แพทย์หญิงดารินทร์ อารีย์โชคชัย - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม

Download Report

Transcript แพทย์หญิงดารินทร์ อารีย์โชคชัย - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม

การเฝ้ าระวังอาการภายหลังได ้รับ
การสร ้างเสริมภูมค
ิ ุ ้มกันโรค
Adverse Event Following
Immunization (AEFI) Surveillance
ั
แพทย์หญิงดารินทร์ อารียโ์ ชคชย
สาน ักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
Contents…
• ความสาคัญ
• อาการภายหลังได ้รับการสร ้างเสริมภูมค
ิ ุ ้มกันโรค
• ระบบเฝ้ าระวัง AEFI
ี ป้ องกันโรค
• ระบบเฝ้ าระวัง AEFI จากวัคซน
ไข ้หวัดใหญ่ H1N1 2009
ความสาค ัญของการเฝ้าระว ังฯ
ADVERSE EVENTS FOLLOWING IMMUNIZATION
SURVEILLANCE AND INVESTIGATION
คาจาก ัดความ
ค ว า ม ผิด ป ก ติท า ง ก า ร แ พ ท ย์ท ี่เ กิด ขึ้น
ั ดาห์ หล งั ได้ร บ
ภายในระยะเวลา 4 ส ป
ั การสร้า ง
ั ว่าภาวะนนอาจเกิ
เสริม ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค และ สงสย
ั้
ด
จากการได้ร ับการสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
ทาไม ?

ปัจจุบ ันอ ัตราป่วยด้วยโรค EPI ลดลงอย่างมาก

้
ประชาชนสนใจ AEFI มากขึน

ี
ใชเ้ ป็นข้อมูลในการพิจารณาเลือกใชว้ ัคซน

คุม
้ ครองผูบ
้ ริโภค
ั ันธ์ระหว่างการให้ว ัคซน
ี และการเกิดโรค
ความสมพ
EPI
ี
ระยะก่อนให้ว ัคซน
ระยะกาจ ัด / กวาดล้างโรค
อุบ ัติการณ์
โรค
ระบาด
ความครอบคลุม
ี
ของการให้ว ัคซน
อาการข้างเคียง
AEFI
หยุดการให้
ี
ว ัคซน
ผลกระทบทีต
่ ามมา
 ประชาชนขาดความศร ัทธา และไม่ให้การยอมร ับในการ
ี ในแผนงานสร้างเสริมภูมค
ให้บริการว ัคซน
ิ ม
ุ ้ ก ันโรคแห่งชาติ
้ ตามมา
เนือ
่ งจากอาการข้างเคียงภายหล ังทีเ่ กิดขึน
ี ในแผนงานสร้างเสริมภูมค
 ประชาชนปฏิเสธการร ับว ัคซน
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
ี ลดลง
 ความครอบคลุมของการได้ร ับว ัคซน
ี ในประชาชน
 อาจเกิดการระบาดของโรคทีป
่ ้ องก ันได้ดว้ ยว ัคซน
้ ที่ หรือกระจายในหลายพืน
้ ทีไ่ ด้
บางกลุม
่ บางพืน
จาเป็นต้องมี
ี AEFIs
• การเฝ้าระว ังอาการภายหล ังได้ร ับว ัคซน
• การสอบสวนหาสาเหตุ
• การป้องก ันก่อนเกิด และการดาเนินการเมือ
่ เกิด
ี
อาการภายหล ังได้ร ับว ัคซน
ื่ มน
 ประชาชนมีความเชอ
่ ั ในการร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
 งานบริการสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
ได้ร ับการพ ัฒนา
Why monitor AEFI?
ี ชนิดใดทีป
1. ไม่มวี ัคซน
่ ลอดภ ัย 100 %
ี่ งและแนวทางในการ
2. ต้องทราบปัจจ ัยเสย
แก้ไขปัญหา
ื่ มน
3. เพือ
่ สร้างความเชอ
่ ั ในระบบการ
สร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
่ ยในการพ ัฒนาและ
4. เป็นเครือ
่ งมือทีช
่ ว
ปร ับปรุงระบบการบริการสาธารณสุข
เมือ
่ พบผูม
้ อ
ี าการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
เราควรจะทาอย่างไร ?
เราควรจะต้องเตรียมการ
อะไรบ้าง ?
Thailand Immunization Program
สาเหตุ
ี (Vaccine
้ เนือ
1. เกิดขึน
่ งจากปฏิกริ ย
ิ าของว ัคซน
induced AEFIs)
้ เนือ
2. เกิดขึน
่ งจากความผิดพลาดด้านการบริหาร
ี (Programme-related AEFIs)
จ ัดการว ัคซน
3. เกิดจากความกล ัวเข็ม หรือ กล ัวความเจ็บปวดจาก
การ ฉีดยา(Injection Reaction)
้ โดยบ ังเอิญ (Coincidental AEFIs)
4. เกิดขึน
้ โดยไม่ทราบสาเหตุ
5. เกิดขึน
ปฏิกริ ย
ิ าทีเ่ กิดจากความกล ัวการฉีด/เข็ม
(Injection reaction)
ี
 พบในเด็กโตกว่า 5 ปี หรือผูใ้ หญ่ไม่เกีย
่ วก ับว ัคซน
่ นใหญ่เกิดเพราะกล ัวการฉีด หรือเพราะความเจ็บ
สว
ี
ในขณะฉีดว ัคซน
 ทีพ
่ บบ่อยคือ อาการเป็นลม (fainting or syncope)
ี มือเท้าเย็น เหยือ
หล ังฉีดจะมีหน้าซด
่ ออก
้ าเจียน
 อาจมีคลืน
่ ไสอ
 อาจมีหายใจเร็ว (hyperventilation) กลนหายใจ
ั้
ั วมด้วย อาจไม่รส
ึ ต ัว
 บางรายอาจมีอาการชกร่
ู้ ก
ั้
เป็นระยะสนๆ
่ นใหญ่จะมีอาการดีขน
 สว
ึ้ เร็ว เมือ
่ จ ัดให้อยูใ่ นท่าทีถ
่ ก
ู ต้อง
ี
เกิดเนือ
่ งจากปฏิกริ ย
ิ าของว ัคซน

Antigen
- Toxoid
ื้ ตาย
- เชอ
้ื เป็น
- เชอ

Adjuvant
- Alum

Preservative
- ปรอท

Diluent
ื้
- ไม่ปราศจากเชอ

Antibiotic
- neomycin
ี
เกิดเนือ
่ งจากความผิดพลาดด้านการบริหารจ ัดการว ัคซน

ไม่สะอาด

ผิดจุด

ผิดเทคนิค

ผสมผิด

ผิดขนาด

เก็บผิด

ี ในรายทีม
การฉีดว ัคซน
่ ข
ี อ
้ ห้าม
สรุป
 การป้องก ันโรคย่อมดีกว่าการร ักษาเสมอ
ี ใดทีไ่ ม่มค
ี่ ง หรือปลอดภ ัย 100 %
 ไม่มว
ี ัคซน
ี วามเสย
 สร้างและพ ัฒนาระบบการเฝ้าระว ังอาการภายหล ังได้ร ับการ
สร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรคให้เข้มแข็ง
ี
 สร้างความมน
่ ั ใจให้ก ับสาธารณชนในการได้ร ับว ัคซน
 เตรียมความพร้อมในการให้การร ักษาผูม
้ อ
ี าการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรคอย่างท ันท่วงทีอยูต
่ ลอดเวลา
 มีการพ ัฒนาระบบการบริหารงาน และการบริการด้าน
้
สาธารณสุขทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพมากยิง่ ขึน
Classification of AEFIs

