โครงการกำจัดโรคหัด

Download Report

Transcript โครงการกำจัดโรคหัด

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด
Polio and Measles Eradication Projects
ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด
ตามพันธะสัญญานานาชาติ
http://thaigcd.ddc.moph.go.th/
http://thaigcd.ddc.moph.go.th/
หัด (Measles)
สาเหตุ
Measles Virus การติดต่อ ทางการหายใจ (air borne)
ระยะฟักตัว 8 - 12 วัน เฉลี่ยจากวันที่สมั ผัสถึงออกผื่น 14 วัน
อาการ ไข้ (ก่อน) น้ ามูกไหล ไอแห้งๆ ตลอดเวลา ตาแดงแฉะและกลัวแสง ที่
กระพุง้ แก้มพบจุดขาวๆ ขอบแดง (Koplik,s spots) 1-2 วัน ก่อนออกผื่นนู นแดง
ติดกันเป็ นปื้ นๆ แล้วสีจะเข้มขึ้น (maculo-papular) โดยเริ่มจากหลังหู แล้วลามไปที่
หน้าชิดขอบผม ลาตัว แขน ขา กินเวลา 2-3 วัน แล้วไข้จงึ เริ่มลด
ระยะติดต่อ
การป้ องกัน
1-2 วันก่อนเริ่มมีอาการ (3-5 วันก่อนผื่นขึ้น-ผื่นขึ้นแล้ว 4 วัน)
ฉี ดวัคซีน MMR 9 เดือน และนักเรียน ป.1
การกาจ ัดโรคห ัด
ี ห ัด
1. เพิม
่ และร ักษาระด ับความครอบคลุมการได้ร ับว ัคซน
้ ที่
ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 95 ในทุกพืน
ื้ ห ัดทางห้องปฏิบ ัติการ
2. จ ัดตงั้ เครือข่ายการตรวจเชอ
ทีไ่ ด้ร ับการร ับรองมาตรฐานทวประเทศ
่ั
ื้ ก่อโรคทาง
3. เฝ้าระว ังผูป
้ ่ วยโรคห ัด โดยมีการตรวจยืนย ันเชอ
ั
ห้อง ปฏิบ ัติการในผูป
้ ่ วยทีส
่ งสยโรคห
ัด ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 80
้ ที่
ในทุกพืน
ี ป้องก ันโรคห ัด หรือมาตรการเสริมอืน
่
4. รณรงค์ให้ว ัคซน
่ เชน
ี ในประชากรว ัยทางาน เพือ
การบริการว ัคซน
่ เพิม
่ ระด ับ
ี ในประชากรกลุม
ี่ ง
ความครอบคลุมการได้ร ับว ัคซน
่ เสย
สาน ักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
การกาจ ัดโรคห ัด
(measles elimination)
ื้
การไม่พบผู ้ป่ วยโรคหัดทีต
่ ด
ิ เชอ
ภายในประเทศ (Endemic measles case)
ติดต่อกันเป็ นระยะเวลานาน 12 เดือนขึน
้ ไป
ิ ธิภาพ
ภายใต ้ระบบเฝ้ าระวังโรคหัดทีม
่ ป
ี ระสท
ความสาคัญของการเฝ้ าระวังโรคหัด
่ าจัดโรคหัด
เป็ นเครือ
่ งมือหนึง่ เพือ
่ นาไปสูก
 ติดตามสถานการณ์โรค
ี้ ระชากรกลุม
ี่ ง
 บ่งชป
่ เสย
 ตรวจจับการระบาดและควบคุมโรค
อย่างรวดเร็ว
ิ ธิภาพ
ระบบเฝ้ าระวังโรคหัดทีม
่ ป
ี ระสท
ต ัวชวี้ ัด
ั โรคหัด
 อัตราการรายงานผู ้ป่ วยสงสย
 การตรวจยืนยันทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
 การตรวจวิเคราะห์สายพันธุไ
์ วรัสโรคหัด
 การสอบสวนโรค
การเฝ้ าระวังโรคหัด
ิ ธิภาพ
ระบบปั จจุบน
ั vs ระบบทีม
่ ป
ี ระสท
ต ัวชวี้ ัด
1. อัตราการ
รายงาน
ิ ธิภาพ
ระบบทีม
่ ป
ี ระสท
ตามโครงการ
ั
1.1. มีรายงานผู ้ป่ วยสงสย
โรคหัดไม่น ้อยกว่า
2 ต่อแสนปชก.
ระบบปัจจุบ ัน
(พ.ศ. 2553)
มีรายงาน 2,452 ราย
(3.9 ต่อแสนปชก.)
ระดับประเทศ
(1,270 รายต่อปี )
ั
ั
1.2. มีรายงานผู ้ป่ วยสงสย
มีรายงานผู ้ป่ วยสงสย
โรคหัดไม่น ้อยกว่า
โรคหัดจาก 573 อาเภอ
1 ต่อแสนปชก. จากทุก (62% ของอาเภอ
อาเภอของประเทศ
ทัง้ หมดในประเทศ)
การเฝ้ าระวังโรคหัด
ิ ธิภาพ
ระบบปั จจุบน
ั vs ระบบทีม
่ ป
ี ระสท
ต ัวชวี้ ัด
ิ ธิภาพ
ระบบทีม
่ ป
ี ระสท
ระบบปัจจุบ ัน
ตามโครงการ
(พ.ศ. 2553)
2. การตรวจ
่ ตรวจ
มีการสง
ยืนยันทาง
measles IgM ไม่
ห ้อง
ปฏิบัตก
ิ าร
น ้อยกว่าร ้อยละ 80
ของผู ้ป่ วยทีร่ ายงาน
เข ้าสูร่ ะบบเฝ้ าระวัง
(ไม่นับผู ้ป่ วยในเหตุการณ์
การระบาด)
ื่ มโยง
ยังไม่มก
ี ารเชอ
ข ้อมูลผู ้ป่ วยแต่ละราย
ในระบบเฝ้ าระวังกับผล
การตรวจทาง
ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
การเฝ้ าระวังโรคหัด
ิ ธิภาพ
ระบบปั จจุบน
ั vs ระบบทีม
่ ป
ี ระสท
ต ัวชวี้ ัด
3. การ
ตรวจ
วิเคราะห์
สายพันธุ์
ไวรัส
ิ ธิภาพ
ระบบทีม
่ ป
ี ระสท
ตามโครงการ
มีการสง่ ตรวจ
วิเคราะห์สายพันธุ์
ไวรัสไม่น ้อยกว่า
ร ้อยละ 80 ของ
เหตุการณ์การ
ระบาด
ระบบปัจจุบ ัน
(พ.ศ. 2553)
ื่ มโยง
ยังไม่มก
ี ารเชอ
เหตุการณ์การระบาดกับ
ผลการตรวจวิเคราะห์
สายพันธุไ์ วรัสเท่าทีค
่ วร
ระบบเฝ้าระว ังโรคห ัดของประเทศไทยในปัจจุบ ัน
ระบบปกติ
โครงการกาจ ัดโรคห ัด
1. นิยาม
ั
ผู ้ป่ วยสงสย
ทีต
่ ้อง
รายงาน
ไข ้สูง ไอ ผืน
่ +
corynza /
Conjuntivitis / Koplik’s
spot หรือ แพทย์วน
ิ จ
ิ ฉั ย
ไข ้สูง ไอ ผืน
่ + corynza
/ conjuntivitis / Koplik’s
spot
หรือ แพทย์วน
ิ จ
ิ ฉัย
2. การ
รายงาน
ผู ้ป่ วยทันที
- Severe, admitted,
death
- อายุน ้อยกว่า 9 เดือน
ทุกรายทีม
่ า ร.พ.
