Transcript ppt

มังค ุด
ปี
2554
ปี
2555
ปี
2556
1. จำนวนผู้ปลูก (ครัวเรือน)
91,291
88,503
87,248
2. เนื้ อที่ให้ผล (ไร่)
409,683
406,532
409,052
357
517
682
146,315
210,255
278,191
3. ผลผลิ ตเฉลี่ย
4. ผลผลิ ตรวม (ตัน)
ข้อมูล : สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร
ด้านการผลิต
แนวโน้มปี 2557 คาดว่าจะมีเนื้อที่ให้ผลลดลงจากปี
2556 เนื่องจากราคาที่เกษตรกรขายได้อยูใ่ นระดับต่า
ประกอบกับต้นท ุนการผลิตสูง ผลตอบแทนที่ได้รบั ไม่จงู
ใจ ทาให้เกษตรกรโค่นต้นมังค ุดที่อายุมาก แล้วเปลี่ยนไป
ปล ูกยางพารา และปาล์มน้ามัน ในขณะที่ผลผลิตมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวยต่อ
การติดดอกออกผล
ด้านการตลาด
๏ ความต้องการบริโภค คาดว่า ความต้องการบริโภค คาดว่า ความ
ต้องการบริโภคภายในประเทศของมังคุดสดและผลิตภัณฑ์ ใกล้เคียงกับปี
ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตลดลง ขณะที่การส่งออกเพิ่มขึ้น
๏ การส่งออก คาดว่า จะมีการส่งออกมังคุดสดและผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น
จากปี ที่ผ่านมา เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของความต้องการมังคุดคุณภาพ
โดยเฉพาะตลาดจีน ซึ่งต้องการมังคุดสดยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
๏ ราคา คาดว่า ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ
และราคาส่งออกเพิ่มขึ้นจากปี ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตลดลง
แต่ความต้องการของตลาดมีอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม อาจเกิดปั ญหา
ราคาตกต ่าในช่วงผลผลิตกระจุกตัวได้
ะ ทศ
(9)
ว
ท :
ศล
ูลค (ล้ บ ท)
1,444
485
2,111
18
80
4
109
4,251
5
Office of Agricultural Economics (OAE)
ล้ บ ท
ะ ทศ
2500.00
ว
ตว ฉล %
154.07
ู
2000.00
11.36
36.55
1500.00
1000.00
500.00
ล
99.11
ลว
-50.98
ค
81.97
159.17
0.00
ว
ท :
ต ข
ู
ศล
ล
ลว
ค
6
Office of Agricultural Economics (OAE)
ศ ภ
แข ข ข ไท ใ
Position
Star
็
ค้ ทไท ็ ะ ทศผู้ผลตและ
ให ท ใ
คว ต้
ค้ ใ
ตล
ณ
ต
ูใ ะ บ ู ึ
ข ต วใ
ข้ ค้ ข
ะ ทศใ
และ
ณ คว
ถใ
แข ข
ึ ูใ ะ บ ู
ท บ บคูแข
ค้
1.1 บ ะ ะ ๋ และ
้ บ ะ
1.2 ค
1.3 ล ไ
7
Office of Agricultural Economics (OAE)
ข้อได้เปรียบ
เป็ น Queen of Fruit รสชาติดีเป็ นที่ยอมรับ/ต้องการใน
ตลาดโลก
เกษตรกรและผูส
้ ่งออกมีความชานาญและประสบการณ์สูง
มีคณ
ุ ค่าทางโภชนาการสูง
แปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ได้หลายประเภท
ข้อเสียเปรียบ
ต้นทุนการผลิตและโลจิสติกส์สูง
ผลผลิตเกิดความเสียหายง่าย อายุการเก็บรักษาสั้น
ผลผลิตส่วนมากมีจาหน่ายเป็ นฤดูกาล
1. ผลผลิตออกพร้อมกัน (ภาคตะวันออก – ใต้ (ชุมพร/ระนอง/พังงา))
 แนวทางแก้ไข - ควรมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมังคุดเหลื่อมฤดู
โดยการจัดการใบ ดอก และผล
2. การเก็บเกี่ยวผลผลิต
- ไม่ถกู ระยะ
- ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสม
 แนวทางแก้ไข – ถ่ายทอดวิธีการเก็บเกี่ยวมังคุดคุณภาพที่ถูกต้องตาม
ระยะของมังคุด ให้กบั เจ้าหน้าที่ส่งเสริมและเกษตรกร รวมทั้งแนะการใช้
อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการเก็บผลผลิต
- พัฒนาอุปกรณ์การเก็บเกี่ยวให้เหมาะสมกับพื้ นที่
3. คุณภาพผลผลิต (เนื้อแก้ว /ยางไหล/ ผิวลาย/หูดา)
 แนวทางแก้ไข – เนื้ อแก้ว การจัดการน้ าในสวนโดยการให้น้ า
