถื
อวาผ
้
้
่ านตนไม
่
่
เถียง แตที
่ านมาบางโรงเรี
ยนส่งครูอายุ 58 ปี เขาอบรม
หากเอาเรือ
่ ง
่ ผ
่
้
ประสิ ทธิภาพไมต
ดถึง เพราะคนอายุขนาดนั้นส่วนใหญก็
่ องพู
้
่ รอเกษียณกันแลว
้
ลงทุนมากเทาไหร
ก็
่ านมาเราลงทุ
นพัฒนาอบรมครูปีละหลายหมืน
่
่
่ พงั หมด ซึง่ ทีผ
่
ลานบาท
แตได
คุ
้
่ ผลตอบแทนไม
้
่ ม
้ ทัง้ นี้ พบวาช
่ ่ วง 4 เดือนมานี้ มีเสี ยงตอบรับ
จากครูทเี่ ห็นดวยกั
บแนวทางดังกลาวไม
น
้
่
่ ้ อย
"จริง ๆ แลวครู
ทม
ี่ ค
ี ุณภาพและมีศักยภาพมีอยูมาก
แตบางคนไม
แสดง
้
่
่
่
ศักยภาพในโรงเรียนไปแสดงในโรงเรียนกวดวิชา เวลาอยูโรงเรี
ยนสอน
่
ไมได
่ ง
่ เรื
้ อ
ดังนั้นในการอบรมสั มมนาหากให้ครูมส
ี ิ ทธิสมัครไดตามต
องการ
้
้
ไมใช
นเรือ
่ งดี แตปั
ั ใช้วิธเี กณฑมาโดยตั
ง้ เป้าหมายวา่ ถา้
่ ่ เกณฑมาจะเป็
์
่ จจุบน
์
ครบตามจานวนถือวาได
แล
่
้ ว
้ ซึง่ สพฐ. จะทบทวนเรื่องการอบรม โดยใช้
วิธก
ี ารให้สมัคร จะมีประโยชนมากกว
าและจะได
ครู
ี่ องการมาอบรมจริ
งๆ"
์
่
้ ทต
้
เลขาธิการ กพฐ.กล่าวว่า สาหรับการอบรมครูปีนี้นอกจากเน้นเรือ่ งของ
ช่วงเวลาการจัดอบรมและผู้เขารั
่ ด
ั อบรมก็จะเน้ น
้ บการอบรมแลว
้ ประเด็นทีจ
เรื่องการวัดและประเมินผลเป็ นสาคัญ เพราะทีผ่ านมามี
การอบรมเรือ
่ งนี้น้อย
่
มากทาให้คุณภาพของเด็กมีปญ
ั หา เพราะครูวด
ั และประเมินผลไมเป็
่ น.
ทีม
่ า--เดลินวิ ส ์ ฉบับวันที่ 20 ก.พ. 2557 (กรอบบ่าย)—
พบวาช
บแนวทางดังกลาวไม
่ ่ วง 4 เดือนมานี้ มีเสี ยงตอบรับจากครูทเี่ ห็นดวยกั
้
่
่
น้อย
ความคิดเห็นที่ 1
อยากทราบวาท
ใ่ ห้ขาวนี
้ อายุเทาไรครั
บ ถึงไดมี
่ านที
่
่
่
้ ความคิดเห็น
เช่นนี้
ความคิดเห็นที่ 3
การอบรมควรเป็ นไปตามความตองการของหน
้
่ วยงานหรือผู้เขารั
้ บการอบรม สพป.
หรือสพฐ.ควรทาปฏิทน
ิ การจัดอบรมในรอบปี เพือ
่ ให้หน่วยงานหรือโรงเรียนที่
ตองการสมั
ครเขารั
้
้ บการอบรม และกาหนดเวลาการอบรมไมควรใช
่
้เวลาทาการ
สอนของครู
โรงเรียนสนับสนุนงบประมาณตามสิ ทธิ สพฐ.จัดสรรงบคาเบี
้ เลีย
้ ง
่ ย
พาหนะ ทีพ
่ ก
ั ให้โรงเรียนบริหาร จะทาให้การพัฒนาครูมป
ี ระสิ ทธิภาพมากกวา่
สภาพการดาเนินงานในปัจจุบน
ั และการอบรมควรเน้นเชิงปฏิบต
ั ก
ิ ารมีการนาผล
การอบรมไปใช้ปฏิบต
ั ิ ประเมินผลการผานอบรมควรมี
การประเมินจากชิน
้ งานที่
่
นาไปทดลองใช้ในโรงเรียนดวย
้
ความสาเร็จ เกิดจากสิ่งใดมากที่ส ุด
ก ความรัก
ข ทัศนคติ
ค ทางานหนัก
ง ความร ้ ู
จ โชคชตา
ถ้า
สูตรสูค่ วามสาเร็จ
A B C D E F G H I J
S T U V W X Y
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
19 20 21 22 23 24 25
K L M N O P Q R
Z
11 12 13 14 15 16 17 18
26
12+21+3+11 = LUCK หรือโชค มีค่าเท่ากับ 47 %
12+15+22+5 = 54 =LOVE หรือความรัก มีค่าเท่ากับ 54 %)
11+14+15+23+12+5+4+7+5 = 96 KNOWLEDGE หรือความรู้ มีค่าเท่ากับ 96 %)
8+1+18+4+23+15+18+11 = 98
HARD WORK
หรือทางานหนัก มีค่า
เท่ากับ 98 %)
ปัจจัย VS. โอกาสประสบความสาเร็จ
ปัจจัย
ATTITUDE
โอกาสประสบ
ความสาเร็จ
100%
KNOWLEDGE
96%
LOVE
54 %
LUCK
47 %
ระดับความสาเร็จของโครงการ
•ประสิทธิภาพ
ผลผลิต (Output)
•ประสิทธิผล
ผลลัพธ์Outcome
•ความคุ้มค่า
งบประมาณที่ใช้เทียบกับ
ผลลัพธ์ที่ได้
เปรียบเทียบระหว่าง
ผลผลิต(Output)
กับ ปัจจัยนาเข้ า (Input) ค่ าทีไ่ ด้ จะเป็ นค่ าของ
คุณลักษณะ
เปรียบเทียบระหว่ าง
ผลลัพธ์ (Effect/Outcome)
กับ
วัตถุประสงค์ (Purpose)
ค่ าทีไ่ ด้ จะเป็ นค่ าทางสถิติ
การวัดและการประเมิน
เรื่องที่คิดว่าหมู แต่ไม่หมู
ทาไมต้องประเมิน?
ประเมินอะไรบ้าง?
ประเมินอย่างไร?
