อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (Criminology and Penology)

Download Report

Transcript อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (Criminology and Penology)

อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
(CRIMINOLOGY AND PENOLOGY)
โดย
อาจารย์ กาญจณา สุ ขาบูรณ์
สาขานิตศิ าสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และ
สั งคมศาสตร์
อาชญากรรม (CRIME)
กับ
อาชญากร (CRIMINAL)
อาชญากรรม (Crime)
ความหมายของอาชญากรรม
อาชญากรรม หมายถึง การกระทาหรืองดเว้นการกระทา
อันฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย ซึ่งรัฐจะลงโทษผูก้ ระทาความผิดตาม
กระบวนการยุตธิ รรม (William L.Marchall & William L.Clark)
- Jeremy Bentham
- B.A. Worths
- Garofalo
- J. Makarewicz
ประเภทของอาชญากรรม
 อาชญากรรมตามความหมายอย่ างกว้ าง ครอบคลุมความผิด
ที่ไม่ ร้ายแรง (Misdemeanors) ความผิดอุกฉกรรจ์ (Felony)
และความผิดต่ อความมั่นคงของรัฐ (Treason)
 อาชญากรรมตามความหมายอย่ างแคบ หมายถึง การกระทา
ความผิดที่ร้ายแรงเท่ านั้น
 บทนิยามจากกฎหมายและศีลธรรม แบ่ งอาชญากรรมเป็ น
- ความผิดในตัวเอง (mala in se)
- ความผิดเพราะกฎหมายห้ าม (mala prohibita)
วิวฒั นาการของอาชญากรรมในอดีต
 สั งคมดั้งเดิม (Primitive society) ใช้ ระบบแก้ แค้ นทดแทน
“ตาต่ อตาฟันต่ อฟัน” (An eye for an eye, A tooth for a tooth)
ผูเ้ สียหาย หรือญาติ
แก้แค้น
ผูก้ ระทาความผิด
 ยุครัฐเข้าแทรกแซง
- เพื่อระงับข้อพิพาท
- เพื่อรักษาระเบียบของสังคม (Social Order)
 การจ่ ายค่ าสิ นไหมทดแทน แทนการแก้ แค้ น
การกระทาที่เป็ นอาชญากรรม
1. นัยของนักกฎหมาย : ความหมายอย่ างกว้ าง
“อาชญากรรมเป็ นความประพฤติทกี่ ฎหมายอาญาห้ าม
และมีบทลงโทษไว้ ” บุคคลผู้ละเมิดกฎหมายอาญาจึงเป็ น
อาชญากรทั้งหมด
2. นัยของนักอาชญาวิทยา : ความหมายอย่ างแคบ
อาชญากรรม หมายถึง การกระทาที่ร้ายแรงเท่ านั้น การกระทาที่ไม่
ชั่วร้ ายจึงไม่ ถือว่ าผู้กระทาเป็ นอาชญากร เช่ น ความผิดลหุโทษ
ประเภทของอาชญากรรม
 อาชญากรรมตามหลักจริยธรรมหรือศีลธรรม
 อาชญากรรมตามลักษณะพฤติกรรม
ประเภทของอาชญากรรม
 อาชญากรรมตามหลักจริยธรรมหรือศีลธรรม
- อาชญากรรมทีม่ ีความผิดในตัวเอง หรือมีความผิดทาง
ศีลธรรม
“mala in se” เช่ น ฆาตกรรม ปล้ น จี้ ชิงทรั พย์ ทาแท้ ง ฆ่ าตัวตาย