(รายงาน 506)
การรายงานและสอบสวนผู ้ป่ วยให ้ได ้ตามโครงการ
กาจัดโรคหัด ต ้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!
ระบบปกติ
(รายงาน 506)
3. การ
สอบสวนโรค
และการตรวจ
ทางห ้อง
ปฏิบต
ั ก
ิ าร
4. ฐานข ้อมูล
โครงการกาจ ัดโรคห ัด
- Severe, Death, อายุ
น ้อยกว่า 9 เดือน,
cluster, รายแรก
- สอบสวนเฉพาะรายทุก
รายทีม
่ า รพ. (Measles
IgM ทุกราย)
- สอบสวนเหตุการณ์การ
ระบาด (Measles IgM
10 – 20 ราย + 5
Throat swab)
R506: ข ้อมูลทัว่ ไป, วัน ME เพิม
่ ตัวแปรประวัต ิ
ี , ประวัตส
ั ผัสโรค,
เริม
่ ป่ วย, วันรับรักษา,
วัคซน
ิ ม
ผลการรักษา
ผล lab
การรายงานและสอบสวนผู ้ป่ วยให ้ได ้ตามโครงการ
กาจัดโรคหัด ต ้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!
นิยามผู ้ป่ วย
1. เกณฑ์ทางคลินก
ิ (Clinical Criteria)
มีไข ้ > 38 ํC และมีผน
ื่ นูนแดงขึน้ ขณะยังมีไข ้
พร ้อมทัง้ มีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอืน
่ ๆ
อีกอย่างน ้อยหนึง่ อาการ ดังต่อไปนี้
 มีน้ ามูก (Coryza)
 เยือ
่ บุตาแดง (Conjunctivitis)
 ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผืน
่ ขึน
้
นิยามผู ้ป่ วย
2. เกณฑ์ทางห ้องปฏิบัตก
ิ าร (Laboratory Criteria)
2.1. Serology test
- Measles IgM ให ้ผลบวก
2.2. Viral isolation
ื้ จากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ
- เพาะเชอ
โดย Throat swab culture
swab culture
หรือ Nasal
ประเภทผู ้ป่ วย
ั (Suspected case) หมายถึง ผู ้ทีม่ อี าการ
1. ผู ้ป่ วยสงสย
ตามเกณฑ์ทางคลินก
ิ หรือ แพทย์วน
ิ จ
ิ ฉั ยโรคหัด
3. ผู ้ป่ วยเข ้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู ้ทีม
่ อ
ี าการ
ตามเกณฑ์ทางคลินก
ิ ร่วมกับมีข ้อมูลทางระบาดวิทยา
ื่ มโยงกับผู ้ป่ วยยืนยัน
เชอ
2. ผู ้ป่ วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู ้ทีม
่ อ
ี าการ
ตามเกณฑ์ทางคลินก
ิ และ มีผลบวกทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
อย่างใดอย่างหนึง่
ั ผัสใกล ้ชด
ิ
นิยามผู ้สม
ั ผัสร่วมบ ้าน
 ผู ้สม
 ผู ้ร่วมงาน หรือ ร่วมห ้องเรียน
ทีต
่ ้องอยูใ่ นห ้องเดียวกันเป็ นประจา
ิ กับผู ้ป่ วย
 ผู ้ทีม
่ ป
ี ระวัตค
ิ ลุกคลีใกล ้ชด
ในระยะ 7 วันก่อนวันเริม
่ ป่ วยของผู ้ป่ วย
่ แฟน เพือ
เชน
่ นสนิท
การรายงานผูป
้ ่ วยเข้าสูร่ ะบบเฝ้าระว ัง
เพือ
่ การกาจ ัดโรคห ัด
ั พร ้อมทัง้
ให ้รายงานตัง้ แต่ผู ้ป่ วยสงสย
เก็บสงิ่ สง่ ตรวจทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
ั ทุกรายทีม
ในผู ้ป่ วยสงสย
่ าโรงพยาบาล
เมือ
่ แพทย์พบผูป
้ ่ วยห ัดทีส
่ ถานบริการ
่ ตรวจ measles IgM ทุกราย
ให้เจาะเลือดสง
-
้ 4 – 30 ว ัน
ระยะเวลาเจาะเลือดทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ คือหล ังผืน
่ ขึน
่ 1 ว ันหล ังผืน
้ ย ังไม่ตอ
- หากผูป
้ ่ วยมาเร็วมาก เชน
่ ขึน
้ งเจาะ
เลือด อาจน ัดมาเจาะเลือดภายหล ัง หรือแจ้งเจ้าหน้าทีร่ ะบาด
้ ที่
วิทยาให้ตด
ิ ตามในพืน
่ เลือดทีศ
- สง
่ น
ู ย์วท
ิ ยาศาสตร์การแพทย์
ี
การตรวจไม่เสย
้ า
้ า่ ยเฉพาะการเจาะเลือด และจ ัดสง่ )
ค่าใชจ
่ ย (รพ.มีคา
่ ใชจ
- แจ้งเจ้าหน้าทีร
่ ะบาดวิทยาเพือ
่ ดาเนินการ
สอบสวน และรายงานต่อไป
เมือ
่ เจ้าหน้าทีร่ ะบาด ได้ร ับรายงานผูป
้ ่ วย
 สอบสวนเฉพาะราย (case investigation)
ั ทุกรายทีเ่ ข ้ารับการรักษา
สอบสวนผู ้ป่ วยสงสย
ในโรงพยาบาล ทัง้ ประเภทผู ้ป่ วยนอกและผู ้ป่ วย
่ ตรวจ ทางห ้องปฏิบัตกิ าร
ใน พร ้อมทัง้ เก็บสงิ่ สง
ั ทุกราย ได ้แก่ Measles IgM
ในผู ้ป่ วยสงสย
เพือ
่ ทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย
ยืนย ันการวินจ
ิ ฉ ัยโรค และ
ตรวจสอบการระบาดทีอ
่ าจจะมีอยูใ่ นชุมชน
 เมือ
่ สอบสวนผูป
้ ่ วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงาน
เข้าฐานข้อมูลสาน ักระบาดวิทยา
- เข้า website สาน ักระบาดวิทยา  โครงการกาจ ัดโรคห ัด 
ฐานข้อมูลกาจ ัดโรคห ัด
- กรอกข้อมูลการสอบสวนผูป
้ ่ วยเฉพาะราย หรือการระบาด
รวมทงข้
ั้ อมูลว ันทีเ่ จาะเลือด
- เมือ
่ มีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะ
รายงานให้ทราบทาง website นี้
ื้ ไวรัสหัด
การตรวจยืนยันการติดเชอ
ตรวจหา IgM ด ้วยวิธ ี ELISA
(ผู ้ป่ วยทุกราย)
เจาะเลือดครัง้ เดียว ชว่ ง 4-30 วัน หลังผืน
่ ออก
เจาะ 3-5 มล. ดูด serum สง่ กรม/ศูนย์วท
ิ ย์ฯ
่ วามเย็น
ภายใต ้ระบบลูกโซค
(ไม่ควรเก็บ serum ไว ้นานเกิน 3 วัน)
รายงานผลได้ภายใน 48 ชว่ ั โมง
ระยะเวลาทีเ่ หมาะสมในการเก็บต ัวอย่าง
ที่มา : ฝ่ ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต
NIH