หลักการและแนวคิดพื้นฐานของการประเมิน
ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัด
การวัด
(MEASUREMENT)
ความเป็นจริง
มาตรฐาน
การตัดสินใจ
(JUDGMENT)
ตัดสินคุณค่า
การประเมิน (EVALUATION)
ปรับปรุงพัฒนา
ประเมิน
ผลกระท
บ(Impact)
ผลลัพธ์
ผลลัพธ์
(outcome)
(outcome)
ผลผลิต ผลผลิต
(output)
กิจกรรม
(activity)
กิจกรรม
(activity)
งบประมาณ
(activity)
กิจกรรม
(activity)
งบประมาณ
: กลุ่มผูร
้ บั บริการ
ประสิทธิผล วัดที่กลุ่มเป้ าหมาย
(output)
กิจกรรม
ตัวชีว้ ัด (KPI)
ประเมินผล
วัดที่ตวั ผลผลิต วัดได้ทนั ที
ประสิทธิภาพ
วัดที่กระบวนการทางาน
จานวนงานกับจานวนเงิน
(ปริมาณ)
ระยะเวลา
โครงการ.ทากับสงิ่ ของ
ทรัพยาก
ร•
กิจกรรม
ผลผลิต
ผลลัพธ ์
15
ทรัพยากร
2.ทากับคน
กิจกรรมผลผลิต
ผลลัพธ ์
16
ผลล ัพธ์
1
ิ ธิผล
มิตด
ิ ้านประสท
2
ตัวชวี้ ด
ั แผนปฏิบัตก
ิ าร
มิตด
ิ ้านคุณภาพการ
ให ้บริการ
การนายุทธศาตร์ไปปฏิบัต ิ
ตัวชวี้ ด
ั ความพึงพอใจของ
ผู ้รับบริการและ
ี
ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
การวัดความพึงพอใจและไม่
พึงพอใจ
3
ิ ธิภาพของ
มิตด
ิ ้านประสท
การปฏิบต
ั ริ าชการ
ตัวชวี้ ด
ั การดาเนินการตาม
มาตรฐานเวลา
ตัวชวี้ ด
ั การเบิกจ่าย
งบประมาณ
ตัวชวี้ ด
ั การบริหารความ
ี่ ง
เสย
กระบวนการทีส
่ ร ้างคุณค่าและ
กระบวนการสนับสนุน
การกากับดูแลตนเองทีด
่ ี
ความรับผิดชอบต่อสังคม
การควบคุมภายในและการบริหาร
่ ง
ความเสีย
่ ง
แผนบริหารความเสีย
4
มิตด
ิ ้านการพัฒนาองค์กร
ตัวชวี้ ด
ั การพัฒนาบุคลากร
ตัวชวี้ ด
ั ฐานข ้อมูล
ตัวชวี้ ด
ั การจัดการความรู ้
ตัวชวี้ ด
ั นโยบายกากับดูแล
องค์การทีด
่ ี
การพัฒนาบุคลากร
ระบบฐานข ้อมูล
การจัดการความรู ้ การดาเนิน
โครงการกากับดูแลตนเองทีด
่ ี
จันทนาได้ คะแนน 50 ได้ เปอร์ เซนไทล์ ที่ 92
สุ ดาได้ คะแนน 60 ได้ เปอร์ เซนไทล์ ที่ 80
ใครเก่งกว่ากัน
จันทน
า
สุดา
หลักการ/แนวคิด
การรานงาน
การประเมิน
การวิเคราะห์
ข้ อมูล
การประเมินโครงการ
การวิเคราะห์
โครงการ
(Project Evaluation)
การออกแบบการ
ประเมิน
สถิต/ิ ตัวชี้วดั
การสร้ าง
เครื่องมือ
ประเมิน
นโยบาย/ภารกิจ
แผนงาน
โครงการ
โครงการ
โครงการ
โครงการ
การบริหารโครงการ
กระบวนการ
ดาเนินงานโครงการ
การประเมินโครงการ
(Process )
(Evaluation)
ขัน้ ตอนการประเมินโครงการ
1
ศึกษารายละเอียดโครงการที่จะประเมิน
2
กาหนดวัตถุประสงค์ หรือประเด็นการประเมินและตัวชี้วดั
3
กาหนดขอบเขตของการประเมิน
4
5
วิธีการประเมินและกาหนดตัวชี้วดั
กาหนดเครื่องและการสร้างเครื่องมือ
6
กำรเก็บรวบรวมข้ อมูลและกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
7
8
การสรุปผลการประเมิน
การรายงานการประเมิน
และค่านา้ หนัก (ถ้ ามี)
1
ศึกษารายละเอียดโครงการที่จะประเมิน
การวิเคราะห์ โครงการ
การศึกษาเอกสารที่
เกี่ยวข้องกับโครงการ
ตรวจสอบความสมบูรณ์
ความชัดเจนของเนื้ อหา
และโครงสร้างองค์ประกอบของโครงการ
23
ทบทวน ความรู้เบือ้ งต้น
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
ผูประเมิ
นโครงการ ตอง
้
้
ทาความเขาใจ
และ
้
วิเคราะหโครงการ
กอนที
่
่
์
จะ
ประเมินผลโครงการ
ตรวจสอบ
การเขียนโครงการ
ความสั มพันธ์ ความเชื่อมโยงระหว่ าง ส่ วนประกอบโครงการ
ชื่อโครงการ/งาน
หลักการและเหตุผล
ทาอะไร
วัตถุประสงค์ /เป้ าหมายโครงการ
กิจกรรม
ต้ องทา
อะไรบ้ าง
งบประมาณ
การวัดและประเมินผล
ทาได้ แค่ ไหน
ทาไม
ต้ องทา
ทาแล้ว
ได้ อะไร
ส่วนประกอบในการเขียนโครงการ
ส่วนนา
ส่วนที่จะบอกข้อมูลเบื้องต้นของโครงการโดยให้รายละเอี ยด
เกี่ยวกับชื่อโครงการ ผูด้ าเนินโครงการหรือผูร้ ับผิดชอบ
โครงการความเป็ นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ /เป้ าหมาย
ส่วนเนื้อหา
ส่วนที่บอกสาระสาคัญของโครงการ
โดยให้รายละเอี ยดเกี่ยวกับ
วิธีดาเนินการหรือขั้นตอนการปฏิบัติ
อย่างละเอี ยด
ส่วนขยายความ
ส่วนประกอบต่างๆที่บอกรายละเอี ยดเกี่ยวกับ
กลุ่มเป้าหมาย ซึ่ งเป็ นกลุ่มบุคคลที่ได้รับผลจาก
การดาเนินโครงการ บอกกาหนดระยะเวลา กรณี
ที่เป็ นโครงการระยะสั้นต้องแสดงตารางเวลา
ดาเนินโครงการ สถานที่ งบประมาณค่าใช้จ่าย
รวมทั้งโครงการซึ่งอาจจะเป็ นงบประมาณรวม
หรือแจกแจงค่าใช้จ่ายอย่างละเอี ยดก็ได้ และส่วน
ของประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับจากการ
ดาเนินการตามโครงการนั้นๆ
ลักษณะของโครงการที่ดี
โครงการ
1.สามารถตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาขององค์การ
หรือหน่วยงานได้
2. มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถปฏิบัติได้
3. รายละเอียดต้ องสอดคล้ องและสั มพันธ์ กนั กล่ าวคือ
วัตถุประสงค์ ของโครงการต้ องสอดคล้ องกับหลักการและเหตุผล
และวิธีการดาเนินงานต้ องสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์
4. รายละเอียดของโครงการสามารถเข้าใจได้ง่าย สะดวกต่อการ
ดาเนินงานตามโครงการ
5. เป็ นโครงการทีส่ ามารถนาไปปฏิบตั ิได้ สอดคล้ องกับนโยบาย
และแผนงาน หลักขององค์ การ
6. มีระยะเวลาในการดาเนินงาน กล่าวคือต้องระบุ
ถึงวันเวลาที่เริ่มต้น และสิ้นสุดโครงการ
7.
สามารถติดตาม ประเมินผลได้
ความ
สาเร็จ
การเขียนโครงการ
โครงการ
ต้องสามารถตอบคาถามต่างๆ ต่อไปนี้ได้
โครงการอะไร
ทาไมต้องทา
ทาเพือ่ อะไร
ทากับใคร ทาเท่าไร
ทาอย่างไร
ทาเมือ่ ใด นานเท่าใด
ใครทา
ใช้ทรัพยากรเท่าใด/จากไหน
ต้องประสานงานกับใคร
ได้ผลแค่ไหน
เสร็จแล้วจะได้อะไร
: ชือ่ โครงการ
: หลักการและเหตุผล
: วัตถุประสงค์
: เป้ าหมาย
: วิธ/ี ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
: ระยะเวลาดาเนินการ
: ผู ร้ บั ผิดชอบโครงการ
: งบประมาณ/แหล่งทีม่ า
: หน่วยงานสนับสนุน
: การประเมินผล
: ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั
ถ้าเป็ นโครงการฝึ กอบรมฯ.จะต้องระบุ หลักสูตร และ วิทยากร ด้วย
ภาพที่ 34
การเขียนโครงการ
ชื่อโครงการ
ใช้ภาษาที่เฉพาะเจาะจง สื่อความหมายได้ชัดเจน
แสดงถึงจุดหมายปลายทางที่ต้องการ
X โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพ
โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาเกษตรกรรม
(เนือ่ งจาก...วิชาชีพมีหลายสาขา)
หลักการและ กล่าวถึงสภาพความสาคัญหรือความจาเป็ นที่ต้องทา
โครงการเพือ่ แก้ไขปัญหาหรือพัฒนานาข้อเท็จจริงที่
เหตุผล
วิเคราะห์ได้มาอ้ างอิ ง
นโยบาย/เกณฑ์/ปัญหา
รายละเอี ยด
ผลกระทบ
สรุป
ให้เห็นถึงความจาเป็ น
ภาพที่ 35
การเขียนโครงการ
วัตถุประสงค์
เมื่อดาเนินงานตามโครงการเสร็จแล้วก่อให้เกิดอะไร
เขียนให้สอดคล้องกับชื่อโครงการ หลักการ/เหตุผล
ต้องวัดได้และปฏิ บัติได้ ถ้ามีหลายประเด็นให้เขียน
เป็ นข้อๆ แต่ไม่ควรมากเกินไป
เป้าหมาย คาดหวังถึงผลผลิตที่ได้รับไว้ล่วงหน้า ต้องการผลิตอะไร
มีปริมาณเท่าใด
ภาพที่ 36
การเขียนโครงการ
วิธีการ/ขั้นตอน
การดาเนินงาน
ยุทธวิธีท่ีจะช่วยให้งานบรรลุจดุ หมายปลายทาง
ระบุกิจกรรมที่ต้องทาให้ชัดเจน โดยเรียงลาดับ
ก่อน-หลัง
ปัจจุบันนิยมใช้ตารางเวลาดาเนินการ มีประโยชน์ในการ
ติดตามประเมินผลการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
ลาดับที่
1.
2.
3.
4.
5.
ขัน้ ตอน/รายการ
ตอนที1่ .
กิจกรรม....................
กิจกรรม....................
ตอนที2่ .
กิจกรรม....................