- อาชญากรรมทีไ่ ม่ มีความผิดในตัวเอง แต่ เป็ นความผิดตามที่
กฎหมายกาหนดห้ ามไว้
“mala probihita” เช่ น การละเมิดกฎหมายแรงงาน การละเมิดลิขสิทธิ์
การลอกเลียนแบบสินค้ า การขายของหนีภาษี ขับรถยนต์ โดยไม่ มขี บั ขี่
ประเภทของอาชญากรรม
 อาชญากรรมตามลักษณะพฤติกรรม
1. อาชญากรรมปราศจากผู้เสี ยหาย
2. อาชญากรรมพืน้ ฐาน (แบบใช้ กาลังรุนแรงและไม่ใช้ กาลังรุนแรง ทั้งอาชญา
กรมืออาชีพและไม่ ใช่ มอื อาชีพ)
3. อาชญากรรมองค์ การ (รวมตัวกันอย่างมีระบบ เป็ นขบวนการ ตามสายการ
บังคับบัญชา ระบบ มาเฟี ย หรือเจ้ าพ่อ)
4. อาชญากรรมคอปกขาว (ใช้ ตาแหน่ งหน้ าที่การงานในทางมิชอบเพือ่
แสวงหาประโยชน์ ส่วนตน ปกปิ ดซ่ อนเร้ น พวกอาชญากรรมของชนชั้นสู ง)
5. อาชญากรรมพิเศษ (อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมก่อการร้ าย
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ )
อาชญากร
ผลผลิตของสังคม อันเกิดจากสภาพแวดล้อมของสังคม
นั้นเองที่หล่อหลอม บีบคัน้ ให้คนมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจาก
บรรทัดฐานของสังคม ฝ่ าฝื นกฎระเบียบ กฎหมายของสังคม
ความหมายของอาชญากร
 นักกฎหมายและนักสั งคมวิทยา
อาชญากรหรือผู้กระทาผิดในคดีอาญา หมายถึง
ผู้ทถี่ ูกศาลพิจารณาและพิพากษาในความผิดนั้นแล้ ว
และควรมีหลักเกณฑ์ และวิธีพจิ ารณาเป็ นเครื่ องตัดสิ น
ว่ าบุคคลใดเป็ นอาชญากร
(อาชญากรไม่ใช่บคุ คลที่ถกู ประนามโดยสังคม ซึ่งยังมิได้ตอ้ งคา
พิพากษาโดยศาลยุติธรรม)
อาชญากร
 รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาตรา 247 บัญญัติเรื่องการรื้อฟื้ นคดีอาญา
รับรองสถานะของบุคคลทีส่ ู ญเสี ยไป เนื่องจากต้ องโทษตามคา
พิพากษาและต่ อมาภายหลังได้ มกี ารรื้อฟื้ นคดีขนึ้ พิจารณาใหม่
ปรากฏว่ าบุคคลนั้นมิได้ กระทาผิด
(กระบวนพิจารณาในการวินิจฉัยพยานหลักฐาน ข้ อเท็จจริงในคดี
ผิดพลาด เป็ นผลให้ คาพิพากษาลงโทษผู้ทมี่ ิได้ กระทาผิด ในแง่
กฎหมายผู้ต้องโทษตามคาพิพากษาจะมีสถานะเป็ นผู้กระทา
ความผิดหรืออาชญากรแม้ ว่าโดยข้ อเท็จจริงการดาเนินคดีจะมี
ความผิดพลาด)
วิเคราะห์อาชญากร
ก.ถูกศาลพิพากษาลงโทษจาคุกฐานปล้นทรัพย์ โดยมีพยานหลักฐาน
อย่ างแน่ นหนาว่ า ก. กระทาความผิด แต่ ปรากฏในเวลาต่ อมาว่ า ก. มิได้
กระทาความผิด ผู้กระทาคือ ข. ซึ่งเป็ นพีฝ่ าแฝดของ ก. ต่ อมา ก. ได้ รับ