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
้ ที่
เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพืน
ั โรคหัดเป็ นกลุม
1. มีผู ้ป่ วยสงสย
่ ก ้อน
ั ผัสใกล ้ชดิ
2. เมือ
่ สอบสวนผู ้ป่ วย Index case แล ้วพบว่าผู ้สม
ั โรคหัดร่วมด ้วย
มีอาการป่ วยสงสย
3. ผู ้ป่ วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให ้ผลบวก
4. ผู ้ป่ วย Index case มาจากพืน
้ ทีท
่ ค
ี่ วามครอบคลุมของ
ี ตา่ ได ้แก่
วัคซน
- Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ตา่ กว่าร ้อยละ 95 ในเด็ก
อายุ 1 - 2 ปี (นับจากวันเริม
่ ป่ วยของผู ้ป่ วย index case)
ในระดับตาบล
ั้
- MMR เข็มที่ 2 ตา่ กว่าร ้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชน
ึ ษาปี ที่ 1 – มัธยมศก
ึ ษาปี ที่ 6 ในโรงเรียน
ประถมศก
การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด
(outbreak investigation)
กรณีทเี่ กิดโรคเป็นกลุม
่ ก้อน ให ้ทาการสอบสวนการระบาดทันทีโดย
้
- ใชแบบสอบสวนโรคเฉพาะราย
(ME1 form) หรือทะเบียนผู ้ป่ วยใน
การสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form)
ั ได ้แก่ Measles IgM ประมาณ
- เก็บสงิ่ สง่ ตรวจในผู ้ป่ วยสงสย
ั ในเหตุการณ์
10 – 20 ตัวอย่าง ของผู ้ป่ วยสงสย
่ ตัวอย่าง Throat / Nasal swab จานวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพือ
- สุม
่ สง่
ตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด ้วยวิธ ี PCR
ื้ ก่อโรคและสายพันธุ์
เพือ
่ ยืนยันเชอ
หาทีม
่ าของการระบาดและควบคุมโรค
การตรวจวิเคราะห์หาสายพ ันธุข
์ องไวร ัสห ัด
(เฉพาะเมือ
่ สอบสวนการระบาดทีเ่ ป็ นกลุม
่ ก ้อน)
Throat swab : 1-5 วัน หลังผืน
่ ออก
Nasal swab : 1-5 วัน หลังผืน
่ ออก
รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน
แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)
ี : ความหมายในการป้องก ัน
ว ัคซน
และควบคุมการระบาดของโรค
ิ ธิภาพ
เป็นเครือ
่ งมือทีท
่ รงประสท
ในการป้องก ันโรค
แต่
ิ ธิภาพ
ไม่ได้เป็นเครือ
่ งมือทีท
่ รงประสท
ในการควบคุมโรค
Pop. 10,000 Coverage 90%
9000 (90% มี seroconversion rate)
1000
(50%เป็ นโรคหัด)
8100
900
(50% เป็ นโรคหัด)
450
500
Vaccine efficacy
= อัตราป่ วยของผู้ไม่ ได้ รับวัคซีน - อัตราป่ วยของผู้ทไี่ ด้ รับวัคซีน
อัตราป่ วยของผู้ไม่ ได้ รับวัคซีน
= 500 - 450
1000 9000
500
1000
= 0.45
0.5
X 100
X 100
= 0.5 - 0.05
0.5
= 90%
X 100
X 100
แนวทางการป้องก ันควบคุมการระบาดโรคห ัด
ี
แนวทางการตรวจสอบและให้ว ัคซน
เพือ
่ การกาจ ัดโรคห ัด
ี และการกระจายว ัคซน
ี
 การเบิกว ัคซน
MMR
แนวทางการตรวจสอบและ
ี เพือ
ให้ว ัคซน
่ การกาจ ัดโรคห ัด
ระยะก่อนเกิดโรค
 ระยะทีม
่ ก
ี ารระบาด
ระยะก่อนเกิดโรค
ก่อนเกิดโรค
1. ตรวจสอบประว ัติการได้ร ับ
ี ของเด็กในพืน
้ ที่
ว ัคซน
ี เพิม
และการให้ว ัคซน
่ เติม
(เก็บตก)
ี เสริมในประชากร
2. ให้ว ัคซน
ี่ งสูง
กลุม
่ เสย
ระยะก่อนเกิดโรค
ี ของเด็กกลุม
1. การตรวจสอบประว ัติการได้ร ับว ัคซน
่
ี เพิม
้ ทีร่ ับผิดชอบและการให้ว ัคซน
เป้าหมายในพืน
่ เติม
ี M/MMR ของเด็กอายุครบ 1 ปี
1.1 การได้ร ับว ัคซน
ี M/MMR ของเด็ก < 7 ปี
1.2 การได้ร ับว ัคซน
ี M/MMR ของเด็ก ป.1 – ม.6
1.3 การได้ร ับว ัคซน
ี ของ
1.4 สถานบริการไม่มห
ี ล ักฐานการได้ร ับว ัคซน
กลุม
่ เป้าหมาย ตาม 1.1 – 1.3
ระยะก่อนเกิดโรค
ตรวจสอบระด ับความครอบคลุมการ
ี MMR ในกลุม
ได้ร ับว ัคซน
่ เป้าหมาย
รายไตรมาส
(> 95%)
ครงที
ั้ ่ 1 : เด็กอายุ 9-12 เดือน
ั้ ป. 1
ครงที
ั้ ่ 2 : น ักเรียนชน
ี MMR ในเด็กก่อนว ัยเรียน
การให้ว ัคซน
ี
จาแนกตามประว ัติการได้ร ับว ัคซน
ี
ประว ัติการได้ร ับว ัคซน
M/MMR
ี
ไม่เคยได้ร ับว ัคซน
ไม่แน่ใจ
ี
การให้ว ัคซน
ครงนี
ั้ ใ้ ห้ MMR 1 ครงั้
และให้
ี ก่อนอายุ
ได้ร ับว ัคซน
9 เดือน
อีก 1 ครงั้ เมือ
่ เข้า ป.1
เคยได้มาแล้ว
หล ังอายุ 9 เดือน
ครงนี
ั้ ไ้ ม่ตอ
้ งให้ MMR
ั้ ป. 1
จนกว่าเด็กจะเข้าเรียนชน
ี MMR ในเด็กว ัยเรียนจาแนกตามประว ัติการได้ร ับว ัคซน
ี
การให้ว ัคซน
ี
ประว ัติการได้ร ับว ัคซน
M/MMR
ไม่ได้ร ับครงแรก/ไม่
ั้
แน่ใจ และ
ไม่ได้ร ับเมือ
่ ป.1 (หรือ 4-6 ปี )
ได้ร ับครงแรก
ั้
และ ไม่ได้ร ับเมือ่
ป.1 (หรือ 4-6 ปี )
ได้ร ับครงแรก
ั้
และ ไม่แน่ใจ
ว่าได้ร ับเมือ
่ ป.1 (หรือ 4-6 ปี )
หรือไม่
ไม่ได้ร ับครงแรก/ไม่
ั้
แน่ใจ
แต่
ได้ร ับเมือ
่ ป.1 (หรือ 4-6 ปี )
ี
การให้ว ัคซน
MMR 1 ครงั้
MMR 1 ครงั้
MMR 1 ครงั้
ไม่ตอ
้ งให้ MMR
ระยะก่อนเกิดโรค
ก่อนเกิดโรค
1. ตรวจสอบประว ัติการได้ร ับ
ี ของเด็กในพืน
้ ที่
ว ัคซน
ี เพิม
และการให้ว ัคซน
่ เติม