กิจกรรม....................
ระยะเวลาดาเนินการ(เดือน/สัปดาห์) ผู ร้ บั ผิดชอบ
หมายเหตุ
นาย............. ...........
นาง............ ...........
นางสาว.......
นาย............
...........
...........
ภาพที่ 37
:
การเขียนโครงการ
สถานที่และ
ระยะเวลา
ดาเนินการ
สถานที่ท่ีใช้ในการปฏิ บัติงานตามโครงการ
มีการปฏิ บัติงาน ณ จุดใด
กาหนดช่วงเวลาของการปฏิ บัติโครงการ
ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบโครงการ
งบประมาณ
แหล่งที่มา
ต้องประมาณการรายจ่ายในการดาเนินงานตาม
โครงการให้ใกล้เคียงความจริง มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง
โดยแยกตามหมวดรายจ่าย พร้อมทั้งระบุแหล่งเงิน
งบประมาณ
งบนอกงบประมาณ
ค่า....................
ภาพที่ 38
การเขียนโครงการ
ผูร้ ับผิดชอบ
โครงการ
ต้องระบุช่ือบุคคล หรือ ชื่อหน่วยงานที่เป็ นเจ้าของ
โครงการ หรือ ผูท้ ่ีได้รับมอบหมายให้จัดทา
โครงการ
ระบุชื่อบุคคล หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/สนับสนุน
ที่จะต้องประสานงานในการดาเนินโครงการ
ผูส้ นับสนุน
โครงการ
การประเมินผล
บอกวิธีการตรวจสอบความสาเร็จ ต้องระบุว่า
ใครเป็ นผูป้ ระเมิน เมื่อใด และประเมินอย่างไร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดคะเนเหตุการณ์ว่า เมื่อดาเนินงานเสร็จ
แล้ว ใครได้รับประโยชน์อย่างไร
มาก-น้อยเพียงใด ต้องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ภาพที่ 3
9
สรุป : การเขียนโครงการ
จะต้องตอบคาถามต่างๆ ต่อไปนี้...ให้ได้
โครงการอะไร
ทาไมต้องทา
ทาเพือ่ อะไร
เสร็จแล้วจะได้อะไร
ทากับใคร ทาเท่าไร
ทาอย่างไร
ทาเมือ่ ใด นานเท่าใด
ใครทา
ใช้ทรัพยากรเท่าใด/จากไหน
ต้องประสานงานกับใคร
ได้ผลแค่ไหน
ภาพที่ 40
ความหมาย
สรุป :
1
ชุดของกิจกรรม
ที่นำทรัพยำกร
Input
โครงการ
2
กิจกรรม
Activity
Process
3
เพือ่ ให้ได้ผลผลิต
Output
การบรรลุตามความสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์(Purpose)
ของโครงการ(Effect/Outcome) สู่ผลประโยชน์ ที่เป็ นเป้ าหมาย(Objective)
ของการพัฒนาโดยภาพรวมที่โครงการมีส่วนทาให้เกิดขึน้ (Impact)
วิเคราะห์เนื้ อหา
ที่มาของโครงการ
ภารกิจ
นโยบาย
สภาพปัจจุบนั
ความต้องการ
ปัญหา
38
ฝึ กปฏิบตั ิ :
30 นาที
แบบวิเคราะห์เนื้อหาของโครงการ
ศึกษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง
( ) แนวทางการดาเนินงานตามนโยบายการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
( ) โครงการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
ใบงานที3่
ใบงานที่ 1
วิเคราะห์ความสอดคล้อง
วิเคราะห์เนื้อหาโครงการ
ของโครงการ
ใบงานที่ 2
วิเคราะห์ความสมบูรณ์
ของโครงการ
ภาพที่ 40
ใบงานที่ 1 การวิเคราะห์ :
วิเคราะห์เนื้อหาของโครงการ
ศึกษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง
( ) แนวทางการดาเนินงานตามนโยบายการสนับสนุน
ค่าใช้จ่าย
เนื้อหา...............ศึกษาที่มาของโครงการ เกี่ยวหลักการ นโยบาย/ จุดเน้น
(อ้ างอิ งไว้ว่าอย่างไร)
วัตถุประสงค์......ความต้องตามหลักการ / นโยบาย/จุดเน้น
(อ้ างอิ งไว้ว่าอย่างไร)
เป้ าหมาย..........สิ่งที่ได้รบั ตามวัตถุประสงค์
ลักษณะการดาเนินงาน......วิธีการปฏิบตั ิ ที่จะบรรลุวตั ถุประสงค์
และเป้ าหมาย
ภาพที่ 40
แบบที่
2
:
แบบตรวจสอบความสมบูรณ์และความชัดเจนของโครงการ
ชื่อโครงการ
สนองกลยุทธ์ /มาตรฐาน
ลักษณะโครงการ
ผู ร้ บั ผิดชอบโครงการ
ระยะเวลาดาเนินการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
เป้ าหมาย
วิธดี าเนินการ/ขัน้ ตอนดาเนินการ
ทรัพยากร บุคคล/งบประมาณ
การวัดผล ประเมินผล
ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั
มี
ไม่ม ี
เพียงพอ ไม่เพียงพอ
ไม่มี
เกณฑ์การวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบตามหลักการโครงสร้างการเขียนโครงการ
สรุป
การตรวจความสมบูรณ์โครงการ
( ) มีความสมบูรณ์
) สิ่งที่ ต้องแก้ไขเพิ่มเติม
(
(
)
ไม่มีความสมบูรณ์
ภาพที่ 40
แบบที่
3
:
แบบตรวจสอบความสอดคล้องของโครงการ
สอดคล้อง
ชื่อโครงการกับสนองกลยุทธ์/มาตรฐาน
ชื่อโครงการกับหลักการและเหตุผล
ไม่สอดคล้อง
หลักการและเหตุผล กับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ กับ เป้ าหมาย
ขาดรายละเอี
ย
ด
วัตถุประสงค์กบั กิจกรรมในการดาเนินงาน
วัตถุประสงค์ กับการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลกับ เป้ าหมาย
ผลการตรวจสอบ
กิจกรรม กับงบประมาณ
กิจกรรม กับผลที่คาดว่าจะได้รบั ( ) ประเด็นที่มีความสอดคล้อง
( ) ประเด็นที ไม่มีความสอดคล้อง
ภาพที่ 40
เนื้อหา.......ศึกษาจากที่มา
1 รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 หมวด 3 มาตรา 49
ได้ บัญญัติไว้ ว่า“บุคคลย่ อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่ น้อยกว่ าสิ บสองปี
ทีร่ ัฐจะต้ องจัดให้ อย่ างทัว่ ถึงและมีคุณภาพโดยไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย ”
2 พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติพุทธศักราช 2542และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม มาตรา 10วรรค
1ได้ บัญญัติไว้ ว่า “การจัดการศึกษาต้ องจัดให้ บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน
ในการรับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานไม่ น้อยกว่ าสิ บสองปี ที่รัฐจะต้ องจัดให้ อย่ างทัว่ ถึงและมี
คุณภาพโดยไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย
3 นโยบายของคณะรัฐมนตรีได้ กาหนดตั้งแต่ ปีการศึกษา2552 ต่ อเนื่องมาจนถึงปี
การศึกษาปัจจุบนั โดยการสนับสนุนค่ าใช้ จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ ระดับอนุบาลจนจบ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
เนื้อหา.......ศึกษาจากที่มา
4 แนวทางการดาเนินงานตามนโยบายการสนับสนุนค่ าใช้ จ่าย
ในการจัดการศึกษาตั้งแต่ ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
4.1 สนับสนุนค่ าใช้ จ่ายในการจัดการศึกษา
1) ค่ าจัดการเรียนการสอน (รายหัว)
2) ค่ าหนังสื อแบบเรียน
3) ค่ าอุปกรณ์ การเรียน
4) ค่ าเครื่องแบบนักเรียน
5) ค่ ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
4.2 การบริหารงบประมาณ
สถานศึกษาจัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี
โดยมีโครงการรองรับตามระบบประกัน
คุณภาพภายใน และผ่ านความเห็นชอบ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
4.3 การมีส่วนร่วมโดยคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่ าย ประกอบด้วย
นักเรียน ผูป้ กครอง ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา
วัตถุประสงค์

เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รบั การศึกษาตัง้ แต่ระดับอนุบาลจนจบ
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานที่มีคณ
ุ ภาพและมาตรฐาน

เพื่อให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในรายการพืน้ ฐานให้ได้แก่ค่า
จัดการเรียนการสอนหนังสือเรียนอุปกรณ์การเรียนเครื่องแบบ
นักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
เป้ าหมาย

นักเรียนมีความรู้ทกั ษะกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร

นักเรียนมีความรู้และประสบการณ์ จากการจัดกิจกรรมวิชาการ/กิจกรรมทัศ
ศึ กษา

นักเรียนมีคณ
ุ ลักษณะที่พึงประสงค์

นักเรียนมีทกั ษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ(ICT) เพือ่ การแสวงหาความรู้และ
การสื่ อสารอยางสร
างสรรค
่
้
์

นักเรียนมีความสามารถทักษะและคุณลักษณะตามจุดเน้ นการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนทุกระดับ
ลักษณะการดาเนินงาน.....
การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
จัดทาแผนปฏิบตั ิ การประจาปี ผ่านความเห็นชอบคณะกรรม
สถานศึกษาฯ
 จัดทาโครงการที่รองรับตามระบบประกันคุณภาพภายใน
 แต่งตัง้ คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่ าย
 ประเมินผลการดาเนินงาน
 รายงานผลการการดาเนินงาน

ลักษณะการดาเนินงาน.....
การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน

กิจกรรมวิชาการ
คน

....จัดเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในชัน
้ เรียนเพือ
่ ให้นักเรียนทุก
อยางน
่
้ อยปี ละ
1 ครัง้
กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสื อ/เนตรนารี/ยุวกาชาด
.......ส่งเสริมให้นักเรียนมี
คุณธรรมจริยธรรมคานิ
่ งี ามและคุณลักษณะทีพ
่ งึ ประสงค ์
่ ยมทีด
ครัง้

ทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้..... จัดประสบการณ์และให้ความรู้
อยางน
่
้ อยปี ละ

อยางน
่
้ อยปี ละ
1 ครัง้
การบริการสารสนเทศ / ICT....บริการคอมพิวเตอร ์
ชัว
่ โมง/ปี /คน
อยางน
่
้ อย
40
1
ขัน้ ตอนที่ 2
2. กาหนดวัตถุประสงค์ การประเมิน
(ทาไมต้องประเมิน)
วัตถุประสงค์ กำรประเมิน
 ที่มำ
1. รูปแบบกำรประเมิน
2. วัตถุประสงค์ หรือองค์ ประกอบโครงกำร
3. ควำมต้ องกำรของผู้ใช้ ข้อมูลหรือผู้เกี่ยวข้ อง
4. ประสบกำรณ์ ผ้ ูประเมิน
5. กำรพิจำรณำร่ วมกันของผู้เกี่ยวข้ อง
 ควรมีประมำณ 3 – 5 ประเด็น
49
เทคนิคการกาหนดวัตถุประสงค์ การประเมิน
• หำ “คำสำคัญ” (Key Word) จาก วัตถุประสงค์ ของโครงกำร
• นำคำสำคัญไปขยำยควำมต้ องกำร
เช่ น
วัตถุประสงค์ ของโครงการ กาหนดไว้ ว่า
เพือ่ ให้ นักเรียนทุกคนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มาตรฐาน
“คาสาคัญ”
1. นักเรียน
2.ภาวะโภชนาการ
จะกาหนดวัตถุประสงค์ การประเมิน ได้ ว่า 1.จานวนนักเรียน
2.ภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ มาตรฐาน
กำหนดวัตถุประสงค์ของกำรประเมิน
** 2.1
วิเครำะห์ วัตถุประสงค์ ของโครงกำร
วัตถุประสงค์ของโครงกำร
1.เพื่อให้นักเรียนทุก
คนได้รบั การพัฒนา
เต็มตามศักยภาพ
คำสำคัญ
1… นักเรียน …
2…พัฒนา…
3…ศักยภาพ…
คำสำคัญ เป็ นคำ วลี ข้อควำม ที่สะท้อนให้เห็นควำมสำคัญ หรือ เน้น
ในประเด็น /ประโยค /ข้อควำม /บทควำมใด บทควำมหนึ่ ง
กำหนดวัตถุประสงค์ของกำรประเมิน
** 2.2
กำหนดจำกวัตถุประสงค์ ของโครงกำรกำหนดไว้ อย่ ำงไร
วัตถุประสงค์ของโครงกำร
1.เพื่อให้นักเรียนทุกคน
ได้รบั การพัฒนาเต็ม
ตามศักยภาพ
วัตถุประสงค์ของกำรประเมิน
?
1.จานวนนักเรียน
2.ผลการพัฒนานักเรียน
3.ศักยภาพนักเรียน
กำหนดวัตถุประสงค์ของกำรประเมิน
** 2.3
กำหนดจำกเป้ำหมำยของโครงกำรกำหนดไว้ อย่ ำงไร
เป้ำหมำยของโครงกำร
1. จำนวนนักเรียนทุก
คนได้ รับกำรพัฒนำ
เต็มตำมศักยภำพ
วัตถุประสงค์ของกำรประเมิน
1.จานวนนักเรียน
2.ผลการพัฒนานักเรียน
3.ศักยภาพนักเรียน
2. กาหนดวัตถุประสงค์การประเมิน (ต่อ)
• กำรกำหนดวัตถุประสงค์ กำรประเมินจำก จากรูปแบบการประเมิน
 ถ้ ำเป็ นรู ปแบบ CIPP จะได้
1. เพื่อประเมินบริบท (ตัวชีว้ ัดที่สำคัญ)
2. เพื่อประเมินปั จจัยนำเข้ ำ (ตัวชีว้ ัดที่สำคัญ)
3. เพื่อประเมินกระบวนกำร (ตัวชีว้ ัดที่สำคัญ)
4. เพื่อประเมินผลผลิต (ตัวชีว้ ัดที่สำคัญ)
 Kirkpatrick จะได้ 4 ข้ อ คือ ปฏิกริยำ กำรเรี ยนรู้ พฤติกรรม และผลลัพธ์ ต่อ
องค์ กำร
54
ฝึ กปฏิบตั ิ :
เขียนวัตถุประสงค์การประเมินโครงการ
ภาพที่ 40
กาหนดวัตถุประสงค์การประเมินโครงการ
จากโครงการ
วัตถุประสงค์โครงการ
1......................
2......................
เป้ าหมายโครงการ
1........................
2.......................
สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงการ
......................
......................
.................
..................
.................
วัตถุประสงค์การประเมิน
: .....................
:..................
: วัตถุประสงค์การประเมิน
: .....................
: .....................
: วัตถุประสงค์การประเมิน
: .....................
: .....................
: .....................
: .....................
: .....................
ถ้า........................................................
ภาพที่ 34
ขัน้ ตอนที่ 3 การกาหนดขอบเขตของการประเมิน
เป็ นการ
ออกแบบการประเมินผลโครงการ
(Project Evaluation Design)
สองสาวเพือ่ นซี้คุยกันบนรถเก๋ ง
เดียวฉันขอแวะร้ ำนขำยยำหน่ อยนะ
จะซือ้ ยำคุม
อ้ ำว ! ทำไมล่ ะ
เธอนี่ถำมแปลก ซือ้ ยำคุมมำกิน
ก็ไม่ ให้ ท้องไงละ
เธอจะกลัวท้ องทำละ
ก็ผัวเธอเป็ นหมัน ไม่ ใช่ เหรอ
ก็เพรำะอย่ ำงนัน้ นะซิ
ฉันจึงต้ องระวังให้ ดี
กำรออกแบบกำรประเมินโครงกำร
หมำยถึง
กำรวำงแผนเพื่อกำหนดรูปแบบ ขอบเขต
และ
แนวทำงกำรประเมิน
เพื่อให้ได้มำซึ่งสำรสนเทศที่ใช้ในกำรตอบปั ญหำของกำรประเมิน
ให้ถกู ต้อง
รู ปแบบการประเมิน
จากรูปแบบจาลอง
การประเมินโครงการ.............................................................
ใช้รปู แบบการประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดังนี้
ประเมินสภาวะแวดล้ อม
(Context Evaluation )
ประเมินปัจจัย
( Input Evaluation )
หลักการ
บุคลากร
วัตถุประสงค์ของ
โครงการ
งบประมาณ
กิจกรรมโครงการ
เป้ าหมายของ
โครงการ
วัสดุอุปกรณ์
นิเทศ กากับ ติดตาม
การเตรียมการ
ภายในโครงการ
เครื่องมือเครื่องใช้
ประเมินกระบวนการ
(Process Evaluation )
ขั้นตอนการดาเนิน
โครงการ
วัดและประเมินผล
ประเมินผลผลิต
( Product Evaluation )
ผลการดาเนินงาน
คุณภาพ
จากรูปแบบจาลอง
การประเมินโครงการ.............................................................