โทษจาคุกแล้ว 3 ปี จึงได้ รับการปล่อยตัว และมีผู้คดิ ว่ า ก.เป็ นอาชญากร
ผู้ร้ายปล้นทรัพย์ จานวนมาก ทั้งๆที่ ก.เป็ นผู้บริสุทธิ์
 ง. กระทาความผิดฐานทาร้ ายร่ างกายผู้อนื่ บาดเจ็บสาหัส ได้ รับโทษ
จาคุก 7 ปี ภายหลังพ้นโทษแล้ว เจ้ าหน้ าทีเ่ รือนจากล่าวว่ า ง. มีจิต
บกพร่ องนับตั้งแต่ วนั ทีเ่ ข้ ามาในเรือนจาแล้ว ดังนี้ ง. เป็ นอาชญากร
หรือไม่

ประเภทของอาชญากร
1. อาชญากรอาชีพ (Professional Criminal)
อาชญากรที่เลีย้ งชีพด้ วยการประกอบอาชญากรรม
- ชนิดมีฝีมือเหมือนผู้มวี ชิ าชีพ (สุ ขุมรอบคอบไม่ ใช้ วธิ ี
รุนแรง)
- ชนิดไม่ มีฝีมือ
ประเภทของอาชญากร
(ต่ อ) อาชญากรอาชีพ (Professional Criminal)
ปลอมธนบัตร ปลอมเอกสาร ปลอมเช็ค
ปล้นธนาคาร ร้ านสรรพสิ นค้ า ขโมยรถ
มือปื นรับจ้ าง นักฆ่ าอาชีพ นักก่อวินาศกรรม
ลักพาตัวเรียกค่ าไถ่ ล่อลวงเด็ก ผู้หญิงไปขาย
นักต้ มตุ๋น ล้วงกระเป๋ า
ประเภทของอาชญากร
2. อาชญากรที่ร่วมกันกระทาความผิด (Organized Criminal)
ลักษณะของอาชญากรทีร่ ่ วมกันกระทาความผิด
1. มีการร่ วมกันเพือ่ กระทาความผิด มีการบริหารงานเป็ นลาดับ
ขั้น
2. มีการวางแผนในการกระทาความผิด เตรียมพร้ อมเสมอ
3. มีการแบ่ งหน้ าที่กนั ทา ฝ่ ายสมอง ฝ่ ายสั่ งการ และฝ่ าย
ปฏิบัตงิ าน
ประเภทของอาชญากร
(ต่ อ) อาชญากรที่ร่วมกันกระทาความผิด (Organized Criminal)
- มาเฟี ย
- อาชญากรประเภทร้ ายแรง มีมันสมอง กาลังเงิน ติดสิ นบน
เจ้ าหน้ าที่
- มีอทิ ธิพลสนับสนุนกลุ่มอาชญากร ทางการเงินและการเมือง
ประเภทของอาชญากร
3. อาชญากรผู้ดหี รืออาชญากรเฉพาะอาชีพ
“White Collar Criminal”
การกระทาความผิดต่ อความไว้ วางใจ หลอกลวง แจ้ งความอันเป็ นเท็จ
ปกปิ ดซึ่งความจริง
- โจรใส่ สูท , คอเชิ้ตขาว “White Collar” แต่ งตัวดี ทางานสบาย ใช้ สมอง
- หน้ าฉากดี มีเกียรติ น่ านับถือ หน้ าทีก่ ารงานดี ทุจริตเพราะความโลภไม่ ใช่
ความยากจน ทุจริต ติดสิ นบน คอรัปชั่น ได้ แก่ ข้ าราชการ นักธุรกิจ
(ตรงข้ ามทฤษฎี ผู้กระทาผิดมาจากผู้มีการศึกษาน้ อย ด้ อยสติปัญญา
ยากจน สิ่ งแวดล้อมเลว)
-
ประเภทของอาชญากร
(ต่ อ) อาชญากรผู้ดหี รืออาชญากรเฉพาะอาชีพ
- มักถูกฟ้ องในทางแพ่ง ถูกลงโทษปรับชดใช้ หยุดกิจการ ยึดใบอนุญาต
- สอดคล้องทฤษฏี ของ Sutherland สาเหตุของอาชญากรนีเ้ กิดจากการ
เรียนรู้ ไม่ ใช่ ข้อบกพร่ องทางบุคลิกภาพหรือความยากจน เกิดจากการ