(เก็บตก)
ี เสริมในประชากร
2. ให้ว ัคซน
ี่ งสูง
กลุม
่ เสย
ระยะก่อนเกิดโรค
ี เสริมในประชากร
2. การให้ว ัคซน
ี่ งสูง
กลุม
่ เสย
@
้ ทีท
เด็กทีอ
่ ยูใ่ นพืน
่ ร
ุ ก ันดาร
@
เด็กด้อยโอกาส
@
เด็กในกลุม
่ แรงงานต่างชาติ
ี
 กรณีไม่มห
ี ล ักฐานการได้ร ับว ัคซน
ของเด็กก่อนว ัยเรียน/ว ัยเรียน
(1.4)
ี่ งในพืน
้ ทีท
 กรณีมก
ี ลุม
่ เสย
่ รี่ ับผิดชอบ (2)
สสอ./สสจ. วางแผนรณรงค์ให้ MMR
แก่เด็กทุกคน
โดยไม่คานึงถึงประว ัติการเจ็บป่วย
ี ในอดีต
ประว ัติการได้ร ับว ัคซน
ั
ี เมือ
แนวทางการให้ว ัคซน
่ พบผูป
้ ่ วยสงสยโรคห
ัด
ั
พบผูป
้ ่ วยสงสยโรคห
ัด 1 ราย
ั
พบผูป
้ ่ วยสงสยโรคห
ัด
2 ราย ภายใน 14 ว ัน
ในหมูบ
่ า้ น/ชุมชน/
สถานทีม
่ บ
ี ค
ุ คลรวมก ัน
เป็นจานวนมาก
่ เดียวก ับ
ดาเนินการเชน
ในระยะก่อนเกิดโรค
ดาเนินการควบคุมโรค
เกณฑ์การระบาด
ั
- พบผูป
้ ่ วยสงสยโรคห
ัด 2 ราย
- ภายในระยะเวลา 14 ว ัน
- ในหมูบ
่ า้ น/ชุมชน/สถานทีม
่ บ
ี ค
ุ คล
รวมก ันเป็นจานวนมาก
ี ป้องก ันและควบคุมโรคห ัด
แนวทางการให้ว ัคซน
 เด็กก่อนว ัยเรียน (อายุ < 7 ปี )
เกิดการ
ระบาดโรค
เด็กว ัยเรียน
ผูใ้ หญ่
้ ทีใ่ กล้เคียงทีย
พืน
่ ังไม่มก
ี ารระบาด
1
2
ระยะฟักต ัว (8-12 ว ัน)
การระบาดในเด็กก่อนว ัยเรียน (อายุตา่ กว่า 7 ปี )
้ ที่
ประเมินสภาพการดาเนินงานป้องก ันโรคในพืน
ี ห ัด/MMR
ความครอบคลุมการได้ร ับว ัคซน
> 95%
ติดตามเด็กเฉพาะราย
ี
ทีย
่ ังไม่ได้ร ับว ัคซน
ี ท ันที
มาร ับว ัคซน
< 95%
หรือ
ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ
ให้ MMR แก่เด็ก > 9 เดือน ถึง 6 ปี ทุก
คน ในหมูบ
่ า้ น + หมูบ
่ า้ นทีม
่ ก
ี ารถ่ายทอดโรค
ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.
หล ังร ับรายงานผูป
้ ่ วยรายแรก
ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน แต่ให้แยก
้ งเด็ก เพือ
เลีย
่ ไม่ให้เด็กคลุกคลีก ับผูป
้ ่ วย
ี ป้องก ันและควบคุมโรคห ัด
แนวทางการให้ว ัคซน
 เด็กก่อนว ัยเรียน (อายุ < 7 ปี )
เกิดการ
ระบาดโรค
เด็กว ัยเรียน
ผูใ้ หญ่
้ ทีใ่ กล้เคียงทีย
พืน
่ ังไม่มก
ี ารระบาด
1
2
ระยะฟักต ัว (8-12 ว ัน)
การระบาดในเด็กว ัยเรียน (ป.1 - ม.6)
ั ้ ป.1** ของเด็กแต่ละคนทุกชน
ั ้ เรียน
ตรวจสอบประวัตก
ิ ารได ้รับ MMR เมือ
่ เข ้าเรียนชน
ดูหล ักฐานยืนย ัน
ได้ร ับ
ไม่ตอ
้ งให้ MMR
ไม่ได้ร ับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ
 ให้ MMR
ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.
หล ังร ับรายงานผูป
้ ่ วยรายแรก
** เด็กทีม
่ ห
ี ล ักฐานว่าได้ MMR เมือ
่ อายุ 4-6 ปี ไม่ตอ
้ งให้ MMR ในการควบคุมโรค
ี ป้องก ันและควบคุมโรคห ัด
แนวทางการให้ว ัคซน
 เด็กก่อนว ัยเรียน (อายุ < 7 ปี )
เกิดการ
ระบาดโรค
เด็กว ัยเรียน
ผูใ้ หญ่
้ ทีใ่ กล้เคียงทีย
พืน
่ ังไม่มก
ี ารระบาด
1
2
ระยะฟักต ัว (8-12 ว ัน)
การระบาดในผูใ้ หญ่
ประเมินอ ัตราป่วยรายกลุม
่ อายุตาม
ี MMR ในการควบคุมโรค”
“แบบประเมินอ ัตราป่วยเพือ
่ ขอร ับว ัคซน
1. ผูใ้ หญ่ทเี่ กิดก่อนปี 2533
ี ขึน
้ อยูก
กลุม
่ อายุ & ขอบเขตการให้ว ัคซน
่ ับผลการสอบสวน และแบบประเมินฯ
อ ัตราป่วย รายกลุม
่ อายุ
<2%
>2%
ไม่ให้ MMR
ให้ MMR
• ควรให้แล้วเสร็ จภายใน 72 ชม.
หล ังร ับรายงานผูป
้ ่ วยรายแรก
ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์
การระบาดในผูใ้ หญ่
(ต่อ)
2. ผูใ้ หญ่ทเี่ กิดตงแต่
ั้
ปี 2533
ตรวจสอบการได้ร ับ MMR เมือ
่ เข้า ป.1
ี MMR เมือ
ประว ัติว ัคซน
่ เข้า ป.1
ได้ร ับ
ไม่เคยได้ร ับ/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
ไม่ให้ MMR
ให้ MMR
• ควรให้แล้วเสร็ จภายใน 72 ชม.
หล ังร ับรายงานผูป
้ ่ วยรายแรก
ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์
ี ป้องก ันและควบคุมโรคห ัด
แนวทางการให้ว ัคซน
เกิดการ
ระบาดโรค
ี เพือ
- ไม่แนะนาให้ว ัคซน
่ การควบคุม
โรคห ัด
- ให้ดาเนินการแบบระยะก่อนเกิดโรค
1
2
ระยะฟักต ัว (8-12 ว ัน)
ระยะฟักต ัว
> 1 เดือน
้ ทีท
ข้อแนะนาสาหร ับพืน
่ ไี่ ม่มก
ี ารระบาด
้ ที่
้ ในพืน
มีโรคห ัดเกิดขึน
แจ้ง
สสอ./สสจ
้ ทีใ่ กล้เคียง
พืน
ี
ตรวจสอบประว ัติได้ร ับว ัคซน
 เด็กก่อนว ัยเรียน
 เด็กว ัยเรียน (ป.1 – ม.6)
ให้ MMR ตามประว ัติ
ี
การได้ร ับว ัคซน
ี่ ง
ค้นหากลุม
่ เสย
้ ทีท
เด็กในพืน
่ ร
ุ ก ันดาร
เด็กด้อยโอกาส
เด็กแรงงานต่างชาติ
ให้ MMR ทุกคน
ี
การจ ัดหาและกระจายว ัคซน
เพือ
่ ป้องก ัน/ควบคุมโรคห ัด
ี
บทบาทในการจ ัดหาและสน ับสนุนว ัคซน
การกาจ ัดกวาดล้าง
โรคห ัดและโปลิโอ
การควบคุมการระบาดและ
การรณรงค์เสริม
ี พืน
้ ฐาน
ว ัคซน
(EPI Routine)
+ การเก็บตก
ผูเ้ ดินทางไปต่างประเทศ
บุคลาการ
กรม คร.