ใช้รปู แบบการประเมินโครงการ ของ Danail L. Kirkpatrick, 1975 ดังนี้
 ปฏิกริยา Reaction
การตรวจสอบความรูส้ ึกหรือความ
พอใจของผูไ้ ด้รบั ผลจากโครงการ
การเรียนรู้Learning
ตรวจสอบผลและความครอบคลุม
ของโครงการ
พฤติกรรม Behavior
ตรวจสอบความเปลีย่ นแปลง
ที่เกิดขึ้ น
ผลลัพธ์Result
การตรวจสอบผลลัพธ์ ผลผลิต
และผลกระทบ
Model การประเมิน (Evaluation) ของ Alkin
ประเมิน
ระบบ
(System
Assessment)
ประเมิน ประเมิน
การ
การ
วางแผน ดาเนินการ
(Program
โครงการ
(Program
Planning)
Implement)
ประเมิน ประเมิน
เพื่อการ เพื่อการ
ปรับปรุง ยอมรับ
(Program โครงการ
Improve)
(Program
Certificate)
รูปแบบการประเมิน
จำกกำรกำหนดขึน้ เอง
การประเมินโครงการ...........................................
ใช้รปู แบบการประเมินโครงการ ที่กาหนดขึน้ ดังนี้
ใช้การประเมินรูปแบบ IPO Model คือ ประเมิน 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านปัจจัยเบือ้ งต้น (Input)
ด้านกระบวนการ (Process) และด้านผลผลิต (Output)
ประเมินปั จจัย (Input)
ประชำกร วัสดุอุปกรณ์ งบประมำณ
ประเมินกระบวนกำร(Process)
ขัน้ ตอนและวิธีดำเนินงำน
ประเมินผลผลิต (Output)
ประสิทธิภำพ และคุณภำพ
ประเมินผลลัพธ์ (Result)
ประสิทธิผล และผลกระทบ
กาหนดขอบเขตการประเมินโครงการ
ขอบเขตในการประเมิน
ขอบเขต
: เนือ้ หำ = ประเด็นกำรประเมิน
การจะหาคําตอบตามวัตถุประสงค ของการประเมิน การประเมินจะมี
ขอบเขตมากน อยอย างไร
• ขอบเขตตามพื้นที่ดาํ เนินงาน (Area Approach)
• ขอบเขตตามระยะเวลา (ป 2557…….) (Time Approach)
• ขอบเขตตามประชากรเป าหมาย (Population Approach)
การกาหนดประชากร
ประชำกร :
กลุ่มผู้ท่ เี กี่ยวข้ องกับโครงกำร/กิจกรรมทัง้ หมด เช่ น
ครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน กรรมกำรสถำนศึกษำฯ
กลุ่มตัวอย่ ำง :
กลุ่มประชำกรบำงส่ วนที่เลือกจำกประชำกรผู้เกี่ยวข้ องกับ
โครงกำร ได้ มำโดยสุ่ม หรือเลือกตำมหลักกำร
65
ั ท์ (Definition of Terms)
การนิยามศพ
ั ท์เป็ นการสร ้างความเข ้าใจและสอ
ื่ ความหมาย
นิยามศพ
ให ้ผู ้ประเมินกับผู ้อ่านรายงานการประเมินเกิดความเข ้าใจตรงกัน
และขยายความหมายให ้สามารถตรวจวัดหรือสงั เกตได ้
ั ท์ทน
้
ศพ
ี่ ย
ิ ามจะใชเฉพาะการประเมิ
นและเจาะจงใน
เรือ
่ งนัน
้ ๆ ไม่ได ้มีความหมายทัว่ ไป สว่ นใหญ่นย
ิ ามตัวแปร
ั ท์ทเี่ กีย
และคาศพ
่ วข ้องการประเมิน
ั ท์
ประเภทการนิยามศพ
ั ท์ทางวิชาการ
1.ศพ
ั ท์หลายความหมาย
2.ศพ
ั ท์ความหมายไม่แน่นอน 4.ศพ
ั ท์วลีข ้อความยาว
3.ศพ
ั ท์ทต
ประเภทคาศพ
ี่ ้องนิยาม
ั ท์ทางวิชาการ
ศพ
ั ท์ทางวิชาการ (Technical Term) เป็ นคาศพ
ั ท์ทรี่ ู ้/
ศพ
ี
เข ้าใจกันเฉพาะในวงวิชาการนัน
้ ๆ ต่างวงการ/ต่างอาชพ
ิ ธิภาพ หรือการวิเคราะห์สหสม
ั พันธ์
อาจจะไม่เข ้าใจ : ประสท
ั ท์หลายความหมาย
ศพ
ั ท์ทเี่ หมือนกันแต่หลายความหมายขึน
เป็ นคาศพ
้ อยูก
่ บ
ั
สภาพแวดล ้อมหรือบริบท (Context) หรือสถานการณ์ทใี่ ช ้
ั เจน :
คานัน
้ จึงต ้องนิยามระบุให ้ชด
ึ ษา นั กเรียน
นั กเรียน อาจเป็ นนั กเรียนอนุบาล นั กเรียนประถมศก
ึ ษา
มัธยมศก
ั ท์ทต
ประเภทคาศพ
ี่ ้องนิยาม
ั ท์ความหมายไม่แน่นอน
ศพ
ั ท์ทส
เป็ นคาศพ
ี่ ามารถสร ้างความรู ้และความเข ้าใจให ้
เกิดความแตกต่างกัน โดยขึน
้ กับความรู ้และความเข ้าใจของ
แต่ละบุคคล :
ื่ หรือ ศักยภาพ
ค่านิยม ความคิดเห็น ท ้ศนคติ ความเชอ
ั ท์วลีข ้อความยาว
ศพ
ั ท์ทเี่ ชอ
ื่ มต่อด ้วยคาหรือขยายความ
เป็ นข ้อความคาศพ
ทาให ้เกิดความหมายเฉพาะเจาะจง โดยเป็ นข ้อความหรือคา
ทีม
่ ค
ี วามยาวมาก หากใชข้ ้อความนัน
้ เขียนในรายงานผล
้
การประเมินจะทาให ้เกิดความซ้าซอนกั
นมาก อาจทาให ้ผู ้อ่าน
สบสน :
ั ท์ทต
ประเภทคาศพ
ี่ ้องนิยาม
ั ท์วลีข ้อความยาว
ศพ
้ การข ้อมูลสารสนเทศ
- พฤติกรรมการใชบริ
- ความพึงพอใจของนักเรียนทีม
่ ต
ี อ
่ การให ้บริการอาหารกลางวัน
ั ฤทธิใ์ นการเรียนของนักเรียน
- ผลสม
นิยาม
้ การ
- พฤติกรรมการใชบริ
- ความพึงพอใจของนักเรียน
ั ฤทธิใ์ นการเรียน
- ผลสม
ั ท์
วิธก
ี ารนิยามคาศพ
ั ท์
การนิยามศพ
จะเป็ นการให ้ความหมายอธิบายว่าคา หรือข ้อความนัน
้
่ มายถึงแปลว่าอะไร (Meaning)
คืออะไร (Refer To) ไม่ใชห
ั ท์เชงิ แนวความคิด (Conceptual Definition)
การนิยามศพ
เป็ นการให ้ความหมายแบบสรุปใจความสาคัญ
โดยใชค้ าหรือข ้อความอืน
่ ทีเ่ ป็ นแนวความคิดมาให ้
ั ท์ :
ความหมายของคาศพ
“ก า ร ป ร ะ เ มิ น ” ห ม า ย ถึ ง ก า ร ห า ค่ า ข อ ง ส ิ่ ง ที่ ต อ
้ งการตาม
วัตถุประสงค์
ั ท์
วิธก
ี ารนิยามคาศพ
ั ท์
การนิยามศพ
ั ท์เชงิ ทฤษฎี (Constitutive
2. การนิยามศพ
ั ท์ตามทฤษฎี/
Definition) เป็ นการให ้ความหมายคาศพ
ั ท์นัน
พจนานุกรม อธิบายลักษณะอาการทีท
่ าให ้เกิดคาศพ
้ ๆ
“การวิจัย” หมายถึง การดาเนินการค ้นคว ้าซ้าๆ เพือ
่ หา
ข ้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล
ั ท์เชงิ ปฏิบต
3. การนิยามศพ
ั ก
ิ าร (Operational
ั ท์ทรี่ ะบุ บอก การ
Definition) เป็ นการให ้ความหมายคาศพ
ั ท์นัน
กระทา พฤติกรรม/อาการคาศพ
้ เพือ
่ ใชวั้ ด/สงั เกตได ้
“การวิจัย” หมายถึง การตัง้ ประเด็นปั ญหา สมมติฐาน การเก็บ
รวบรวมข ้อมูล การวิเคราะห์และสรุปผลวิจัย
“เรียนดี” หมายถึง นักเรียนทีม
่ ผ
ี ลคะแนนเฉลีย
่ สะสมมากกว่า 2.5
นิยามศัพท์(Definition)
นิยาม(Definition)....เป็นการให้ความหมายของ
ลักษณะ ข้อมูล ตัวชี้วัด เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
• โครงกำร
• ประเด็นกำรประเมินทุกประเด็น
• ตัวชีว้ ัดที่สำคัญ
• ผู้ให้ ข้อมูล
• อื่น ๆ เช่ น รูปแบบและผู้เกี่ยวข้ อง เป็ นต้ น
72
นิยามศัพท์
นิยำมจำกโครงกำร
เช่ น โครงกำรจัดกิจกรรมพัฒนำผู้เรี ยน หมำยถึง....