เรียนรู้ ตดิ ต่ อกันในสั งคมหรือแวดวงการงานอาชีพกับผู้ทมี่ ีพฤติกรรมเป็ น
อาชญากรคิดเชิ้ตขาวแล้ว ผลมาจากการคบหา รู้ เห็น สั งเกตแล้วเอา
เยีย่ งอย่ าง
- ชุมชนอ่อนและสั งคมอ่อนแอทางศีลธรรม มีค่านิยมทางวัตถุ ยกย่ องคน
รวย เหยียดหยามคนจน
ประเภทของอาชญากร
(ต่อ) อาชญากรผูด้ ีหรืออาชญากรเฉพาะอาชีพ
ประเภทของอาชญากร
4. อาชญากรติดนิสัย (Habitual Criminal)
- บุคคลทีไ่ ม่ สามารถปฏิบัตติ นให้ เข้ ากับมาตรฐานของ
สั งคมได้ ไม่ เกิดความเข็ดหลาบเมือ่ ต้ องโทษ
- มีแนวโน้ มประกอบอาชญากรรมซ้า เกิน 4 ครั้งมักเป็ น
ผู้หากินทุจริตตลอดไป
- อาจใช้ วธิ ีส่งตัวไปอยู่สถานกักกัน เพือ่ ฝึ กฝนวิชาชีพ
อบรมแก้ ไขฟื้ นฟูจิตใจ
ประเภทของอาชญากร
4. อาชญากรติดนิสัย (Habitual Criminal)
ฆาตกรต่ อเนื่อง แจ็ค เดอะ ริปเปอร์ (ลอนดอน,1888)
ประเภทของอาชญากร
5. อาชญากรครั้งคราว (Occasional Criminal)
- ไม่ ใช่ อาชญากร หรือผู้ร้ายทีแ่ ท้ จริง
- การกระทาขาดเจตนา และปราศจากมูลเหตุจูงใจ
- อาจเกิดจากความประมาทเลินเล่ อ ขาดความ
ระมัดระวังตามวิสัย หรือเพราะความจาเป็ น เหตุ
บันดาลโทสะ รวมถึงผู้กระทาความผิดต่ อความมัน่ คง
ของประเทศ
สาเหตุของอาชญากรรมและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง
สาเหตุของอาชญากรรม
1. สาเหตุภายใน
- สาเหตุทางร่ างกาย/ชีววิทยา (ทฤษฎีทางร่ างกาย)
- สาเหตุทางจิตใจ/จิตวิทยา (ทฤษฎีจิตเวช)
2. สาเหตุภายนอก
- สาเหตุทางสั งคม ได้ แก่
ทฤษฎีโครงสร้ างของสั งคมและ
ทฤษฎีกระบวนการทางสั งคม
ทฤษฎีทางร่างกาย
1. การศึกษาโครงสร้างกะโหลกศีรษะ (Phrenology)
Franz Joseph Gall, 1807
ผลงาน วิชาโครงสร้ างของกะโหลกศีรษะ ศึกษา
ลักษณะของกะโหลกศีรษะ (cranium) โดยใช้ วธิ ีการวัด
ลักษณะของกะโหลกศีรษะส่ วนนอก และศึกษาหน้ าทีข่ อง
สมอง แต่ ปรากฏว่ า การกระทาความผิดกับลักษณะของ
กะโหลกศีรษะไม่ เป็ นความจริง
(ต่อ) ทฤษฎีทางร่างกาย
2. ทฤษฎีอาชญากรโดยกาเนิ ดของลอมโบรโซ
Ceasar Lombroso(1835-1909) บิดาแห่งอาชญาวิทยา
ศึกษาลักษณะของอาชญากรและความด้อยทางกรรมพันธุ ์
(Criminal Atavism) ลงความเห็นว่า อาชญากร(บางประเภท) มี
ลักษณะของกะโหลกศีรษะและสมองของมนุ ษย์ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์
ซึ่งยังไม่พฒั นา จึงมีสญั ชาติญาณป่ าเถื่อน ทาลายตนเองและผูอ้ น่ื
ปรับตัวเข้ากับอารยชนไม่ได้ (Charles Goring พิสูจน์ว่าไม่เป็ น
ความจริง)
ทฤษฎีของลอมโบรโซ