Programme related
ี
เกิดจากการบริหารจัดการและวิธก
ี ารให ้วัคซน

Vaccine – induced
ื้ ทีเ่ ตรียมวัคซน
ี หรือสว่ นประกอบต่าง ๆ
เกิดจากตัวเชอ

Injection Reaction
เกิดจากความกลัวเข็ม หรือ กลัวความเจ็บจากการฉีดยา

Coincidental
ี ในห ้วงเวลาทีม
บังเอิญได ้รับวัคซน
่ อ
ี าการจากสาเหตุอน
ื่

Unknown
พิสจ
ู น์ไม่ได ้ว่าเกิดจากสาเหตุใด
Impact on Patient Health:
Programmatic Error
Programmatic
error
Insulin given to 70 infants instead of DTP
vaccine with 21 deaths
TT
DTP
Insulin vial
Vaccine vials
AEFI-Adverse reactions after immunizations
Local
: usually mild and self limited
ปวด, บวม, แดงร้ อนบริเวณที่ฉีด
 พบบ่ อยในวัคซีนเชื้อตาย
Systemic พบในวัคซีนเชื้อเป็ นมากกว่ าวัคซีนเชื้อตาย (ยกเว้ นไอกรน)
 ไข้ , อ่ อนเพลีย, ปวดศรีษะ, ปวดกล้ ามเนือ้  เบื่ออาหาร คลืน่ ไส้ อาเจียน
 ในกรณีวคั ซีนเป็ นอาจมีอาการคล้ ายโรคอย่ างอ่ อนๆ เช่ น มีไข้ และมีผนื่ เกิดขึน้
ภายหลังระยะฟักตัว (ประมาณ 7-21 วัน)
Allergic
reactions
 เกิดจากวัคซีน หรือส่ วนประกอบของวัคซีน
 พบได้น้อย (< 1/500,000) แต่ อาจรุ นแรงมากได้
 สามารถลดความเสี่ยงได้โดยการสอบถามประวัติการแพ้ /ปฏิกริ ิยาหลังฉีดครั้งก่อน
จะต้ องมีการเฝ้ าระวังและรายงานอย่ างรวดเร็วโดยครบถ้ วน
1. กลุม่ อาการเฉพาะที่ (Local Adverse Events)
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
ื้ บริเวณทีฉ
1. ฝี มีเชอ
่ ีด (Bacterial :
การมีรอยนูนหรือก ้อนในตาแหน่งที่
ี หรือเซรุม
ฉีดวัคซน
่ และมีอาการบวม
แดงรอบๆ มักมีไข ้และต่อม
น้ าเหลืองโต ถ ้าเจาะรอยนูนหรือก ้อน
จะพบหนอง ต ้องมีผลการตรวจทาง
ื้ แบคทีเรียจาก
ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารพบเชอ
ี กรมหรือเพาะเชอ
ื้
การย ้อมสแ
ถ ้าพบลักษณะนุ่มตรงกลาง
(fluctuate) แสดงว่ามีของเหลว
มักจะมีหนองทาให ้ปวด
การรักษา
- ผ่าฝี incision และ drain
ี กรมดูเชอ
ื้ -สง่ เพาะเชอ
ื้
- ตรวจย ้อมสแ
ื้ ทีพ
- ให ้ยาปฏิชวี นะตามเชอ
่ บ
ทุกชนิด
มักเกิดอาการ
ภายใน 5 วัน
ื้ บริเวณทีฉ
2. ฝี ไร ้เชอ
่ ีด (Sterile
Abscess) : ภาวะทีม
่ รี อยนูนหรือก ้อน
ี หรือเซรุม
ในตาแหน่งทีฉ
่ ีดวัคซน
่
โดยไม่มไี ข ้หรืออาการบวมแดง ถ ้า
เจาะรอยนูนหรือก ้อนจะไม่พบหนอง
สว่ นใหญ่พบเป็ นไตแข็งใต ้ผิวหนั ง
ื้
อาจมีของเหลวแต่ตรวจไม่พบเชอ
แบคทีเรีย
- ให ้การรักษาตามอาการ
- อาจประคบน้ าอุน
่ บริเวณทีเ่ ป็ นไต
ทุกชนิด
มักเกิดอาการ
ภายใน 5 วัน
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
3. อาการเฉพาะทีท
่ เี่ กิดขึน
้
อย่างรุนแรง (Severe Local
Reaction)
หมายถึง มีอาการบวมแดง
รอบตาแหน่ง ทีฉ
่ ีดร่วมกับ
สภาวะอย่างน ้อยหนึง่ อย่าง
ดังนี้
 บวมลามไปถึงข ้อทีอ
่ ยูใ่ กล ้
ทีส
่ ด
ุ
 ปวดบวมแดงนานเกิน 3 วัน
จาเป็ นต ้องเข ้ารักษาใน
โรงพยาบาล
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
ี จะ
ถ ้าเป็ นปฏิกริ ย
ิ าจากวัคซน
ทุกชนิด
หายได ้เอง ภายใน 2 – 3 วัน มักเกิดอาการ
ั ดาห์ ให ้การรักษา
หรือ 1 สป
ภายใน 5 วัน
ตามอาการ ไม่จาเป็ นต ้องให ้
ยาปฏิชวี นะ
ต ้องแยกจาก cellulitis ซงึ่ เกิด
ื้ แบคทีเรีย ซงึ่
จากการติดเชอ
มักจะบวมนูน (induration)
แดงร ้อน รอบๆ บริเวณทีฉ
่ ีด
และเจ็บมากเวลาจับต ้อง
การรักษา จาเป็ นต ้องให ้ยา
ื้ ทีต
ปฏิชวี นะตามเชอ
่ รวจพบ
ั
หรือสงสย
2. กลุม่ อาการทางระบบประสาท (Nervous System Adverse Events)
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
1. Vaccine-Associated
Paralytic Poliomyelitis (VAPP)
ภาวะทีม
่ อ
ี าการครบทุกข ้อดังนี้
 กล ้ามเนือ
้ แขนขามีอม
ั พาตอ่อน
แรงอย่างเฉียบพลันแบบ
asymmetry
 มีไข ้ในขณะทีผ
่ ู ้ป่ วยเริม
่ มี
อาการอัมพาต และยังคงมี
กล ้ามเนือ
้ อ่อนแรงนานเกินกว่า
60 วัน นับจากวันเริม
่ มีอาการ
ื้ ไวรัสโปลิโอสาย
- ตรวจพบเชอ
ี ในอุจจาระ (เก็บ
พันธ์วค
ั ซน
อุจจาระ 2 ครัง้ ๆ ละ 8 กรัม
ภายใน 14 วันหลังเริม
่ มีอาการ
ื้ ไวรัส)
AFP สง่ ตรวจแยกเชอ
- ควรตรวจหาระดับ
immunoglobulin ในเลือด ผู ้ที่
มี hypogammaglobulin จะมี
ี่ งสูงทีจ
ความเสย
่ ะเกิด VAPP
การรักษา
- รักษาตามอาการและ
ประคับประคอง
- กายภาพบาบัด
- ให ้ IgG ถ ้ามี
hypogammaglobulin
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
OPV
เกิดขึน
้ ภายใน 430 วันหลังได ้รับ
ี หรือ
วัคซน
ั ผัส
4-75 วันหลังสม
ี
กับผู ้ได ้รับวัคซน
OPV
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
2. Guillain–Barre Syndrome
(GBS)
ภาวะทีม
่ อ
ี าการครบทุกข ้อ
ดังต่อไปนี้
 กล ้ามเนือ
้ แขนขาอัมพาตอ่อน
แรงอย่างเฉียบพลัน ทัง้ สองข ้าง
เท่าๆ กัน ไม่มไี ข ้ในขณะทีผ
่ ู ้ป่ วย
เริม
่ มีอาการอัมพาต
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
- ตรวจร่างกายโดยเฉพาะทาง
ระบบประสาทอย่างละเอียด
ั หลังจะ
- การตรวจน้ าไขสน
พบว่าไม่มเี ซลล์แต่มรี ะดับ
โปรตีนสูงขึน
้ (cell protein
dissociation)
การรรักษา ให ้การรักษาตาม
อาการและประคับประคอง
- อาจมีภาวะการหายใจลาบาก
ในระดับทีร่ น
ุ แรง
- ปั จจุบน
ั ให ้ IVIG ในการรักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
TT, Hep-B
มักเกิดภายใน
ั ดาห์
6 สป
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
3. Encephalopathy
ั หลังจะพบ
การตรวจน้ าไขสน
DTP, Measles
ภาวะทีม
่ อ
ี าการอย่างน ้อย 2
้
อยูใ่ นเกณฑ์ปกติใชแยกจาก
สว่ นใหญ่เกิด
อาการ ดังต่อไปนี้
ื้ ภาวะติดเชอ
ภายใน 72
ชวั่ โมงหลัง DTP