+ การปูพรม
สปสช.
ี
แนวทางการสน ับสนุนว ัคซน
(1)
กรมควบคุมโรค และสาน ักงานหล ักประก ันสุขภาพแห่งชาติ
(สปสช.) ได้ประชุมหารือ เรือ
่ ง บทบาทของหน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข้อง
ในแผนงานสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
เมือ
่ 23 มิถน
ุ ายน 2554
ทีป
่ ระชุมมีมติให้
• กรมควบคุมโรค โดยสาน ักโรคติดต่อทว่ ั ไป
ี OPV และ MMR
ร ับผิดชอบในการจ ัดหา และสน ับสนุนว ัคซน
(Urabe)
ในโครงการกวาดล้างโรคโปลิโอ และการกาจ ัดโรคห ัด
ั
ตามพ ันธะสญญานานาชาติ
่ ารให้
ในทุกกรณี ทีไ่ ม่ใชก
ี ตามระบบปกติ (EPI routine)
ว ัคซน
ี
แนวทางการสน ับสนุนว ัคซน
(2)
ี
สปสช. ร ับผิดชอบในการจ ัดหา และสน ับสนุนว ัคซน
อืน
่ ๆ ทีใ่ ชใ้ น EPI routine รวมถึงกรณีด ังต่อไปนี้
(ยกเว ้น OPV และ MMR ใน (1) )
• เพือ
่ เก็บตกในกลุม
่ เด็กก่อนว ัยเรียน/เด็กว ัยเรียน ทีไ่ ม่ได้
ี ครบตามเกณฑ์
ว ัคซน
ี แก่เด็กก่อนว ัยเรียน/เด็กว ัยเรียน
• เพือ
่ การรณรงค์ให้ว ัคซน
ี ไม่ได้ หรือในกลุม
ี่ งสูง
ทีต
่ รวจสอบประว ัติการได้ร ับว ัคซน
่ เสย
่ โรคคอตีบ (DTP-HB,
• เมือ
่ มีการระบาดของโรคติดต่ออืน
่ ๆ เชน
DTP, dT)
ี
แนวทางการสน ับสนุนว ัคซน
(3)
่ หน ังสอ
ื ขอเบิก
สสจ. สง
ไปย ังสาน ักโรคติดต่อทว่ ั ไป (สรต.)
เพือ
่ พิจารณาก่อนทุกกรณี
• สรต. แจ้งให้ สปสช. ทราบ
• สปสช. แจ้งต่อไปย ัง GPO
ั
ี ให้แก่ ฝ่ายเภสชกรรม
เพือ
่ สน ับสนุนว ัคซน
CUP”
ี MMR (1)
แนวทางการสน ับสนุนว ัคซน
ี MMR
สาน ักโรคติดต่อทว่ ั ไป สน ับสนุนว ัคซน
ทงในระยะก่
ั้
อนเกิดโรค และระยะทีม
่ ก
ี ารระบาด โดย
ี ได้ใน 2 กรณี
สสจ. สามารถขอร ับ การสน ับสนุนว ัคซน
กรณีท ี่ 1 เก็บตก (catch up)
ในเด็กก่อนว ัยเรียน (ห ัด/MMR) และเด็กว ัยเรียน
ี ครบตามเกณฑ์อายุ
ทีไ่ ม่ได้ร ับว ัคซน
ี MMR (2)
แนวทางการสน ับสนุนว ัคซน
กรณีท ี่ 2 ปูพรม (mop up)
ให้ MMR แก่เด็กทุกคนโดยไม่คานึงถึงประว ัติ
ี ในอดีต เพือ
การเจ็ บป่วยและประว ัติการได้ร ับว ัคซน
่
• ควบคุมการระบาด หรือ
ี กรณีไม่มห
• การรณรงค์ให้ว ัคซน
ี ล ักฐานการได้ร ับ
ี ของเด็กก่อนว ัยเรียน/ว ัยเรียน หรือ
ว ัคซน
ี่ งในพืน
้ ทีร่ ับผิดชอบ
• มีกลุม
่ เสย
ี MMR (3)
แนวทางการสน ับสนุนว ัคซน
ื ขอเบิกว ัคซน
ี MMR ไปย ัง สาน ักโรคติดต่อ
• สสจ. มีหน ังสอ
ทว่ ั ไป กรมควบคุมโรค โดยมีรายละเอียดด ังนี้
ี (เพือ่ catch up หรือ mop up)
เหตุผลการขอเบิกว ัคซน
จานวนกลุม
่ เป้าหมาย
ี ทีข
ี ทีข
ชนิดของว ัคซน
่ อเบิก จานวนว ัคซน
่ อเบิก
ี ร้อยละ 10)
(รวมอ ัตราสูญเสย
ี และว ันทีจ
ี
ว ันทีต
่ อ
้ งการได้ร ับว ัคซน
่ ะให้บริการว ัคซน
ั ของผูป
ื่ และเบอร์โทรศพท์
ชอ
้ ระสาน
ั
ี ภายใน 2 สปดาห์
รายงานผลไปย ัง สรต. หล ังการให้ว ัคซน
ี MMR (4)
แนวทางการสน ับสนุนว ัคซน
ี อย่างรีบด่วน เพือ
• หากต้องการใชว้ ัคซน
่ ควบคุมการระบาด
ขอให้ สสจ.ประสานงานมาได้ท ี่
กลุม
่ บริหารเวชภ ัณฑ์
ั
โทรศพท์
0-2590-3222 และ 0-2590-3365
โทรสาร 0-2591-7716
หรือ e-mail : [email protected]
่ โดยวิธต
่
• สาน ักโรคติดต่อทว่ ั ไป จะจ ัดสง
ี า
่ งๆ เชน
่ ให้เอง
- จ ัดสง
่ ว ัคซน
ี แทน
- จ้างหน่วยงานภาคร ัฐ/เอกชน จ ัดสง
ี MMR
แบบค ัดกรองการขอร ับการสน ับสนุนว ัคซน
เพือ
่ การควบคุมโรค
ี MMR
แบบประเมินอ ัตราป่วยเพือ
่ ขอร ับว ัคซน
สาหร ับการควบคุมโรคในผูใ้ หญ่ (1)
้ งต้น
ข้อมูลการระบาดเบือ
• การระบาดของโรค..............................
• สถานทีพ
่ บผู ้ป่ วย................................
• ตาบล..............................................
• อาเภอ.............................................
• จังหวัด............................................
• วันเริม
่ ป่ วยของผู ้ป่ วยรายแรก ...../......./.......
• วันทีพ
่ บผู ้ป่ วยรายแรก ...../......./......