อาชญากรมีลกั ษณะเด่ นชัดตั้งแต่ แรกเกิดโดยสั งเกต
จากรู ปร่ างภายนอก 5 ประการ
1. หน้ าผากต่าลาดหรือกะโหลกศีรษะผิดส่ วน
2. ไม่ ค่อยมีเคราหรือมีน้อย
3. ขากรรไกรกว้ างและโต
4. เค้ าหน้ าเหมือนลิง โหนกแก้ มสู ง คิว้ ดก จมูกงุ้มคด
5. ไม่ ค่อยมีความรู้ สึกต่ อความเจ็บปวด
(ต่อ) ทฤษฎีทางร่างกาย
3. ทฤษฎีของ Ernest Albert Hooton
ศึกษาลักษณะทางกายภาพของนักโทษประมาณ
11,000 คนและบุคคลธรรมดาทัว่ ไป ค้ นพบลักษณะด้อย
ทางร่ างกายของนักโทษเมือ่ เปรียบเทียบกับบุคคล
ธรรมดาหลายประการ และความด้ อยทางร่ างกายมีทมี่ า
จากกรรมพันธุ์ และยอมรับว่ าปัจจัยทางสั งคมมี
ความสาคัญต่ อความเข้ าใจอาชญากรรม
(ต่อ) ทฤษฎีทางร่างกาย
3. ทฤษฎีของ Ernest Albert Hooton
อาชญากรรมแต่ ละประเภทมีสาเหตุมาจากความบกพร่ องทาง
ชีวภาพโดยเฉพาะด้ านสภาพร่ างกาย
- พวกรู ปร่ างผอมสู ง (Ectomorph) มักประกอบอาชญากรรม
จาพวกปล้ นทรัพย์ และฆ่ าคนตาย
- พวกรู ปร่ างเตีย้ อ้ วน(Endomorp) มักชอบทาร้ ายร่ างกายหรือ
ก่ ออาชญากรรมทางเพศ
- พวกรู ปร่ างสู งใหญ่ มักเป็ นนักฆ่ ามืออาชีพหรือฉ้ อโกง
- พวกตัวเล็กบางมักชอบลักขโมยหรือตัดช่ องย่ องเบา
(ต่อ) ทฤษฎีทางร่างกาย
4. ทฤษฎีโครโมโซม (XYY Chromosome Theory)
โครโมโซม XYY ทาให้ เพศชายมีสติปัญญาต่า และมีนิสัย
ก้ าวร้ าวรุกราน
ทนายจาเลยบางคนใช้ ข้ออ้ างความผิดปกติของโครโมโซม
เป็ นแนวทางต่ อสู้ คดีให้ จาเลย ไม่ ต้องรับผิดในการกระทา
เนื่องจากเป็ นบุคคลผิดปกติ ถ้ าจะลงโทษก็ควรส่ งไปบาบัดใน
โรงพยาบาลโรคจิต (ออสเตรเลียและฝรั่งเศส)
ทฤษฎีทางจิตวิทยา
1. สาเหตุจากการผิดปกติของจิต เช่ น โรคจิต จิต
บกพร่ อง ปัญญาอ่ อน อารมณ์ แปรปรวน
2. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) โดย
Sigmund Freud
3. ทฤษฎีปมด้ อย มักมีประสบการณ์ ทางลบในวัยเด็ก
ทาให้ เกิดปมด้ อยในตัวเอง จึงเรียกร้ องความสนใจเพือ่
ชดเชยปมด้ อยของตน
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา
1. สาเหตุทางเศรษฐกิจ - คาร์ ล มาร์ กซ์
2. ทฤษฎีสภาพไร้ บรรทัดฐาน (Anomie Theory) เดอร์ ไคม์
3. กฎการเลียนแบบพฤติกรรมและค่ านิยมทางสั งคม
4. ทฤษฎีความสั มพันธ์ แตกต่ างในการคบหาสมาคม
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา
5. ทฤษฎีความขัดแย้ งทางวัฒนธรรม
6. ทฤษฎีวฒ
ั นธรรมรอง
7. ทฤษฎีของชนชั้นต่า
8. ทฤษฎีตราหน้ า
คาถาม??????