ั
ชก
(encephalitis)

มีการเปลีย
่ นแปลงของ
- ให ้การรักษาตามอาการและ หรือ 6-12 วัน
ั ปชญ
ั ญะอย่างชด
ั เจน
สติสม
ประคับประคอง ดูแลเมือ
่ มี
นานอย่างน ้อย1 วัน
ั โดยเฉพาะ airway
การชก

มีการเปลีย
่ นแปลงทาง
ั เจนนาน
พฤติกรรมอย่างชด
อย่างน ้อย 1 วัน
หลัง measles
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
4. สมองอักเสบ
(Encephalitis)
ภาวะทีม
่ อ
ี าการดังต่อไปนี้
 ไข ้ ร่วมกับ
่ มึน
 มีอาการทางสมอง เชน
ั สน ไม่รู ้สก
ึ ตัว เกร็ง
งง สบ
ั หรือ
ชก
 มีการเปลีย
่ นแปลงทางทาง
พฤติกรรม
อาการแสดงคล ้ายกับ
encephalopathy แต่ตรวจ
ั
พบความผิดปกติในน้ าไขสน
หลังมีเซลล์ผด
ิ ปกติ ระดับ
น้ าตาล และโปรตีนเพิม
่ ขึน
้
- เพือ
่ พิสจ
ู น์สาเหตุ ต ้องสง่
เลือด CSF หรือสงิ่ สง่ ตรวจ
ื้
อืน
่ ๆ เพือ
่ ค ้นหาเชอ
- เก็บเลือดสง่ ตรวจหา
ื้ ต่างๆ ทีอ
antibody ต่อเชอ
่ าจ
เป็ นสาเหตุ
การรักษา ตามอาการและ
แบบประคับประคอง
MMR, measles,
JE
(hypothetical)
มักเกิดภายใน 30
วันหลังได ้รับ
ี
วัคซน
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
5. เยือ
่ หุ ้มสมองอักเสบ
(Meningitis)
หมายถึง ภาวะทีม
่ อ
ี าการไข ้
ปวดศรีษะและคอแข็ง และ
่
อาจมีอาการทางสมอง เชน
ั สน
มึนงง สบ
ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
เพือ
่ ชว่ ยในการหาแหล่งติด
ื้
เชอ
ั หลัง แยก
ตรวจน้ าไขสน
aseptic จาก baeterial
ื้ – สง่ CSF
- การติดเชอ
ื้ ย ้อมสแ
ี กรม
เพาะเชอ
ื้ และหา
- สง่ เลือดเพาะเชอ
ื้ ที่
ระดับ antibody ต่อเชอ
ั เชน
่ mumps virus
สงสย
การรักษา ตามอาการและ
ื้ ทีพ
ยาปฏิชวี นะตามเชอ
่ บ
MMR
มักเกิดภายใน
30 วันหลังได ้รับ
ี (1-4
วัคซน
wks)
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
ั : เป็ นการชก
ั ทัง้ ตัว
6. อาการชก
- ถามประวัตก
ิ ารเจริญเติบโต-
ทุกชนิด
โดยไม่มอ
ี าการหรืออาการแสดง
การคลอด
โดยเฉพาะ
ทางประสาทอืน
่ ๆ
ั ในครอบครัว การ
- ประวัตช
ิ ก
Measles, (6-12
ได ้รับยาต่างๆ
วัน)
- ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
Pertussis (0-2
- Febrile Seizures :
ั ร่วมกับมีไข ้
หมายถึง มีอาการชก
ี ส (วัดทาง เพือ
สูง 38.5 องศาเซลเซย
่ หาสาเหตุอน
ื่ ๆ ของไข ้ (coปาก)
- Afebrile Seizures :
ั
incidince) และการชก
สว่ นใหญ่มักจะพบเป็ นแบบมีไข ้
ั และไม่มไี ข ้
หมายถึง มีอาการชก
ร่วมด ้วย
ร่วมด ้วย
ให ้การรักษา ตามอาการให ้ยา
็ ตัวบ่อยๆ อาจ
ลดไข ้ เชด
ั
จาเป็ นต ้องให ้ยาระงับชก
วัน)
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
้
7. เสนประสาท
Brachial ทีไ่ ป
ให ้การรักษาตามอาการ
เลีย
้ งหัวไหล่และแขนอักเสบ
ให ้ยาแก ้ปวด
(Brachial Neuritis)
หมายถึง ภาวะมีอาการอย่างน ้อย
หนึง่ อาการดังต่อไปนี้ ทีบ
่ ริเวณ
ี
แขนหรือไหล่ข ้างทีฉ
่ ีดวัคซน
หรือข ้างตรงข ้าม หรือทัง้ สองข ้าง
 เจ็บปวดทีแ
่ ขนหรือหัวไหล่
 มีอาการกล ้ามเนือ
้ แขนหรือ
หัวไหล่ออ
่ นแรงและอาจลีบเล็ก
ื่ มของเสนประสาท
้
 มีการเสอ
บริเวณแขนและหัวไหล่ อาจ
ี ความรู ้สก
ึ
สูญเสย
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
TT
มักเกิดขึน
้ หลังฉีด
ี 2-28 วัน
วัคซน
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
8. Sciatic N injury ภายหลังการ - อาการ sequelae น ้อยกว่า
ทุกชนิด
ฉีก IM ทีส
่ ะโพกผิดตาแหน่ง ทา
โปลิโอ
อาการมักเกิด
ให ้เกิดอาการ
- ให ้การรักษาตามอาการ
ี
ภายหลังฉีดวัคซน
กล ้ามเนือ
้ ขาข ้างทีฉ
่ ีดอ่อนแรง
- หลัง physiotherapy จะกลับดี 1 ชวั่ โมง - 5 วัน
ปวดบริเวณกล ้ามเนือ
้
ขึน
้ ได ้ภายใน 3-9 เดือน
gluteus
ปวดไปตามแนวประสาทของขา
มี
hyporeflexia
กล ้ามเนือ
้ ลีบ
หลัง 40-60 วัน
3. กลุม่ อาการอืน่ ๆ (Other Adverse Reaction)
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
1. ไข ้ (Fever) หมายถึง มี
อาการไข ้ โดยไม่พบสาเหตุอน
ื่
ร่วมด ้วย อาจเป็ นกรณีใดกรณี
หนึง่ ดังนี้
ี ส
 มีไข ้สูง 38.5 องศาเซลเซย
(วัดทางปาก) นานเกิน 3 วัน โดย
วัดอย่างน ้อยวันละ 1 ครัง้
ี ส
 มีไข ้สูง 39.5 องศาเซลเซย