ี MMR
แบบประเมินอ ัตราป่วยเพือ
่ ขอร ับว ัคซน
สาหร ับการควบคุมโรคในผูใ้ หญ่ (2)
อ ัตราป่วยแยกรายกลุม
่ อายุ
กลุม
่ อายุ
15-19 ปี
20-24 ปี
25-29 ปี
30-34 ปี
35-39 ปี
40 ปี ขน
ึ้ ไป
รวม
จานวนป่วย
จานวน
ทงหมด
ั้
Attack rate
(%)
ี MMR
แบบประเมินอ ัตราป่วยเพือ
่ ขอร ับว ัคซน
สาหร ับการควบคุมโรคในผูใ้ หญ่ (3)
ี ทีต
o จานวนว ัคซน
่ อ
้ งการเบิก ........... ขวด
ี ....../............./ ......
o ว ันทีเ่ ริม
่ ให้ว ัคซน
o ผูใ้ ห้ขอ
้ มูล
....................................
o สถานทีท
่ างาน ....................................
ั ทท
o เบอร์โทรศพท์
ี่ างาน .........................
ั เคลือ
o เบอร์โทรศพท์
่ นที่ .........................
่ แบบประเมิน ...../................/......
o ว ันทีส
่ ง
การกวาดล้างโรคโปลิโอ
ตราบใดทีย
่ ังคงมีผป
ู ้ ่ วยด้วยโรคโปลิโอ (wild poliovirus)
แม้เพียงประเทศใดประเทศหนึง่ ทุกประเทศบนโลกใบนี้
ี่ งทีจ
ย่อมมีความเสย
่ ะเกิดโปลิโอได้เสมอ.
สาน ักงานประสาน
การกวาดล้างโรคโปลิโอ
ั
โปลิโอ (Polio) : ไขสนหล
ังอ ักเสบ
ื้ ต้นเหตุ : Poliovirus (Enterovirus) มี 3 ชนิด Type I, II, III
• เชอ
้
• อาการ : มีอาการไข้ เจ็บคอ อาเจียน ปวดศรี ษะ ปวดตามกล้ามเนือ
้ อ่อนแรง เดินไม่ได้ แขนขา
ร้อยละ 1-2 จะมีอาการอ ัมพาตกล้ามเนือ
ี ชวี ต
ไม่มแ
ี รง มีความพิการตลอดชวี ต
ิ และบางรายอาจถึงเสย
ิ ได้
• อาการและอาการแสดง
– 90% inapparent infection
– 4-8% อาการไม่รน
ุ แรง : ไข้ตา
่ ๆ อาเจียน ปวดท้อง อ่อนเพลีย
– 1% เยือ
่ หุม
้ สมองอ ักเสบ ไม่มอ
ี ัมพาต
– 1-2% มีอาการอ ัมพาต แบบอ่อนปวกเปี ยกอย่างเฉียบพล ัน
้ องคนเท่านน
ื้ จะอยูใ่ นลาไสข
• แหล่งโรค : เชอ
ั้ เมือ
่ ถูกข ับถ่ายออกมาภายนอก
ื้ จะอยูภ
จะไม่สามารถเพิม
่ จานวนได้ และเชอ
่ ายนอกร่างกายในสงิ่ แวดล้อม
ไม่ได้นาน
• ระยะฟักต ัว : 7-10 ว ัน (3–35)
ื้ ไวร ัสจะเข้า
• การติดต่อ : ติดต่อจากคนหนึง่ ไปย ังอีกคนหนึง่ ได้งา
่ ยมาก เชอ
้ องผูต
ื้ แล้วผ่านออกมาทางอุจจาระเป็นระยะเวลา
ไปอยูใ่ นลาไสข
้ ด
ิ เชอ
ประมาณ 1-2 เดือน
ื้ ทีผ
เชอ
่ า
่ นออกมาจะผ่านเข้าสูร่ า
่ งกายของอีกคนหนึง่ ทางปาก โดยติดมาก ับ
มือ หรือปนเปื้ อนมาก ับอาหาร นา้ ดืม
่
• การร ักษาแบบประค ับประคอง และการดูแลผูป
้ ่ วย
้ า้ ชุบนา้ อุน
้ ใชผ
- ในระยะแรกทีม
่ อ
ี าการปวดตามกล้ามเนือ
่ ประคบ
ิ
ให้นอนพ ักคอยดูแลอย่างใกล้ชด
่ ยหายใจ
- ถ้ามีอ ัมพาต และมีการหายใจลาบากจะต้องใชเ้ ครือ
่ งชว
้ เป็นอ ัมพาตเพิม
้ และหายปวด
- เมือ
่ ไม่มก
ี ล้ามเนือ
่ มากขึน
้
จึงเริม
่ ให้การนวดเพือ
่ ฟื้ นฟูสมรรถภาพของกล้ามเนือ
• การป้องก ัน
ี โปลิโอให้ครบ 5 ครงั้ เมือ
- ร ับว ัคซน
่ อายุ 2, 4, 6 เดือน, 1 ปี และ 4 ปี
ี โปลิโอในชว
่ งทีม
และไปร ับว ัคซน
่ ก
ี ารรณรงค์อก
ี ทุกครงั้
ื้ และการแพร่กระจายของโรคโปลิโอได้ ด ังนี้
- ป้องก ันการติดเชอ
• ล้างมือก่อนร ับประทานอาหารทุกครงั้
• ร ับประทานอาหารและนา้ ดืม
่ ทีส
่ ะอาด
• ล้างมือให้สะอาดหล ังจากถ่ายอุจจาระทุกครงั้
กลุ่มโรคติดต่ อทีป่ ้ องกันได้ ด้วยวัคซีน
4 มาตรการหลัก ในการกวาดล้างโรคโปลิโอ
1. เพิม่ ระดับความครอบคลุม OPV3 ในเด็กอายุครบ 1 ปี
 ทุกตาบล/เทศบาล มีความครอบคลุม OPV3 > 90%
2. เฝ้ าระวังผู้ป่วย AFP
 รายงานผู้ป่วย AFP อายุ < 15 ปี ทุกราย ( > 2/แสน เด็กอายุ < 15 ปี )
 เก็บอุจจาระ 2 ตัวอย่ าง ภายใน 14 วันหลังเริ่มมีอาการ AFP ในปริมาณ
ทีเ่ พียงพอ ( 8 กรัม) ส่ งไปยังกรมวิทย์ ฯ ภายใต้ ระบบลูกโซ่ ความเย็น
3. สอบสวนและควบคุมโรค


สอบสวนโรคทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง หลังจากพบผู้ป่วย
ควบคุมโรคในรายทีค่ วามครอบคลุมวัคซีนในพืน้ ที่ < 90%
ภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากพบผู้ป่วย
4. รณรงค์ ให้ วคั ซีนโปลิโอเป็ นมาตรการเสริม
 ทุกตาบล/เทศบาล โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายพิเศษ มีความครอบคลุม > 90%
หน้ า 72-73
2. การเฝ้ าระวังผู้ป่วย AFP