หมายถึง.....การจัดกิจกรรมวิชาการ คุณธรรมจริยธรรม ทัศนศึกษา
และบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร(ICT)
มาจาก ......นโยบายการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาขั้นพื้ นนาน
73
นิยามศัพท์
นิยามจาก...ประเด็นการประเมิน
ประเด็นกำรประเมิน...... ควำมรู้ของนักเรียน
......ประสบกำรณ์ ของนักเรียน
พิจารณาจากคาสาคัญ
(Key Word ) ได้แก่
ความรู ้ ประสบการณ์ นักเรียน
ความรู ้
หมายถึง....อธิบาย สิง่ ใหม่ ๆ ทีไ่ ด้จากการไปทัศนศึกษา
ประสบการณ์ หมายถึง ......บันทึกสิง่ ทีไ่ ด้ทา ได้เห็นทีไ่ ด้จากการไป
ทัศนศึกษา
นักเรียน หมายถึง.......ผูเ้ รียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6
ปี การศึกษา 2556
74
ขอบเขตความรู ้
ความรู ้ใหม่
ความรู้
ใหม่
สงิ่ ใหม่ทไี่ ด ้มา
(มุมมอง แง่มม
ุ ความคิด วิธค
ี ด
ิ ) ต่อยอด
ความรู ้เดิม
ปรับกระบวนทัศน์ใหม่
(แนวคิดเดิมเปลีย
่ นไป)
องค์ความรู ้ทีเ่ ป็ นของตนเอง
การได ้มาซงึ่ ความรู ้
•
•
•
•
•
การอ่าน
การฟั ง
ั ถาม / การตัง้ คาถาม
การซก
การสงั เกต
การจดบันทึก
นิยามศัพท์
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน หมายถึง........................
ผูเ้ รียน หมายถึง........................
ความรู้ หมายถึง........................
ทักษะ หมายถึง........................
ประสบการณ์ หมายถึง........................
ศักยภาพ หมายถึง........................
เสริมสร้าง หมายถึง........................
ส่งเสริม หมายถึง........................
บริการ หมายถึง........................
ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั
เป็ นผลทีมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การประเมินโครงการ
เขียนเป็ นข้อ ๆ หรือ บรรยายเป็ นความเรียง
1………………………………
2………………………………
3………………………………
78
แนวทางการเขียนผลที่คาดว่าจะได้
•
•
•
•
ทัง้ ผลทำงตรงและทำงอ้ อม
ควรระบุในรำยละเอียดว่ ำผลดังกล่ ำวจะตกกับใครเป็ นสำคัญ
ไม่ ควรเขียนในลักษณะที่ล้อจำกวัตถุประสงค์
เขียนประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับโดยตรงมำกที่สุด ไปหำประโยชน์ น้อย
ที่สุดจำกกำรวิจัย
• ไม่ ขยำยควำมเกินควำมเป็ นจริง ต้ องอยู่ในขอบข่ ำยของ
วัตถุประสงค์ ท่ ศี ึกษำเท่ ำนัน้
ตัวอย่ างเช่ น วัตถุประสงค์ คือ “ เพือ่ ศึกษา…” ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับก็ไม่ ควรเขียน
ล้อเลียนในลักษณะ “ เพือ่ ทราบ…” เพราะการศึกษาเรื่องใดก็ย่อมจะทราบเรื่องนั้นอยู่
แล้ว ควรเขียนในทานองว่ า เมือ่ ทราบผลแล้วจะนาผลไปใช้ ประโยชน์ อะไร
แนวทางการเขียนผลที่คาดว่าจะได้
วัตถุประสงค์
ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ
 เพื่อให้ นักเรียนทุกคนได้ รับกำรศึกษำ
ตัง้ แต่ ระดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำ
ขัน้ พืน้ ฐำนที่มีคุณภำพและมำตรฐำน
 นักเรียนมีควำมพร้ อมที่จะเรียน
เนื่องจำกได้ รับกำรสนับสนุนค่ ำเล่ ำเรียน
หนังสือเรียน เครื่องแบบอุปกรณ์ กำร
เรียน และกิจกรรมพัฒนำคุณภำพผู้เรี ยน
 เพื่อให้ กำรสนับสนุนค่ ำใช้ จ่ำยใน
รำยกำรพืน้ ฐำนให้ ได้ แก่ ค่ำจัดกำร
 โรงเรียนสำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอ
เรียนกำรสอนหนังสือเรียนอุปกรณ์
และจัดกิจกรรมพัฒนำคุณภำพผู้เรียน
กำรเรียนเครื่องแบบนักเรียนและ
กิจกรรมพัฒนำคุณภำพผู้เรียน
อย่ ำงมีประสิทธิภำพเพิ่มขึน้
 ผู้ปกครองนักเรี ยนได้ รับกำรบรรเทำภำระ
ค่ ำครองชีพ
ฝึ กปฏิบตั ิ :
เขียนขอบเขตการประเมินโครงการ
รูปแบบการประเมินโครงการ
ประเด็นการประเมินโครงการตามรูปแบบ
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง
นิยามศัพท์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดรับ
ภาพที่ 40
ขัน้ ตอนที่
4
วิธีการประเมิน/ตัวชี้วดั
ขอบเขตการนาเสนอ
วิธีการประเมิน
ข้อมูล
ตัวชี้วดั
กาหนดตัวชี้วดั
เกณฑ์ตวั ชี้ว ั
คาถามให้คิด
ร้ องเท้ ำอะไรไม่ กัด?
รองเท้าแตะเพราะแตะเฉยๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินกับตัวชี้วัด
•
เอกสารบรรยาย น.ท.หญิง กาญจนา ค้ ายาดี : การกาหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ ค่ าเป้าหมาย น้าหนัก และเกณฑ์ การให้ คะแนนตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ
ตัวแปร ที่คดั สรร ซึ่งใช้บ่งบอกสภาพ,
บอกสภาวะ หรือสะท้อนลักษณะของ
ทรัพยากร การดาเนินงาน
หรือผลการดาเนินงาน
คุณลักษณะ หรือระดับที่ถือว่าเป็ นคุณภาพ
ความสาเร็จ ซึ่งใช้เทียบเคียง เพื่อการตัดสิน
หรือเพื่อการบ่งบอกสภาวะ อย่างใดอย่างหนึ่ ง
คุณลักษณะ หรือระดับที่ถือว่า
เป็ นคุณภาพ ความสาเร็จ
ตามที่ยอมรับได้
วิธีการประเมิน
วิธีประเมิน.....การจะได
คาตอบตามวัตถุประสงค์ของการประเมินที่กาหนดจะทาอย่างไรถึงจะได คาตอบ
1.รูปแบบประเมิน
วัตถุประสงค์ประเมิน 3.ประเภทประเมิน
IPP MODEL
( )ประเมินผลภำยใน
ประเมินปัจจัย
ประเมินกระบวนการ ( ) ประเมินสิน้ สุด
ดำเนินกำร
ประเมินผลผลิต
4.เป้ าหมายประเมิน
* ประสิทธิผล
ประสิทธิภำพ
( )ประผลผลิต/ผลลัพธ์ *
ข้อมูลและตัวชี้วดั
ข้อมูล
1) ข้ อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data )
คือข้ อมูลที่ได้ จำกกำรสำรวจเองโดยตรง ( ไม่ ว่ำจะเป็ นกำรนับ
กำรวัดกำรทดลอง กำรสอบถำม กำรสังเกต )
ซึ่งจะเก็บรวบรวมได้ ใน 2 ระดับคือ
- ระดับประชำกร ( population )
- ระดับตัวอย่ ำง ( Sample )
2) ข้ อมูลทุตยิ ภูมิ ( Secondary Data )
คือข้ อมูลที่มีผ้ ูรวบรวมไว้ แล้ ว ( และมักผ่ ำนกำรวิเครำะห์ ขัน้ ต้ น
แล้ ว ) ผู้ใช้ ไม่ ต้องทำกำรสำรวจเอง เช่ น ข้ อมูลรำยงำนกำรประเมิน
โครงกำรของหน่ วยงำน
ลักษณะข้อมูล
1. ข้ อมูลเชิงปริมำณ ( Quantitative Data )
เป็ นข้ อมูลที่ใช้ แทนขนำดหรือปริมำณที่วัดเป็ นตัวเลข เช่ นนำ้ หนัก
ส่ วนสูง คะแนนสอบ ฯลฯ สำมำรถนำไปคำนวณ หรือ
เปรียบเทียบได้ โดยตรง
2. ข้ อมูลเชิงคุณภำพ ( Qualitative Data )
เป็ นข้ อมูลที่บอกคุณลักษณะ ไม่ สำมำรถวัดออกมำเป็ นค่ ำตัวเลขได้
โดยตรง เช่ น เพศ ศำสนำ สี ควำมพึงพอใจ หำกเรำต้ องกำร
วิเครำะห์ อำจจะต้ องกำหนดตัวเลข เพื่อให้ แทนข้ อมูลเหล่ ำนี ้
ก่ อน
ตัวชี้วัด (Indicator)
เป็ นเครื่องมือที่สามารถใช้อธิบายเหตุการณ์
ณ เวลาในเวลาหนึ่ง ทิศทางการพัฒนา การ
ดาเนินงาน และความสัมพันธ์ของสิ่งที่ตอ้ งการวัด
กับสิ่งอื่นที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ 40
ตัวชี้วดั (Indicator)
The key indicators are used to determine just how to integrate
the information into your business plan
ตัวชีว้ ัด เป็ นข้ อควำมที่บ่งบอกถึงข้ อมูลที่แสดงสถำนะที่เป็ นจริ งของโครงกำร
เพื่อประโยชน์ ในกำรกำกับตรวจสอบกำรดำเนินกำรตำมแผนที่กำหนด
ตัวชี้วัด Indicator = ประเด็น + ตัวชี้ + ตัววัด (หน่ วยนับ)
[ อ้ วน ] + [ พุง ] + [ รอบเอว (นิ้ว) ]
ตัวชี้วัดความสาเร็ จ= ประเด็น + ตัวชี้ + ตัววัด (หน่ วยนับ) + ตัวเกณฑ์
[ อ้ วน ] + [ พุง ] + [ รอบเอว (นิ้ว) ] + [ 40 ]
วิธีการเขียนตัวชี้วัด
ไม่มีทิศทำง ตัวชี้ วดั (ไม่มีค่ำตัวชี้ วดั )
มี ทิศทำง ตัวชี้ วดั ควำมสำเร็ จ(มี ค่ำตัวชี้ วดั จำนวน สัดส่วน
อัตรำส่วน ร้อยละ ค่ำเฉลี่ ย .....)