(วัดทางปาก) ตัง้ แต่หนึง่ ครัง้ ขึน
้
ไป
ควรตรวจหาสาเหตุของไข ้ ซงึ่
อาจเป็ นอาการของโรคอืน
่ ๆ ที่
เผอิญเกิดขึน
้ พร ้อมกับการได ้รับ
ี (co-incidence)
วัคซน
โดยการตรวจทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
่ การสง่ เลือดเพาะ
เพิม
่ เติมเชน
ื้ แบคทีเรียหรือแยกเชอ
ื้ ไวรัส
เชอ
ื้ ต่างๆ ที่
สง่ หา antibody ต่อเชอ
พบได ้บ่อย ในพืน
้ ทีห
่ รือฤดูกาล
นัน
้ ๆ
การรักษา ให ้การรักษาตาม
อาการให ้ยา paracetamol อาจ
ให ้หลังฉีดทันทีในรายทีเ่ คยมี
ประวัต ิ
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
ทุกชนิด DTP พบ
บ่อยสว่ นใหญ่เกิด
ภายใน 1-2 วัน
ี
หลังได ้รับวัคซน
ยกเว ้น measles
MR และ MMR ที่
จะเกิดหลังได ้
ี 6-12 วัน
วัคซน
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
2. อาการหน ้ามืด/เป็ นลม
Hypotonic
Hyporesponsive Episode
(HHE) มีอาการ เกิดขึน
้ โดย
ฉั บพลันเป็ นเพียงชวั่ คราว
และหายได ้เอง ต ้องมี
อาการ ครบทัง้ 3 อาการ :
กล ้ามเนือ
้ อ่อนแรง
(hypotonic)
ิ่ เร ้า
การตอบสนองต่อสง
ลดลง
ี หรือเขียว
ซด
ั้
สว่ นใหญ่จะเป็ นอยูร่ ะยะสน
และหายได ้เอง
ในระยะทีม
่ ก
ี ล ้ามเนือ
้ อ่อน
แรงต ้องดูแลเรือ
่ ง airway
ระวัง aspirate
pneumonia
ไม่เป็ น contraindication
ี ครัง้ ต่อไป
ในการให ้วัคซน
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
DTP
ี ชนิดอืน
วัคซน
่
พบได ้บ ้างแต่
น ้อยมาก
เกิดภายใน 48
ชวั่ โมง (สว่ น
ใหญ่ภายใน
12 ชวั่ โมง)
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
3. Persistent crying : มีอาการร ้อง
ติดต่อกันนาน อย่างน ้อย 3 ชวั่ โมง
ี งกรีดร ้องเป็ นครัง้ คราว
อาจมี เสย
สว่ นใหญ่จะหยุดร ้อง ภายใน 1 วัน
การให ้ยาแก ้ปวด
อาจชว่ ยได ้บ ้าง
DTP, Pertussis
มักเกิดขึน
้ ภายใน
24 ชวั่ โมง
4. อาการปวดข ้อ (Arthralgia) : มี
อาการปวดข ้อเล็กๆ ทีอ
่ ยูต
่ ามสว่ น
่ ข ้อนิว้ มือ นิว้ เท ้า โดยไม่ม ี
ปลาย เชน
อาการข ้อบวม/แดง อาจเป็ นนาน
ตัง้ แต่ 10 วันขึน
้ ไป เป็ นแบบ
persistent หรือเป็ น transient คือ
หายเองภายใน 10 วัน
หายได ้เอง
ให ้การรักษาตามอาการ อาจ
จาเป็ นต ้องให ้ยา analgesic
Rubella, MMR
มักภายใน 1-3
ั ดาห์ หลังได ้รับ
สป
Rubella หรือ MMR,
MR
5. Thrombocytopaenia : มีเกล็ด
เลือดตา่ กว่า 50,000 เซล/มล และ
อาจพบอาการดังต่อไปนี้
มีจด
ุ เลือด / รอยซ้าตามผิวหนั ง
มีอาการเลือดออก
สว่ นใหญ่อาการไม่รน
ุ แรงและหาย
ได ้เอง
บางรายอาจต ้องให ้เสตียรอยด์และ
หรือให ้เลือด
MMR, measles
มักเกิดภายใน 2-5
ั ดาห์หลังได ้รับ
สป
measles หรือ MCV
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
6. Disseminated BCGinfection (BCG-itis) : ภาวะทีม
่ ี
ื้ และแพร่กระจายของ
การติดเชอ
ื้ BCG ไปทั่วร่างกาย และมี
เชอ
ผลตรวจทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารพบ
ื้ Mycobacterium bovis สาย
เชอ
พันธุ์ BCG สนับสนุนการวินจ
ิ ฉั ย
ตรวจร่างกายพบต่อมน้ าเหลือง
โตทั่วไปและอาจพบรอยโรคใน
อวัยวะต่างๆ ได ้ สว่ นใหญ่พบใน
่
ผู ้มีภม
ู ค
ิ ุ ้มกันบกพร่อง เชน
HIV/AIDS
การรักษา ให ้ anti TB
regimens ซงึ่ รวมทัง้ isoniazid
และ rifampicin
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
BCG
เกิดขึน
้ ภายใน 112 เดือน หลังได ้
ี
วัคซน
7. กระดูกและหรือกล ้ามเนือ
้ อักเสบ การรักษา ให ้ anti TB regimens BCG
Osteitis/Osteomyelitis หมายถึง รวมทัง้ isoniazid และ rifampicin เกิดขึน
้ ภายใน 1-12
มีภาวะกระดูกอักเสบ และมีผล
เดือน หลังได ้ BCG
ื้
ตรวจทางห ้องปฏิบัตก
ิ ารพบเชอ
Mycobacterium bovis สายพันธุ์
BCG เป็ นต ้นเหตุ
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
8. ต่อมน้ าเหลืองอักเสบ
สว่ นใหญ่หายได ้เอง แต่อาจเป็ น
(Lymphadenitis):
เวลาหลายเดือน ไม่จาเป็ นต ้องให ้ เกิดสว่ นใหญ่
หมายถึง ภาวะทีม
่ อ
ี าการอย่างใด
ยาเฉพาะ TB รักษา
ภายใน 2-6 เดือน
อย่างหนึง่ ดังต่อไปนี้
แต่ในกรณีทม
ี่ ก
ี ารยึดติดของ
หลังได ้ BCG

