ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของห้องปฏิบัติการ

Download Report

Transcript ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของห้องปฏิบัติการ

แนวทางการตรวจทางห้ องปฏิบัติการ
โครงการกวาดล้ างโรคหัด
ตัวชี้วดั ความสาเร็จและเป้ าหมายของการกาจัดโรคหัด
มาตรการ
ตัวชี้วดั
เป้าหมาย
บทบาทของLab
1. ความครอบคลุมของ
วัคซีน
ความครอบคลุ ม ของวัค ซี นป้ องกันโรค
หัดเข็มแรก ตาม EPI program และเข็มที่
สอง ตาม EPI program หรื อการรณรงค์
ใ ห้ วั ค ซี น เ ส ริ ม (Supplementary
immunization activity: SIA)
ความครอบคลุ มของวัคซี นป้ องกันโรค การตรวจหาระดับภูมคิ ้ ุมกันต่ อ
หัดเข็มแรก และเข็มที่ สองต้องไม่น้อย ไวรัสหัด
กว่ า ร้ อ ยละ 95 ในระดั บ ต าบลและ
ระดับประเทศ
2. ขนาดของเหตุการณ์ การ
ระบาด
จานวนผูป้ ่ วยยืนยันในแต่ ล ะเหตุ ก ารณ์ พบผูป้ ่ วยยืนยัน โรคหัดไม่ เกิ น 10 ราย การตรวจยืนยันโรคหัดในแต่ ละ
ระบาด
ต่อหนึ่ งการระบาดในอย่างน้อยร้ อยละ เหตุการณ์ ระบาด ด้ วยวิธี ELISA
80 ของเหตุการณ์ระบาดทั้งหมด
IgM
3. อุบัติการณ์ ของโรคหัด
อุบตั ิการณ์โรคหัดต่อประชากรล้านคน
อุ บ ั ติ การณ์ โรคหั ด น้ อ ย กว่ า 1 ต่ อ การตรวจยืนยันโรคหัดด้ วยวิธี
ประชากรล้านคน ทั้งนี้ ไม่นบั รวมผูป้ ่ วย ELISA IgM และตรวจหาสาย
นาเข้าจากต่างประเทศ (imported case) พันธุ์ไวรัสหัดในแต่ ละเหตุการณ์
ระบาด
4. สายพันธุ์ของไวรัสโรคหัด จ านวนสายพัน ธุ์ ข องไวรั ส โรคหั ด ที่ ไม่ มี ผู้ป่ วยยี น ยัน โรคหัด ที่ ติ ด เชื้ อ จาก ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่
แพร่ กระจายภายในประเทศ
ไวรัสหัดสายพันธุ์ ภายในประเทศ เป็ น ละเหตุการณ์ ระบาด
ทีแ่ พร่ กระจาย
ระยะเวลาติดต่อกันไม่ต่ากว่า 12 เดือน
ภายในประเทศ
Recommended by WHO
ตัวชี้วดั ทางห้ องปฏิบัตกิ าร
1. การตรวจยืนยันการติดเชือ
้ ไวรัสด้วยการตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA
ตัวชี้วัด
รายงานผลภายใน 48 ชั่วโมง
เกณฑ์ที่ยอมรับได้
 90%
2. การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุข
์ องไวรัสหัด
ตัวชี้วัด
รายงานผลภายใน 1 เดือน
เกณฑ์ที่ยอมรับได้
 90%
วัตถุประสงค์และชนิดตัวอย่างส่งตรวจ
1. การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัดโดยวิธี ELISA IgM
• Serum
2. การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ (Genotype) ไวรัสหัด
• Throat swab
หรือ
• Nasal swab
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง
การเก็บตัวอย่ างส่ งตรวจทางห้ องปฏิบัติการ
วัตถุประสงค์
การตรวจ
วิธีการตรวจ
ชนิดตัวอย่ าง
ระยะเวลาทีเ่ ก็บ
จานวน
อุณหภูมใิ นการขนส่ ง
ตัวอย่ าง/outbreak และเก็บรักษาตัวอย่ าง
ยืนยัน
case/outbreak
ELISA (IgM)
Serum
เจาะเลือดเพียงครั้ง
เดียวช่ วง 4-30 วัน
หลังพบผืน่
10-20 ตัวอย่ าง
#2-8 C (ไม่ เกิน 3 วัน)
# -20C (เกิน 3 วัน)
ตรวจหาสายพันธุ์
Sequencing
Nasal/throat
swab
1-5 วันแรกหลังพบ
ผืน่
 5 ตัวอย่ าง
#2-8 C
(ส่ งตัวอย่ างทันที/ไม่ เกิน
24 ชั่วโมง)
# ≤ -70 C (เกิน 24
ชั่วโมง)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์