กำหนดตัวชีว้ ัด
ตัวชี้ วัด (Indicator)
เป็ น สิ่งที่บ่งบอกคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัด
เป็ นเกณฑ์(Criteria )
ระดับ (Degree) ของสิ่งที่ข้ วี ัดหรือตัวชี้วัดว่าแค่ไหนถึงจะเป็ นที่พอใจหรือได้ มาตรฐาน
เกณฑ์สัมบูรณ์(Absolute Criteria)
เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นเองตามระดับที่
ควรจะมี
เกณฑ์สัมพัทธ์(Relative Criteria)
เกณฑ์ทีม่ ีความจาเป็ นต้อง
เทียบเคียงจากโครงการทีม่ ี
ลักษณะใกล้เคียงกัน
ลักษณะของตัวชี้ วัด
 เชิงคุณภาพ (Qualitative Variable)
ค่าในเชิงคุณลักษณะ เช่น ความเหมาะสม ความ
สอดคล้อง วัดเป็นตัวเลขโดยตรงไม่ได้ แต่สามารถแปลงเป็น
ตัวเลขเชิงปริมาณได้
 เชิงปริมาณ (Quantitative Variable)
จะมีค่าเป็ นตัวเลขสามารถระบุได้ หรืออยูใ่ นรูปของ
ร้อยละ สัดส่วน อัตราส่วน อัตรา ค่าเฉลี่ย เป็ นต้น
93
มิติตวั ชี้วดั
ตัวชี้วดั (KPI)เชิงปริมาณ
(คาที
่ ะไดรั
่ จ
้ บ)
Quantity
Effective
เชิงประสิ ทธิภาพ
(ความสามารถ + เวลา+คุมค
้ า)
่ Efficiency
Quality
เชิงคุณภาพ
(เกณฑ+ความพึ
งพอใจ)
์
เชิงประสิ ทธิผล
(ความสาเร็จ+ผลผลิต+ผลลัพธ)์
ผลการดาเนินงานเชิง... ที่ทาได้จริง
.. I=
เป้าหมายเชิง... ที่กาหนดไว้ตามแผน
X 100
ตัวชี้วัด เกณฑ์
ตัวชี้ วดั เชิงปริมาณ
(Quantitative Indicator)
ตัวชี้ วดั เชิงคุณภาพ
(Qualitative Indicator)
เป็ นตัวชี้ วดั ทีน่ ับจานวนได้
เช่น จานวนคน ร้อยละ เฉลีย่
เป็ นตัวชี้ วดั ทีน่ ับจานวนได้ยาก
ต้องใช้เครื่องมือแปลผล
เช่น ความพึงพอใจ ความเหมาะสม
พฤติกรรม
เกณฑ์(Criteria )
1. เกณฑ์ สัมบูรณ์ (Absolute Criterion)
เป็ นเกณฑ์ที่เราตัง้ ไว้ อาจจะเกิดขึน้ ก่อนโดยมีความ
เป็ นอิสระจากพฤติกรรมของกลุ่ม
2. เกณฑ์ สัมพัทธ์ (Relative Criterion)
เป็ นเกณฑ์ที่ได้มาจากพฤติกรรมของกลุ่ม
ขั้นตอนการสร้างตัวชี้ วัด
• จากวัตถุประสงค์ของโครงการ ให้ทาการกาหนด Keywords ทีจ่ ะบ่ง
บอกว่าโครงการได้บรรลุวตั ถุประสงค์
• กาหนดตัวชี้ วัด วิธีการวัด หน่วยวัด และความหมายตัวชี้ วัดในแต่ละ
ประเด็น
• กาหนดเกณฑ์ของตัวชี้ วัด ในกรณีทีก่ ารประเมินมีเป้าหมายหรือเกณฑ์
เปรียบเทียบ
• ควรมีระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของ
ตัวชี้ วัด
• นาตัวชี้ วัดทีไ่ ด้ ไปสร้างเป็ นเครือ่ งมือวัดต่อไป
แนวทางในการหาตัวชี้วัด
• กาหนดขอบเขตผลลัพธ์
• ระบุความคาดหวัง
• ระบุสิ่งที่จะสะท้อนถึงความคาดหวัง
กิจกรรม
ทัศนศึกษา
ขอบเขตผลลัพธ์
ของกิจกรรม
ความรู้
ประสบการณ์
ความคาดหวัง
ความรู้ที่ได้รบั
ประสบการณ์ที่ได้รบั
ตัวชี้วดั
ร้อยละของนักเรียนมีความรู้
ตามที่กาหนด
ร้อยละของนักเรียนมีประ
การณ์ตามที่กาหนด
แค่ไหนถึงจะ
ยอมรับได้
ต้องไปกาหนดเกณฑ์การประเมิน หรือ ระดับค่าเป้ าหมายให้ชดั เจน
การกาหนดตัวชี้วดั ในระดับต่ างๆ
ผลผลิต (Output)
– ต้ องเขียนข้ อควำมในลักษณะที่ถูกกระทำ
(Passive voice) เช่ น “ผู้เข้ ำรับกำรอบรมมีควำมรู้มีควำม
เข้ ำใจในเรื่องกำรประเมินโครงกำร”
กิจกรรม(Process/Activity)
– ขึน้ ต้ นประโยคด้ วยถ้ อยคำ “กิริยำ” ที่เป็ นรูปธรรมโดยมี
ควำมหมำยถึงกิจกรรม เช่ น “ให้ ควำมรู้แก่ นักเรียน”
“จัดประชุมกลุ่ม” “บริกำรคอมพิวเตอร์ ”“เผยแพร่ เอกสำรคำแนะนำ”
99
การกาหนดตัวชี้วดั ในระดับต่ างๆ
ผลลัพธ์ (Outcome)
– บอกถึงกลุ่มเป้ำหมำยที่ต้องกำรให้ เปลี่ยนพฤติกรรม และ
บอกถึงผลประโยชน์ ท่ กี ลุ่มเป้ำหมำยจะได้ รับในแง่ ท่ จี ะทำให้ เกิดกำร
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เช่ น “ครูจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ได้ อย่ ำง
ถูกต้ อง
ผลกระทบ(Impact)
- ต้ องเขียนในลักษณะที่บอกว่ ำ กลุ่มสังคมหรือประชำชนโดย
ส่ วนรวมจะได้ รับผลประโยชน์ อะไร เช่ น เด็กอำยุ ๐ – ๕ ปี มีภำวะ
โภชนำกำรปกติ
100
ตัวชี้วดั ผลสาเร็จ (Performance Indicator)
กำรก ำหนดตั ว ชี ว้ ั ด ผลส ำเร็ จ อำจจะก ำหนดหรื อใช้
ตัวชีว้ ัดในมิตขิ องกำรประเมินต่ ำงๆ ดังต่ อไปนี ้ เช่ น
ด้ ำนปริมำณ (Quantity)
ด้ ำนคุณภำพ (Quality)
ด้ ำนเวลำ/สถำนที่ (Timeless /Place) และ
ด้ ำนต้ นทุน (ค่ ำใช้ จ่ำย) Cost (Price)
101
ตัวอย่างตัวชี้วัดที่เป็ นผลลัพธ์
• ร้อยละของนักเรียนอ่านไม่คล่อง เมือ่ เขียนไม่คล่อง เมือ่ เทียบกับ
นักเรียนทั้งหมดในช่วงชั้นนั้น
• ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาทีผ่ ่านการสอนซ่ อมเสริม
ทีค่ ะแนนสูงขึ้ น
• ร้อยละของ............................................