ต่อมน้ าเหลืองโตอย่างน ้อย 1
ต่อมขนาด 1.5 ซม. หรือมากกว่า

ื่ มผิวหนั งและต่อม
มีรเู ปิ ดเชอ
ผิวหนั งกับต่อมน้ าเหลือง หรือมี
น้ าเหลืองไหลออกจาก sinus เป็ น
เวลานาน พิจารณา
น้ าเหลือง
1. ทา surgical drainage
ทีอ
่ ก
ั เสบ
2. ให ้ anti TB ฉีดเข ้ารอบๆ
ี มัก
สว่ นใหญ่เกิดจาก BCG วัคซน
บริเวณทีม
่ ก
ี ารอักเสบ
เป็ นข ้างเดียวกับทีฉ
่ ีด (สว่ นใหญ่
(การให ้ยาทาง systemic ไม่
เป็ นทีร่ ักแร ้)
ได ้ผล)
BCG
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
9. โลหิตเป็ นพิษ (Sepsis) *
หมายถึง ภาวะมีการเจ็บป่ วยรุนแรง
เกิดขึน
้ แบบฉั บพลัน อันเนือ
่ งมาจาก
ื้ แบคทีเรีย โดยมีผลการ
การติดเชอ
ื้ แบคทีเรียในกระแส
ตรวจพบเชอ
โลหิต
ต ้องนึกถึงเสมอในรายทีม
่ ไี ข ้สูง มี
การเปลีย
่ นแปลงทางคลินก
ิ รุนแรง
มากขึน
้ เร็ว และมีอาการแสดงของ
ื้ ในหลายระบบ ต ้องตรวจ
การติดเชอ
ทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร เจาะเลือด
ื้ ก่อนให ้ยาปฏิชวี ะ
ตรวจหาเชอ
ั
ต ้องรีบนาสง่ โรงพยาบาลเมือ
่ สงสย
10. Toxic Shock Syndrome *
หมายถึง กลุม
่ อาการทีม
่ ไี ข ้สูง
เฉียบพลัน ร่วมกับอาเจียน และถ่าย
อุจจาระเป็ นน้ า โดยเกิดภายใน 2 - 3
ชวั่ โมงหลังได ้รับการสร ้างเสริม
ี ชวี ต
ภูมค
ิ ุ ้มกันโรค และอาจทาให ้เสย
ิ
ภายใน 24 -48 ชวั่ โมง
การวินจ
ิ ฉั ยได ้เร็วมีผลต่อการรักษา ทุกชนิด
และการอยูร่ อดของผู ้ป่ วย
็ ก นาสง่
ให ้สารน้ ารักษาภาวะชอ
โรงพยาบาล เพือ
่ ให ้ยาปฏิชวี นะและ
การรักษาทีเ่ หมาะสมด่วน (สว่ น
ใหญ่เกิดจาก S.aureus toxin)
* เป็ น Program error ที่รุนแรง ต้องรีบรายงาน
ทุกชนิด
มักเกิดภายใน 5 วัน
ี
หลังได ้รับวัคซน
4.กลุม่ อาการแพ้ Acute Hypersensitivity Reaction
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การตรวจเพิม
่ เติมและ
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การดูแลร ักษา
่ งเวลา
ชว
1.อาการแพ ้ (Allergic
หายได ้เอง (Self limiting)
ทุกชนิด
Reaction)
antihistamine อาจชว่ ยบ ้าง
สว่ นใหญ่เกิดขึน
้
หมายถึง การแพ ้ไม่รน
ุ แรง โดยมี
การแพ ้อาจเกิดจากสาเหตุอน
ื่ ๆ
ภายใน 24 ชวั่ โมง
อาการอย่างน ้อยหนึง่ อาการที่
่ อาหาร ยา พิษจากแมลง
เชน
ี
หลังรับวัคซน
เกิดขึน
้ ภายใน 24 ชวั่ โมง
aeroallergens หรือ สารต่างๆ
ดังต่อไปนี้
ั ประวัตเิ กีย
ดังนัน
้ การซก
่ วกับการ

่ ผืน
อาการทางผิวหนัง เชน
่
ลมพิษ
ั ผัสกับสารอืน
ได ้รับหรือสม
่ ๆ
ี หรือซรี ั่ม จะชว่ ย
นอกจากวัคซน