http://www.polioeradication.org/content/general/casecou
nt.pdf
www.whosea.org
www.thaigcd.ddc.moph.go.th/vac
ACUTE FLACCID PARALYSIS
หน้ า 25
มีอาการอ่ อนแรงของขา หรือแขน หรือทั้งขาและแขนข้ างใดข้ าง
หนึ่ง หรือทั้งสองข้ างเกิดขึน้ อย่ างรวดเร็ว (Acute onset)
กล้ ามเนือ้ ของส่ วนขา หรือแขน ที่เป็ นอัมพาต จะอ่ อนปวกเปี ยก(Flaccid)
เคลือ่ นไหวขาหรือแขนข้ างที่เป็ นอัมพาตไม่ ได้ ยืนหรือเดินไม่ ได้
บางครั้งอาจมีอมั พาตของกล้ ามเนือ้ ที่ช่วยในการหายใจ
และการกลืนร่ วมด้ วย ทาให้ มีการหายใจลาบาก และสาลัก
ระยะตั้งแต่ เริ่มมีอาการ จนถึงอัมพาตเต็มที่ประมาณ 1-10 วัน
การตรวจ Deep Tendon Reflex จะพบว่ า ลดลงในระยะแรก และ
ไม่ มีการตอบสนอง เมื่อมีอมั พาตเกิดขึน้
้
บ ันทึกการตรวจร่างกายของระบบประสาท และกล้ามเนือ
Muscle tone : 0 - V
V
II
IV
0
DTR: 0 – 4+
2+
2+
1+
1+
2+
2+
0
0
การทา Active Search
แบ่ งเป็ น 3 ระดับ
ระดับโรงพยาบาล
• ผู้รับผิดชอบคือฝ่ ายเวชกรรมสั งคม
• เป้าหมายคือผู้ป่วยอายุตา่ กว่ า 15 ปี
ที่เข้ ามารับการรักษา
• ความถีข่ องการดาเนินงานคือ ทาทุกสั ปดาห์
Causes of AFP and ICD-10
Disease
AFP
Acute Anterior Poliomyelitis
ICD-10
G82, G82.0,
G82.3
A80
Acute Myelopathy
G95.9
Guillain-Barre syndrome
G61.0
Acute Demyelinating
neuropathy
G36.9
Acute Axonal Neuropathy
G58, G58.9
Disease
Snake Bite
ICD-10
W59, X20
Tick paralysis,
T63.4,
Idiopathic inflammatory
myopathy
G72.4
Trichinosis
G75
Hypokalemic, Hyperkalemic
paralysis, E’lyte Imbalance
G72.3
E87.8
Peripheral Neuropathy
G62.9
Traumatic neuritis
M79.2
Acute intermittent
porphyria
E80.2
Transverse Myelitis
G37.3
Myalgia
Weaknees(Malaise,Fatique)
M79.1
R53
G04.9
Critical illness neuropathy
G58, G58.8
Myasthenia Gravis
G70.0
Meningoencephalitis
Botulism
G05.1
TB Meningitis
Insecticide intoxication
T60
Paralysis
Myocytis
G01
G83.9
M 60.8 60.9
การเฝ้าระว ังผูป
้ ่ วย AFP ปี 2549-2554
(เกณฑ์ :อ ัตราผูป
้ ่ วย AFP 2 ต่อแสนประชากรอายุตา
่ กว่า 15 ปี )
per 100,000 pop aged under 15 yrs.
2.5
2.2
2.13
1.97
2
1.67
1.68
1.64
1.5
1
0.5
0
2549
2550
2551
2552
2553
2554
ข้อมูล ณ ว ันที่ 30 พฤศจิกายน 2554
การเฝ้าระว ังผูป
้ ่ วยอ ัมพาตกล้าม
้ อ่อนเปี ยกอย่างเฉียบพล ัน
เนือ
Acute onset Flaccid Paralysis
(AFP)
ผูป
้ ่ วยทีม
่ อ
ี าการอ่อนแรงของ
แขน, ขา หรือทงขาและแขน
ั้
ข้างใดข้างหนึง่ หรือ ทงสองข้
ั้
าง
้ อย่างรวดเร็ว
ซงึ่ อาการเกิดขึน
ยกเว้นผูป
้ ่ วยทีม
่ อ
ี าการบาดเจ็ บรุนแรง
่ าการอ ัมพาต
(Trauma) ซงึ่ นาไปสูอ
้ อ่อนแรง
กล้ามเนือ
สติกเกอร์เมือ
่ พบผูป
้ ่ วย AFP ในสถานบริการสาธารณสุข
การเก็บอุจจาระผูป
้ ่ วย AFP
• เก็บอุจจาระ จานวน 2 ต ัวอย่าง
ห่างก ันอย่างน้อย 24 ชว่ ั โมง
• ต ัวอย่างอุจจาระ ครงที
ั้ ่ 2 ต้องไม่เกิน 14 ว ัน
น ับจากว ันทีผ
่ ป
ู ้ ่ วยเริม
่ มีอาการอ ัมพาต หรืออ่อนแรง
• เก็บอุจจาระปริมาณ 8 กร ัม
(ขนาดประมาณ 2 นิว้ ห ัวแม่มอ
ื ผูใ้ หญ่)
่ วามเย็น
• อุจจาระทีเ่ ก็บ ต้องอยูใ่ นระบบลูกโซค
3. การสอบสวน และควบคุมโรค
7. ประวัติการได้ รับวัคซีน
7.1 การได้ รับวัคซีนขั้นพืน้ ฐานตามกาหนดปกติ
ชนิดวัคซีน
ไม่ได้ รับ ไม่ทราบ
วัน/เดือ น/ปี ที่ได้ รับวัคซีน
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5
วัณโรค (BCG)
ตับอักเสบบี (HB)
คอตีบไอกรนบาดทะยัก (DTP)
โปลิโอ (OPV)
หัด (M)
ไข้ สมองอักเสบเจอี (JE)
อืน่ ๆ……………………………..
แหล่งข้ อมูลการรับวัคซีน โปรดระบุ
สมุดบันทึกสุ ขภาพเด็ก  ทะเบียนการได้ รับวัคซีนในเด็กที่สถานบริการ
 คาบอกเล่ าจากพ่อแม่ /ผู้ปกครอง
7.2 การได้ รับวัคซีนโปลิโอในโอกาสอืน่ ๆ
การได้ รับวัคซีนโปลิโอ
- ในช่ วงรณรงค์ให้
วัคซีนโปลิโอ
(NID/Sub-NID)
- ในการให้ วคั ซีนโปลิโอ
เพือ่ การควบคุมโรค
จานวนครั้ง
ที่ได้ รับวัคซีน
ครั้งสุ ดท้ ายที่ แหล่งข้ อมูล
ได้ รับวัคซีน (ระบุ)
(วดป.)