สมา่ เสมอในช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิต
- ยางไหล ใช้เทคโนโลยีการจัดการมังคุดคุณภาพ
- ผิวลาย ควบคุมเพลี้ ยไฟ /ไรแดง ตั้งแต่ระยะออก
ดอกถึงระยะผลอ่อน
- หูดา ควบคุมโรคไหม้ในระยะผลอ่อน
4. ขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยว
 แนวทางแก้ไข – กรณีสวนใหม่ ใช้เทคโนโลยีการควบคุมทรงพุม
่ ไม่ให้สงู เกินไป
- กรณีสวนเก่า พัฒนาเครื่องมือเก็บเกี่ยวให้เหมาะสม
5. การตลาด
 แนวทางแก้ไข – ส่งออกต่างประเทศ มีเงื่อนไขแตกต่างกันในแต่ละประเทศ
ดังนั้น ผูผ้ ลิต ต้องทาให้ผลผลิตได้คุณภาพตรงตามเงื่อนไข ของประเทศที่ จะส่งไปขาย
6 ผลผลิตมังคุดด้อยคุณภาพ
 แนวทางแก้ไข – การแปรรูปผลผลิตมังคุดด้อยคุณภาพเพื่อเพิ่มมูลค่า
ต้นทุนการผลิต
ต้นทุน(ปี
56 : บาท/ไร่)
1. ต้นทุนผันแปร
6,922.90
2. ต้นทุนคงที่
2,274.27
3. ต้นทุนรวมต่อไร่
9,197.17
4. ต้นทุนรวมต่อกิโลกรัม 13.77
5. ผลผลิตต่อไร่ (กก.)
682
มาตรการเชิงรุก :
1) การพัฒนาองค์กรเกษตรกร
 การจัดตั้งกลุม
่ ใหม่ และการพัฒนากลุม่ เดิม
 การพัฒนาเครือข่ายในทุกระดับ
 การพัฒนากลุม
่ ผูผ้ ลิตมังคุดระดับจังหวัด และส่งเสริมการลงทุนในด้าน
เครือ่ งจักรกล เช่น เครือ่ งคัดแยกขนาดและสีมงั คุด เป็ นต้น
 สร้างความเชื่อมั ่นภายในกลุม
่ สมาชิก และส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ้
ซึ่งกันและกัน
 สร้างเครือข่ายการผลิตมังคุดครบวงจร ให้มีการเชื่อมโยงกันตลอดห่วงโซ่
การผลิต
 พัฒนากลุม
่ ให้สามารถผลักดันผลผลิตมังคุดสูป่ ระเทศเพือ่ นบ้านได้
2. การลดต้นทุน
 ลดการใช้สารเคมี
 ใช้ป๋ ุยอินทรีย ์
 ใช้เครือ
่ งกลแทนแรงงานคน
3. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
 อบรมให้ความรูแ
้ ก่เกษตรกร เน้นการจัดการก่อน-หลังการเก็บเกี่ยว
 ส่งเสริมให้เกษตรกรผูผ
้ ลิตมังคุดได้รบั การรับรองมาตรฐาน GAP และพัฒนา
ต่อเนื่องสูม่ าตรฐาน ASEAN GAP
 การผลิตมังคุดปลอดสารพิษ
 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมังคุดคุณภาพโดยกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร
ตามพัฒนาการของพืช
4. การสร้างอัตลักษณ์
 พัฒนาตราสัญลักษณ์ผลผลิตของกลุ่ม
 พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับผลผลิตมังคุด
5. การขยายตลาด
 พัฒนาระบบโลจิสติกส์
 พัฒนาการแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เช่น อบแห้ง แช่อิ่ม น้ ามังคุด
แช่เย็น ฯลฯ และพัฒนาเป็ นวัตถุดิบเบื้องต้นในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
เช่น เครื่องสาอาง ยา เครื่องดื่มสุขภาพ เป็ นต้น
 การกาหนดมาตรฐานคุณภาพให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
6. อื่นๆ
 สนับสนุ นห้องเย็น เครื่องอบไอน้ าเพื่อการจัดการผลผลิตส่งออก
1. พัฒนาระบบชลประทาน
 พัฒนาระบบชลประทานให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่
2. ศึกษาวิจยั เชิงลึก
 การยืดอายุการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา
 การค้าในประเทศและต่างประเทศ
3. ศึกษาการตลาดผลไม้
 การขนส่งมังคุดทางเรือไปประเทศสหรัฐอเมริกา และ
ออสเตรเลีย
 การตลาดและคุณภาพมังคุดคัด
4. อื่นๆ
 ขยายตลาดในประเทศและต่างประเทศให้มากขึ้น
หลักสูตร
วิเคราะห์สถานการณ์ - ด้านการผลิตและการตลาดของ
มังคุด
- ศักยภาพการแข่งขัน (TCM)
ในตลาด AEC
มาตรฐาน ASEAN GAP
เทคโนโลยีการผลิตมังคุดคุณภาพ
Thank You!