ี งวี๊ ด
หายใจมีเสย
ในการป้ องกัน และการวินจ
ิ ฉั ย

บวมทีห
่ น ้า หรือบวมทั่วไป
AEFI
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
2. Anaphylactoid Reaction
(Acute Hypersensitivity
Reaction)
หมายถึง มีการแพ ้ปานกลาง และ
มีอาการอย่างน ้อยหนึง่ อาการที่
เกิดขึน
้ ภายใน 2 ชวั่ โมง
ดังต่อไปนี้
ี งวี๊ ด (wheezing)
 หายใจมีเสย
หอบจากหลอดลมหดเกร็ง และมี
SOB
ี ง Stridor ทีเ่ กิด
 หายใจมีเสย
ี งหดเกร็งหรือบวม
จากกล่องเสย
 อาการทางผิวหนังอย่างน ้อย
หนึง่ อาการดังนี้ ลมพิษ หน ้าบวม
บวมทั่วร่างกาย
หายได ้เอง (Self limiting)
antihistamine อาจชว่ ยได ้บ ้าง
ให ้ supportive และรักษาตาม
อาการอืน
่ ๆ
ในรายทีม
่ อ
ี าการรุนแรงและแยก
จาก anaphylaxis ไม่ได ้ ให ้การ
่ เดียวกับ anaphylaxis
รักษาเชน
Anaphylactioid reaction
ั AgE
เกิดขึน
้ โดยไม่ต ้องอาศย
ซงึ่ ต่างจาก anaphylaxis
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
ทุกชนิด
สว่ นใหญ่เกิดขึน
้
ภายใน 2 ชวั่ โมง
ี
หลังรับวัคซน
นิยามอาการภายหล ังได้ร ับ
การสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
การตรวจเพิม
่ เติมและ
การดูแลร ักษา
3. Anaphylaxis (Anaphylactic
Shock): ภาวะการแพ ้รุนแรงที่
่ าวะไหลเวียนโลหิต
นาไปสูภ
ล ้มเหลว โดยเกิดขึน
้ ภายในไม่ก ี่
นาที มีอาการและอาการแสดง ดังนี้
ี จรเบาเร็ว
ความดันโลหิตตา่ ชพ
หรือคลาไม่ได ้ มีการเปลีย
่ นแปลง
ั ปชญ
ั ญะ
ระดับการรับรู ้ และสติสม
และอาจมีอาการอืน
่ ร่วมด ้วย ดังนี้
ี งวี๊ ด (wheezing)
หายใจมีเสย
หอบ จากหลอดลมหดเกร็ง
ี ง Stridor ทีเ่ กิดจาก
 หายใจมีเสย
ี งหดเกร็งหรือ บวม
กล่องเสย
มีอาการทางผิวหนั ง ผืน
่ คัน
ลมพิษ บวมทีห
่ น ้าหรือทัง้ ตัว
Anaphylaxis เป็ น medical
emergency ต ้องให ้การรักษา
อย่างรีบด่วน
- ให ้ adrenaline 1 : 1000
ขนาด 0.01/ml/kg IM คนละข ้าง
ี
กับทีฉ
่ ีดวัคซน
- ให ้ CPR, O2 mask
- Consultation/สง่ ต่อ รพ. ดู
รายละเอียดหัวข ้อ Anaphylaxis
- การตรวจร่างกาย และสงั เกต
อาการทีเ่ กิดขึน
้ อย่างละเอียดจะ
ชว่ ยในการวินจ
ิ ฉั ย แยก
็ กทีเ่ กิด
anaphylaxis จากภาวะชอ
จากเหตุอน
ื่ ๆ หรือจาก syncope
ี ทีเ่ กีย
ว ัคซน
่ วข้อง
่ งเวลา
ชว
ทุกชนิด
สว่ นใหญ่เกิดขึน
้
ภายใน 1 ชวั่ โมง
ในรายทีร่ น
ุ แรงจะ
เกิดเร็ว ภายใน 10
นาที
ความแตกต่างระหว่าง anaphylaxis และ faint
เวลาทีเ่ ริ่มมีอาการ
(onset)
Faint (vasovagal
syndrome)
Anaphylaxis
ทันทีทฉี่ ีดหรือภายหลังได้ รับ
วัคซีนแล้ว2-3 นาที
มีช่วงเวลาภายหลังได้ รับ
วัคซีนแล้ว 5 – 30 นาที
อาการ/อาการแสดง
ในระบบต่ างๆ ผิวหนัง
ซีด มีเหงื่อ เย็น ชื้น
มีผนื่ ลมพิษ แดงนูนคัน, หน้ าตาบวม angioedema มีผนื่
ทัว่ ตัว
ระบบหายใจ
หายใจปกติหรือหายใจลึกๆ
หายใจเสี ยงดังเนื่องจากมีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ (มี
wheeze หรือ stridor)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การเต้ นของหัวใจ/ชีพจรช้ าอาจมีความดันโลหิตต่า
ชั่วคราว
ชีพจรเร็วมีความดันโลหิตต่า
ระบบทางเดินอาหาร
มีคลืน่ ไส้ /อาเจียน
ปวดท้อง (abdominal cramps) เหมือนจะถ่ าย
อุจจาระ
Neurological
อาจมีอาการไม่ ร้ ู สึกตัวระยะสั้ นๆ ไม่ กนี่ าทีและถ้ าจัดให้
อยู่ในท่ านอนราบจะดีขนึ้ เร็ว
มีอาการไม่ ร้ ู สึกตัวระยะหลัง ในรายทีม่ ีอาการรุ นแรง อาจจะดีขึน้ เพียง
เล็กน้ อยเมื่อให้ นอนราบลง
Sudden Unexplained Death in Infancy (SUDI)
การตายอย่างกะทันหันที่ไม่สามารถอธิบายสาเหตุได้ในเด็กอายุ 2 ปี แรก ภายหลังได้รบั การ
สอบสวนอย่างละเอียด สามารถอธิบายสาเหตุได้ <10-70%
Sudden Infant Death Syndrome (SIDS)
การตายอย่างกะทันหันของเด็กทารกในขวบปี แรกที่ไม่สามารถอธิบายสาเหตุการตายได้ ภายหลังการ
ตรวจศพและสอบสวนค้นหาสาเหตุแล้ว ซึ่งประกอบด้วย
1. Review of clinical history and
2. History of final events and
3. Review of complete autopsy reports including :
- macroscopic examination;
- microscopic examination;
- microbiological sample;
- toxicological sample;
- screen for metabolic diseases and
- Radiological studies and
4. Review of circumstances of death including examination of death scene.
(Brighton Level 1 of diagnostic certainty)
เฝ้ าระวังผู้ป่วย AEFI เพือ่ ......
• ค้ นหาผู้ป่วย และรายงานความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ หลังได้ รับ
วัคซีน แต่ ละชนิดและรุ่นทีผ่ ลิตนั้นๆ
• ตรวจสอบยืนยันสาเหตุ นาไปสู่ การแก้ ไขปัญหาทีต่ รงกับ
สาเหตุ
• ประกันความมั่นใจของประชาชนและประโยชน์
ระยะยาวจากบริการสร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
• กากับติดตามความปลอดภัยด้ านวัคซีนและงาน
สร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การเฝ้าระวังและสอบสวนอาการภายหลังได้รบ
ั
การสร้างเสริมภูมิคม
ุ้ กันโรค
ADVERSE EVENTS FOLLOWING IMMUNIZATION
(AEFI)
SURVEILLANCE AND INVESTIGATION
สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
Vaccine safety
การพัฒนาวัคซีน
1. ระยะก่อนการทดสอบทางคลีนิก
• ศึกษาเชื้อก่อโรค
• ความหลากหลาย
ทางพันธุกรรม
Candidate
vaccine
In vitro
Animal model
2. ระยะทดสอบทางคลีนิก: ในคน
• Phase I: Safety ในการให้ด้วยวิธีการต่างๆ