8. ข้ อมูลการได้ รับวัคซีนโปลิโอ
8.1 ประวัตกิ ารรับวัคซีนโปลิโอของเด็กอายุตา่ กว่ า 5 ปี ในหมู่บ้าน
ทีพ่ บผู้ป่วยและหมู่บ้านทีม่ ีประวัตสิ ั มผัสหรือถ่ ายทอดโรค
กลุ่มอายุ
< 1 ปี
1 ปี ถึง 4 ปี 11
เดือน
จานวนเป้ าหมาย
(คน)
ประวัติการได้ รับวัคซีน
โปลิโอในระบบปกติ
ครบ 3 ครั้ง (คน)
ความ
ครอบคลุม
(%)
ไม่ ต้อง
คานวณ
8.2 ความครอบคลุมของการได้ รับวัคซีนโปลิโอ 3 ครั้ง
ในเด็กอายุ 1 ปี (OPV3)ในตาบล ทีพ่ บผู้ป่วย AFP
8.2.1 ในเดือนทีผ่ ้ ูป่วยเริ่มมีอาการอัมพาต มีเด็กอายุครบ 1 ปี
ทั้งหมด ณ ตาบลทีพ่ บผู้ป่วย
จานวน …. คน
8.2.2 มีเด็กตาม ข้ อ 8. 2.1 ที่ได้ รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง
จานวน …..คน
คิดเป็ นความครอบคลุม…..%
8.3 ความครอบคลุมของการได้ รับวัคซีนโปลิโอของเด็กอายุตา่ กว่ า
5 ปี ช่ วงรณรงค์ ฯ ครั้งล่ าสุ ดในตาบลทีพ่ บผู้ป่วย AFP
8.3.1 จานวนเด็กในตาบลทั้งหมด
รอบที่ 1 เมื่อวันที่ .… เดือน …… พ.ศ.…… จานวน ……… คน
รอบที่ 2 เมื่อวันที่ .… เดือน …… พ.ศ.…… จานวน ……… คน
8.3.2 จานวนเด็กตามข้ อ 8.3.1 ที่ได้ รับวัคซีนโปลิโอในช่ วงรณรงค์ ฯ
รอบที่ 1 จานวน ………… คน คิดเป็ นความครอบคลุม………%
รอบที่ 2 จานวน ………… คน คิดเป็ นความครอบคลุม……….%
ชื่อผู้สอบสวน……………………… ตาแหน่ ง……………………
ที่ทางาน…………….วันที่สอบสวน……โทรศัพท์ ………………
ข้ อมูลการให้ วคั ซีนโปลิโอ
1. ประวัติการรับวัคซีนโปลิโอของเด็กอายุต่ากว่ า 5 ปี หรือเท่ ากับอายุผ้ ูป่วย AFP ลงมา
(ในกรณีที่ผ้ ูป่วย AFP มีอายุเกิน 5 ปี ในหมู่บ้าน ที่เป็ นกลุ่มเป้าหมายหยอดวัคซีน
ในการควบคุมโรค (ORI)
กลุ่มอายุ
< 1 ปี
1 ปี ถึง
4 ปี 11 เดือน
5 ปี ถึง อายุเท่ากับ
ผูป้ ่ วย AFP
รวม
ประวัติการได้รบั วัคซีนโปลิโอ
จานวนเป้าหมาย
ในระบบปกติ ครบ 3 ครั้ง
(คน)
(คน)
ประวัติการรับวัคซีน
ช่ วงรณรงค์ครั้งล่าสุด
ปี …………….
รอบที่ 1 …………………….. (คน)
รอบที่ 2 …………………….. (คน)
รอบที่ 1 …………………….. (คน)
รอบที่ 2 …………………….. (คน)
รอบที่ 1 …………………….. (คน)
รอบที่ 2 …………………….. (คน)
รอบที่ 1 …………………….. (คน)
รอบที่ 2 …………………….. (คน)
พืน้ ที่ดาเนินการให้
วัคซีน
จานวนเด็ก
เป้ าหมาย
(คน)
จานวนเด็กที่ได้ วคั ซีน
(คน)
วันที่ให้ วคั ซีน
จานวนเด็ก
เป้ าหมาย
จานวนเด็กที่ได้ วคั ซีน
ความครอบคลุม
%
หมู่บา้ น……
หมู่บา้ น……
หมู่บา้ น……
โรงเรี ยน…
รวม
การดาเนินการสอบสวน และควบคุมโรค ภายหล ังพบ
ผูป
้ ่ วย AFP ปี 2541-2554
100
ร้อยละ
เกณฑ์ทก
ี่ าหนด 90 %
80
60
83
75
67
59
40
20
84
82
82
74
72
67
62
67
77
83
85
48
81
91
81
64
72
72
71
93
68
63
41
25
0
2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
Investigation within 48hr.
Outbreak response within 72 hr.
ข้ อมูล 8 ส.ค. 54
การตรวจสอบความครอบคลุมการได้ รับ OPV ในเด็ก < 5 ปี
หน้ า 30
 ความครอบคลุมของการได้ OPV ครบ 3 ครั้ง ในเด็ก < 5 ปี
ทีอ่ ยู่ในพืน้ ที่ (ที่ต้องทา ORI ทั้งหมุ่บ้าน หรือตามข้ อมูลการสอบสวนโรค)
 ความครอบคลุมของการได้ OPV ครบ 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ1 ปี
ในตาบล ทีพ่ บผู้ป่วย (เกิดในเดือนนีเ้ มื่อปี พ.ศ.ที่ผ่านมา)
 ความครอบคลุมของการได้ รับ OPV ในการรณรงค์ SNID
ในตาบล ทีพ่ บผู้ป่วย แต่ ละรอบของปี ที่ผ่านมา
 ในกรณีทคี่ วามครอบคลุมของการได้รับ OPV ข้อ 1 และ 3
ต่ากว่ า 90 % ให้ ทา ORI ทั้งหมู่บ้าน ถ้ าเป็ นข้ อ 2 ทา ORI ทั้งตาบล
 ในกรณีทคี่ วามครอบคลุมของการได้ รับ OPV ข้ อ 1 - 3
ไม่ น้อยกว่ า 90 % ไม่ ต้องทา ORI
ขั้นตอนการทา ORI
ให้ OPV 1 ครั้งทุกคน ภายใน 72 ชม. หลังพบ AFP
กลุ่มอายุ
 ผู้ป่วยอายุ < 5 ปี : หยอดเด็ก < 5 ปี
ผู้ป่วยอายุ 5-15 ปี : หยอดเด็กตา่ กว่ าอายุผ้ ูป่วยลงมา
ขอบเขตพืน้ ที่
 หมู่บ้านทีพ่ บ AFP หรือหมู่บ้านทีม่ ีประวัติสัมผัสโรค
หรือถ่ ายทอดโรค
เมือ
่ พบผูป
้ ่ วย AFP อายุมากกว่า 15 ปี
หน้ า 31
ต้ องดำเนินกำรสอบสวนโรค และเก็บตัวอย่ ำงอุจจำระ ทุกรำย
พร้ อมกับตรวจสอบควำมครอบคลุมกำรได้ รับวัคซีนของเด็กในพืน้ ที่ (OPV3 / NID)
กำรสอบสวนผู้ป่วย เพื่อพิจำรณำลักษณะอำกำรสำคัญคือ
ก. อำกำรไข้ ในวันที่เริ่มมี AFP
ข. อำกำร AFP มีลักษณะไม่ เท่ ำกันทัง้ สองข้ ำง (Asymmetry)
ค. อำกำรอัมพำตเต็มที่เกิดขึน้ เร็วภำยใน 4 วัน นับตัง้ แต่ วันที่เริ่มมีอำกำรอ่ อนแรง
ง. ไม่ มีกำรสูญเสียของประสำทรั บควำมรู้ สกึ
 ถ้ ำผู้ป่วยมีอำกำรในข้ อ ก. และ ข. ร่ วมกับ ข้ อ ค. หรือ ง. – ข้ อใดข้ อหนึ่ง
( ก+ข+ค หรื อ ก+ข+ง ) ให้ ทำ ORI แก่ เด็กอำยุ < 15 ปี
แต่ ถ้ำตรวจสอบควำมครอบคลุมในพืน้ ที่แล้ ว ไม่ พบว่ ำมีพนื ้ ที่ท่ ีต่ำกว่ ำ 90%
ไม่ ต้องทำ ORI
หน้ า 31
การควบคุมโรคเมือ่ พบผู้ป่วย imported AFP
การทา ORI ใช้ แนวทางเดียวกับกรณีของเด็กไทย
ถ้ า เด็กมีทอี่ ยู่ในประเทศไทย  ORI ในพืน้ ทีท่ พี่ บผู้ป่วย
ถ้ า เด็กมาจากต่ างประเทศ  ORI ในพืน้ ทีท่ ผี่ ้ ูป่วยเข้ ารับ
การรักษา