เกณฑ์ ตัวชี้วดั : คาอธิบายรายละเอียดระดับความสามารถ(Indictors)
เกณฑ์ (Criteria) หมายถึง ระดับ (Degree) ของสิง่
ทีจ่ ะวัดหรือตัวชี้ วัดว่าแค่ไหนถึงจะเป็ นทีพ่ อใจหรือได้
มาตรนาน เช่น ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 60 ของนักเรียนที่สอบ
ผ่ านวิชาวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น
ซึ่งทีม่ าของเกณฑ์ อาจจะมาแหล่งอ้างอิง หรือจากนัก
ประเมินเอง
ขั้นตอนในการสร้ างเกณฑ์
1. เลือกประเภทของเกณฑ์
2. กาหนดจานวนระดับของเกณฑ์
3. กาหนดประเด็น
4. เขียนคาอธิบายของเกณฑ์
5. พิจารณา/ตรวจสอบ
การกาหนดเกณฑ์การประเมินของตัวชี้วัด
เกณฑ์การประเมิน (Rubric): ชุดของแนวการให้คะแนน
ตัวอย่าง: ระดับความสาเร็จในงาน...........................
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับ 1 เสร็จไม่ทันจนเสียงาน หรือแก้ไขตั้งแต่ 5 จุดขึ้นไป
ระดับ 2 เสร็จไม่ทันแต่ไม่เสียงาน หรือแก้ไขตั้งแต่ 4 จุดขึ้นไป
ระดับ 3 เสร็จทันภายในระยะเวลาที่กาหนดและแก้ไขไม่เกิน 3 จุด
ระดับ 4 เสร็จทันภายในระยะเวลาที่กาหนดและแก้ไขไม่เกิน 2 จุด
ระดับ 5 เสร็จทันภายในระยะเวลาที่กาหนดถูกต้องตามระเบียบงาน.........และไม่มีการแก้ไข
เกณฑ์การให้คะแนน (Rubric Scoring): แนวทางการตรวจให้คะแนน
การกาหนดเกณฑ์การประเมินของตัวชี้วัด
เกณฑ์การประเมิน (Rubric): ชุดของแนวการให้คะแนน
ตัวอย่าง: ร้อยละของจานวนเอกสารที่สามารถเขียนได้ถูกต้องแล้วเสร็จภายใน 1 วัน
หลังจากที่ได้รับมอบ
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับ 1 ร้อยละ 60
ระดับ 2 ร้อยละ 65
ระดับ 3 ร้อยละ 70
ระดับ 4 ร้อยละ 75
ระดับ 5 ร้อยละ 80
เกณฑ์การให้คะแนน (Rubric Scoring): แนวทางการตรวจให้คะแนน
สูตรการหาช่วงของเกณฑ์
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ = คะแนนสูงสุด – คะแนนตา่ สุด
จานวนระดับคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน
ระดับคุณภาพ
10 – 12
ดี
7–9
พอใช้
4–6
ควรปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ตัง้ แต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
สรุป 􀂉 ผ่าน 􀂉 ไม่ผา่ น
ตัวอย่างที่ 1 เกณฑ์ ระดับคุณภาพ
เกณฑ์
ดีมำก( 3)
1. ตอบคาถามจากเรื่อง ตอบคาถามถูกต้ อง
ทุกข้ อ
ที่อ่ำน
บอกเนือ้ หาสาระ
2. บอกความสาคัญ
ถูกต้ องได้ ใจความ
ของเรื่องที่อ่าน
ต่ อเนื่อง
3. บอกข้อคิดจากเรื่อง บอกข้ อคิดได้
ตรงประเด็นสมบูรณ์
ทีอ่ ่ าน
4. แสดงความคิดเห็น
จากเรื่องทีอ่ ่ าน
1. รูบริคนี้
เสนอความคิดเห็น
ด้ วยเหตุผลและ
เป็ นประโยชน์
ระดับคุณภำพ
ดี(2)
ตอบคาถามผิด
ไม่ เกิน 3 ข้ อ ใน 5 ข้ อ
บอกเนือ้ หาสาระ
ได้ ถูกต้ อง แต่ วกวน
บอกข้ อความได้
ตรงประเด็น แต่ ไม่
ต่ อเนื่อง
เสนอความคิดเห็นได้
อย่ างมีเหตุผล
มี 4 เกณฑ์
2. แต่ละเกณฑ์ มี 3 ระดับคุณภาพ คือ ดีมาก (3) ดี (2) และ ควรปรับปรุง
(1)
3. รูบริคนี้
คะแนนเต็ม (คะแนนสูงสุด) = 12 คะแนน (4 เกณฑ์ x 3 คะแนน)
4. รูบริคนี้ คะแนนตา่ สุด = 4 คะแนน (4 เกณฑ์ x 1 คะแนน)
5. แทนค่าตามสูตร จะได้ 12 − 4 = 8 = 2.66 = 3 (ปั ดเศษ)
3
3
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ มีช่วงคะแนนของเกณฑ์การตัดสินห่างกันช่วง
ละ 3 คะแนน ดังนี้
ปรับปรุง(1)
ตอบผิดมากกว่า
3 ข้ อ ใน 5 ข้ อ
บอกเนือ้ หาสาระ
ได้ บ้าง
บอกข้ อคิดได้ บ้าง
แต่ วกวน
เสนอความคิดเห็น
แต่ ไม่ แสดงเหตุผล
คะแนนตา่ สุด 4 – 6
ซึ่งทุกช่วงคะแนน ห่างกัน
ช่วงละ 3 คะแนนพอดี
(เท่ากัน)
การวิเคราะหดั
์ ชนีการวัด
ประสิ ทธิภาพในการจาแนก ผู้เรียนรูแล
ง)
้ ว(เก
้
่ กับ
ผู้ทีย
่ งั ไมเรี
่ ยนรู้(ออน)
่
S=
Rpre
Rpost
S
T
=
=
=
=
Rpost - Rpre
T
จานวนผู ้ทดสอบทีต
่ อบถูกก่อนเรียน
จานวนผู ้ทดสอบทีต
่ อบถูกหลังเรียน
ดัชนีในการวัดผลการสอบ
จานวนผู ้ทดสอบทัง้ หมด
คา่ S ทีเ่ หมาะสม = 0.5 ขึน
้ ไป
แนวทางการประเมินผลระดับโครงการ (Log-Frame)
ชื่อโครงการ โครงการจัดอบรมการประเมินโครงการ
วัตถุประสงค์ โครงการ เพือ่ ประเมินผลภายหลังการฝึ กอบรม โดยเน้ นการเปลีย่ นแปลงของผู้เข้ารับการ
อบรม
วัตถุประสงค์การประเมิน
1. เพือ่ ประเมินกระบวนการจัด
ฝึ กอบรม
ประเด็น
ประสิทธิภาพของการ
ฝึ กอบรม
ตัวชี้ วัด
-จานวนผู้เข้ ารับการ
อบรมเทียบกับผู้สมัคร
เกณฑ์
- ไม่ น้อยกว่าร้ อยละ 60
ของผู้สมัคร
2. เพือ่ ประเมินผลภายหลังการ ประสิทธิผลของการฝึ ก - ความรู้ของผู้รับการอบรม - สู งขึน้ ทุกคน
ฝึ กอบรม โดยเน้ นการเปลีย่ นแปลง อบรม
(Pre-Post)
- ทักษะสู งขึน้ ทุกคน
ของผู้เข้ ารับการอบรม
(เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ) - ทักษะการใช้ ภาษาของ
ผู้รับการอบรม
ใบงานปฏิบตั การ
1.การกาหนดตัวชี้วดั และเกณฑ์ ชี้วดั
ประเด็นการประเมิน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แนวทางการประเมินผลระดับโครงการ (Log-Frame)
ชื่อโครงการ โครงการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมทัศนศึกษา
วัตถุประสงค์ โครงการ เพือ่ ให้ นักเรียนมีความรู้และประสบการณ์
วัตถุประสงค์การประเมิน
1. เพือ่ ประเมินความรู้ของนักเรียน
ตัวชี้ วัด
-ความรู้ที่ได้ รับ
2. เพือ่ ประเมินประสบการณ์ ของนักเรียนที่ที่ -ทักษะการใช้ ภาษาของนักเรียน
-ทักษะการสังเกตของนักเรียน
ได้ รับ
เกณฑ์
- ไม่ น้อยกว่าร้ อยละ 60 ของ
ผู้สมัคร
- สู งขึน้ ทุกคน
- ทักษะสู งขึน้ ทุกคน