• Phase II: Safety และ Immunity ใน dose ต่างๆ
• Phase III: Large clinical trial เพื่อดู Efficacy
และ uncommon AEFI
ขั้นตอนการผลิตวัคซีน
วัคซีนแบคทีเรีย
เพาะเลี้ยงเชื้อ
การทาให้
ในอาหารเลี้ยงเชื้อ
บริสุทธิ์
วัคซีนเชื้อเป็น / เชื้อตาย
+ Liquid, Aluminum
วัคซีนไวรัส
เพาะเลี้ยงเชื้อใน
การทาให้
เซลล์เพาะเลี้ยง:
บริสุทธิ์
ไข่ฟัก,ไตหนู,
มี/ไม่มี
ไก่, ไตลิง, คน,...
วัคซีนเชื้อเป็น / เชื้อตาย
+ Liquid, Aluminum
ระบบประกันคุณภาพวัคซีน
GMP
เฝ้ าระวัง AEFI
Licensing
PRODUCTION
IMMUNIZATION
lot release
Clinical trial
Laboratory access
อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
หลังได้รบ
ั วัคซีน
วัคซีน
BCG
OPV
Measles
DPT
อัตราการเกิด AEFI (1: # dose)
1:1000 – 1:50000
1:750000 (dose แรก)
1: 2-3 ล้าน dose
1:1 ล้าน
1:750000
Barlow WE, Davis RL, Glasser JW, et al. N Engl J Med 2001;345.
กลุ่มที่ได้รับ
วัคซีน
อาการไม่ รุนแรง
อาการรุนแรง
การเฝ้ าระวังและการสอบสวนอาการ
ภายหลังได้ รับการสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค (AEFI)
สาเหตุของการเกิดอาการภายหลังได้ รับ
การสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค(AEFI)
ความผิดพลาดด้ านการบริหารจัดการวัคซีน
(Programmatic error)
วัคซีน
(Vaccine reaction)
AEFI
เหตุบังเอิญ/เหตุพ้อง
(Coincidental event)
ไม่ ทราบสาเหตุ (Unknown)
1. นิยามการรายงานผู้ป่วย AEFI
ผู้ป่วยทีม่ อี าการหรือมีความผิดปกติที่เกิดขึน้
ภายหลังได้ รับการสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค
ครั้งสุ ดท้ าย ภายใน 4 สั ปดาห์
อาการหรือความผิดปกติ
1. เสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุที่ชด
ั เจน
2. อาการทางระบบประสาททุกชนิด
(Neurological syndrome)
เช่น ชัก กล้ามเนือ
้ อ่อนแรง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
3. อาการแพ้รน
ุ แรง
เช่น Anaphylaxis, Severe allergic reaction
4. อาการติดเชือ
้ ในกระแสโลหิต
5. อาการไข้สงู และบวมแดงร้อนบริเวณที่ฉด
ี มากกว่า 3 วัน
อาการหรือความผิดปกติ
6. ผู้ปว
่ ยที่ต้องรับไว้รก
ั ษาในโรงพยาบาล
7. ภาวะหรือเหตุการณ์อน
ื่ ๆ ที่สงสัยว่าอาจเกีย
่ วข้องกับการ
สร้าง เสริมภูมิคม
ุ้ กันโรค
7.1 อาการที่ไม่รน
ุ แรง เช่น ไข้ตั้งแต่ 38.5 oC อาการ
กรีดร้องนาน
7.2 พบผู้ปว
่ ยเป็นกลุม
่ ก้อนภายหลังได้รบ
ั การสร้างเสริม
ภูมิคุ้มกันโรค (Cluster)
2. การแจ้ งผู้ป่วย AEFI
ผู้ป่วย
Well baby clinic
แจ้ งทันที
ผู้รับผิดชอบงาน
ระบาดวิ
ท
ยา
OPD หรือ IPD หรือ ER แจ้งทันที
คัดกรองประวัติวคั ซีน
ผู้ป่วย
***โดยไม่ตอ
้ งคานึงว่ามีสาเหตุมาจากวัคซีนจริงหรือไม่***
3. การรายงานผู้ป่วย AEFI
SRRT
สอบสวนโรค
ผู้รับผิดชอบงาน
ระบาดวิทยา
สานักงาน
สาธารณสุ ข
จังหวัด
หรือ
กองควบคุมโรค
สานักอนามัย
กทม.
สานัก
ระบาด
วิทยา
โครงสร้ างและการ
ไหลเวียนข้ อมูล AEFI
สานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา
(Regulation, Licencing)
กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์
(lot release, vaccine lab testing)
กระทรวงสาธารณสุ ข
กรมควบคุมโรค
องค์ การอนามัยโลก
องค์กรต่ างประเทศอืน่ ๆ
สานักโรคติดต่ อทั่วไป (EPI)
(Immunization)
สานักระบาดวิทยา
(เฝ้ าระวัง AEFI)
สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัด 75 จังหวัด
หรือ
สานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
สานักงานป้ องกันควบคุมโรค
(นิเทศ กากับติตาม)
ข้ อมูลรายงานผู้ป่วย
ข้ อมูลข่ าวสาร
รพ.สต. โรงพยาบาล ศูนย์ บริการสาธารณสุ ข
การรายงาน AEFI มายังสานักระบาดวิทยา
• โทรศัพท์ 0-2590-1882, 0-2590-1795
• Fax
0-2591-8579
• Email [email protected]
การสอบสวนอาการ
ภายหลังได้ รับการสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค (AEFI)
สอบสวนเบือ้ งต้ นผู้ป่วยAEFI ทุกราย
บันทึกข้ อมูลลงในแบบ AEFI 1
เกิดอาการอะไร
หลังวัคซีนอะไร
♥ เสี ยชีวต
ิ
♥ ผู้ป่วยใน เฉพาะทีส
่ งสั ยว่ าจะเกีย่ วข้ องกับวัคซีน
หรือการบริหารจัดการวัคซีน
♥ เป็ นกลุ่มก้ อน (cluster)
♥ ประชาชนสงสั ยว่ าจะเกีย
่ วข้ องกับวัคซีน
สอบสวนรายละเอียดเพิ่ม
บันทึกข้อมูลลงในแบบ AEFI 2
ข้ อมูลอะไรบ้ างทีค่ วรได้ จากการสอบสวน AEFI
การ พิสูจน์
ศพ
ข้ อมูลผู้ป่วย: ข้ อมูลทัว่ ไป, ข้ อมูลการเจ็บป่ วย
ผู้ป่วย AEFI
การเก็บวัคซีน
ส่ งตรวจ
การค้ นหาผู้ป่วย
AEFI เพิม่
ข้ อมูล
วัคซีน
ข้ อมูลบริหาร
จัดการวัคซีน
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
1. ข้อมูลผู้ป่วย
• ข้อมูลทัว
่ ไป
- ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ขณะป่วย
- ชื่อ นามสกุล ผู้ปกครอง เบอร์โทร / ที่อยู่
ที่ติดต่อได้
- เพศ อายุ
- (นักเรียน) ชั้นเรียน โรงเรียน ที่ตั้ง
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
• การเจ็บป่วยในอดีต
– ประวัติคลอด: ความผิดปกติขณะ ANC, ขณะคลอด,
หลังคลอด, อายุครรภ์, วิธีการคลอด, นน.แรกเกิด
– การเจ็บป่วยตัง้ แต่แรกคลอด
– พัฒนาการ
– ประวัติการแพ้
– การเจ็บป่วยเนือ
่ งจากการรับวัคซีนครั้งก่อนๆ
• ประวัติโรคประจาตัวของผู้ปว
่ ยและครอบครัว
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
• การเจ็บป่วยหลังจากรับวัคซีนในครัง้ นี้
– วันเริม
่ ป่วย เวลา
– วันรับรักษา HN, AN, อาการ อาการแสดงที่ตรวจพบ
• อาการนา อาการสาคัญทีท
่ าให้มาโรงพยาบาล
• Vital signs
• การตรวจร่างกาย (ตามบันทึกของแพทย์)
– การวินจ
ิ ฉัย
– แพทย์ผู้รก
ั ษา
– ผลการรักษา: หาย ยังรักษาอยู่ ตาย มีภาวะแทรกซ้อน
refer รพ. ................
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
• การเจ็บป่วยหลังจากรับวัคซีนในครัง้ นี้ (ต่อ)
– ผลการตรวจทางห้องปฏิบัตก
ิ าร
• Lab เบื้องต้น: CBC, E’lyte, UA, CXR
• Lab เฉพาะ: CSF, CT
• ขอ specimen ที่เหลือจากการตรวจที่ รพ. เก็บรักษา
ไว้ก่อน
• กรณีเสียชีวต
ิ กะทันหัน: เก็บเลือด, อาเจียน/น้าล้าง
กระเพาะ/ น้าล้างปอด,…
ข้ อมูลอะไรบ้ างทีค่ วรได้ จากการสอบสวน AEFI
2. ข้อมูลวัคซีน
วัคซีนที่ได้รับครั้งนี้: ชนิดของวัคซีน บริษัทที่ผลิต
lot no. วันหมดอายุ ปริมาณที่ได้รับ วิธีการให้ ตาแหน่ง
ที่ฉีด สถานที่รับวัคซีน
วัน เวลาที่รับวัคซีน เข็มที่ฉีด
 การกระจายของวัคซีน
 เริ่มให้บริการด้วยวัคซีนนี้เมื่อไร
 การเก็บวัคซีนส่งตรวจ Lot, จานวน, วัน/สถานที่ส่งตรวจ
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
3. ข้อมูลการบริหารจัดการวัคซีน
กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ จานวน
ผู้ปฏิบัติงานการให้วัคซีนที่ปฏิบัติเป็นประจา
 ความรู้และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
 ระบบลูกโซ่ความเย็น
 จานวนเด็กทีร่ ับวัคซีน (ขวด / lot เดียวกัน)
รายชื่อเด็ก ลาดับที่รับวัคซีน
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
Freezer
BCG, OPV, Measles, MMR
2 – 8 องศำ หรื อแช่ แข็ง
BCG
OPV
DPT
MMR
HBV
4 – 8 องศำ
DPT
ขวดนำ้
HBV
ขวดนำ้
ขวดนำ้
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
4. การค้นหาผู้ป่วย AEFI เพิ่ม
 ผู้ที่รับวัคซีนชนิด และ lot no. เดียวกับผู้ป่วย
 ผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีนชนิด และ lot no. เดียวกับผู้ป่วย
 พื้นที่ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม
- กรณีเสียชีวต
ิ ค้นหาผูป
้ ว
่ ย AEFI เพิ่มทั้งจังหวัด
- กรณีอน
ื่ ๆนอกจากการเสียชีวต
ิ ค้นหาผูป
้ ว
่ ย AEFI
อย่างน้อยในอาเภอเดียวกับผูป
้ ว
่ ยรายแรก
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
4. การเก็บวัคซีนส่งตรวจวิเคราะห์
- เก็บขวดวัคซีนทุกชนิดที่เปิดใช้แล้วไว้ในตู้เย็นหลัง
ให้บริการอย่างน้อย 7 วัน (อุณหภูมิ 2-8 OC)
- อยู่ในสภาพที่สะอาดปราศจากเชื้อเช่นเดียวกับการ
เก็บรักษาวัคซีนที่ยังไม่ได้เปิดใช้
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
4. การเก็บวัคซีนส่งตรวจวิเคราะห์ (ต่อ)
- กรณีเสียชีวิต ให้เก็บขวดวัคซีนทุกชนิดที่ผู้เสียชีวิต
ได้รับ ส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
- กรณีอื่นๆนอกจากการเสียชีวิต เมื่อมีการสอบสวน
แล้วจึงจะพิจารณาจากการสอบสวนว่าควรจะส่งวัคซีน
ตรวจหรือไม่
ข้อมูลอะไรบ้างทีค
่ วรได้จากการสอบสวน AEFI
5. การส่งศพพิสจ
ู น์
ควรประสานขออนุญาตบิดามารดา หรือผู้ปกครอง
ให้มีการส่งศพผ่าพิสูจน์ เพื่อหาสาเหตุการเสียชีวิต
หากไม่สามารถให้มีการส่งศพผ่าพิสูจน์ได้ ให้
เก็บตัวอย่างจากศพส่งตรวจ ได้แก่ เก็บตัวอย่างเลือด
น้าไขสันหลัง น้าในช่องปอด หรืออื่นๆ พิจารณาตาม
อาการของผู้ป่วย
คณะกรรมการ
AEFI
คณะกรรมการประสานการเฝ้ าระวังสอบสวนและตอบสนองต่ อกรณี AEFI
(กรมวิทย์ , อย. EPI, สานักระบาดวิทยา)
-ประสาน แลกเปลี่ยน วิเคราะห์ ข้อมูล และตอบสนองต่ อปัญหา AEFIคณะผู้เชี่ยวชาญพิจารณาอาการภายหลังได้ รับ
การสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค
เป็ นทีป่ รึกษาและพิจารณาสรุปสาเหตุ-
คณะกรรมการพัฒนาระบบคุณภาพ
การเฝ้ าระวังสอบสวน AEFI
-พัฒนา
มาตรฐานการเฝ้ าระวังสอบสวน-
การดาเนินการในส่ วนกลาง
สานักระบาดวิทยา ได้ รับแจ้ ง หรือ ได้ รับรายงานผู้ป่วย AEFI
กรณี serious,
death,
cluster
1. สอบสวนโดยจังหวัด
2. สอบสวนโดยส่ วนกลาง
รายงานผลการสอบสวน
สรุ ปสาเหตุโดยคณะ
ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา AEFI
สานักระบาดวิทยา
แจ้ งโดยด่ วน
สานักระบาดวิทยารายงานให้
ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุ ข
และหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องทราบ
กรมวิทย์
อย.
ตรวจสอบ
คุณภาพ
วัคซีน
แจ้ งบริษัท /
ดาเนินการตาม
กฎระเบียบ
EPI
ทบทวนการ
บริหารจัดการ
วัคซีน
สรสรุปุป.....ข้อมูลและรายงานทีน่ าส่ งสานักระบาดวิทยา
1. แบบ AEFI 1 : ผู้ป่วย AEFI ทุกราย
2. แบบ AEFI 2 : - เสี ยชีวติ
- ผู้ป่วยใน เฉพาะกรณีที่สงสั ยว่ าจะเกีย่ วข้ องกับ
วัคซีนหรือการบริหารจัดการวัคซีน
- ผู้ป่วยเป็ นกลุ่ม (cluster)
- ประชาชนเชื่อว่ าน่ าจะเกีย่ วข้ องกับวัคซีน
3. รายงานการสอบสวนโรค : ที่ได้ เรียบเรียงสรุปผลการสอบสวนโรคแล้ ว
สรุป
• AEFI ระบบเดิม
• เครื่องมือช่วยในการรายงานและสอบสวนโรค
– แบบสอบสวน AEFI 1
– แบบสอบสวน AEFI 2
– คู่มือและนิยามโรค
• มีคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญช่วยในการสรุปสาเหตุของ
AEFI แต่ละราย และกาหนดมาตรการตอบสนอง
• ข้อมูลที่ได้นาไปป้องกันการเกิด AEFI (program error)
• เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงเรื่อง vaccine safety ต่อไป
ขอบคุณค่ ะ/ครับ
วัคซีน ปลอดภัย