ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองผู้ถูกกระทาด้ วยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
โดย
นายนิตธิ ร ศรีบุตร
ผู้พพิ ากษาหัวหน้ าศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช
แผนกเยาวชนและครอบครัว
วัตถุประสงค์ ของกฎหมาย
๑. ปกป้องคุ้มครองผู้ถูกกระทาความรุ นแรงในครอบครัว
๒. แก้ ไขฟื้ นฟูผ้ ูกระทาความผิดเกี่ยวกับความรุ นแรงใน
ครอบครัวและให้ มโี อกาสได้ กลับตัว
๓
.
ป้ องกัน หรื อ ยับ ยั้ง ผู้ ก ระท าความผิด เกี่ย วกับ ความรุ น แรงใน
ครอบครัวมิให้ กระทาความผิดซ้า
วัตถุประสงค์ ของกฎหมาย (ต่ อ)
๔. มุ่ งรั ก ษาความสั มพั น ธ์ อั น ดี ข องครอบครั ว ไว้
๕. เพิ่มบทบาทให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่เข้ าไปแก้ ไ ขปัญหา
ในครอบครั วในเบื้อ งต้ นโดยเร็ ว เพื่อ ไม่ ให้ เกิดปั ญหาลุ ก ลาม
ต่ อ ไปหรื อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความผิ ด อาญาอื่ น หรื อ กระท าความผิ ด
รุนแรงอืน่ มากขึน้ ในอนาคต
ลักษณะพิเศษของกฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทา
ด้ วยความรุ นแรงในครอบครัว
๑. มุ่งแก้ ไขฟื้ นฟูผ้ ูกระทาความผิดเกี่ยวกับความรุ นแรงใน
ครอบครัวยิง่ กว่ าการลงโทษ ซึ่งแตกต่ างจากการกระทาความผิด
อาญาทั่ ว ไป กล่ าวคื อ ปรั บ แนวคิ ด จากการลงโทษมาสู่
กระบวนการแก้ ไขฟื้ นฟูผ้ ูกระทาความผิด
ลักษณะพิเศษของกฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทา
ด้ วยความรุ นแรงในครอบครัว (ต่ อ)
๒. มีการนามาตรการหรือวิธีการเพือ่ บรรเทาทุกข์ ชั่วคราวมา
ใช้ แก่ ผ้ ูถูกกระทาด้ วยความรุ นแรงในครอบครั ว ทั้งในชั้ นของ
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ พนักงานสอบสวนและในชั้ นพิจารณาของ
ศาล
ลักษณะพิเศษของกฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทา
ด้ วยความรุ นแรงในครอบครัว (ต่ อ)
๓. ให้ ศาลมีอานาจกาหนดให้ ใช้ วิธีการหรื อมาตรการแก้ ไข
แทนการพิพากษาลงโทษผู้ ก ระท าความผิด ฐานกระทาความ
รุนแรงในครอบครัวได้
สิ ทธิทไี่ ด้ รับการรับรองคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
มาตรา ๕๓ เด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครั ว มีสิทธิ
ได้ รั บ ความคุ้ ม ครองโดยรั ฐ จากการใช้ ค วามรุ น แรงและการ
ปฏิบัตอิ นั ไม่ เป็ นธรรม
สิ ทธิทไี่ ด้ รับการรับรองคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
มาตรา ๔๐ (๖) เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรื อผู้พิการ
หรื อทุพพลภาพย่ อมมีสิทธิ ได้ รับความคุ้มครองในการดาเนิน
กระบวนพิจารณาคดีอย่ างเหมาะสม และย่ อมมีสิทธิได้ รั บการ
ปฏิบัตทิ เี หมาะสมในคดีทเี่ กีย่ วกับความรุนแรงทางเพศ
สิ ทธิทไี่ ด้ รับการรับรองคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
มาตรา ๕๒ วรรคสอง เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลใน
ครอบครั ว มีสิทธิได้ รับความคุ้มครองจากรั ฐ ให้ ปราศจากการ
ใช้ ความรุ นแรงและการปฏิบัติอันไม่ เป็ นธรรม ทั้งมีสิทธิได้ รับ
การบาบัดฟื้ นฟู ในกรณีทมี่ เี หตุดงั กล่ าว
สิ ทธิทไี่ ด้ รับการรับรองคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
มาตรา ๕๒ วรรคสาม การแทรกแซงและการจากัดสิ ทธิ
ของเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว จะกระทามิได้ เว้ นแต่
โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่ งกฎหมาย เฉพาะเพื่อสงวน
และรั กษาไว้ ซึ่งสถานะของครอบครั วหรื อประโยชน์ สูงสุ ดของ
บุคคลนั้น
ความรุ นแรงในครอบครัว หมายความว่ า
๑. การกระทาใด ๆ โดยมุ่งประสงค์ ให้ เกิดอันตรายแก่ ร่างกาย
จิตใจ หรือสุ ขภาพ
๒. การกระท า
โดยเจตนาในลักษณะที่น่าจะก่ อให้ เกิดอันตรายแก่ ร่างกาย จิตใจ
ห รื อ สุ ข ภ า พ ข อ ง บุ ค ค ล ใ น ค ร อ บ ค รั ว
๓. การบังคับหรื อใช้ อานาจครอบงาผิดคลองธรรมให้ บุคคล
ในครอบครั วต้ อ งกระทาการ ไม่ กระทาการ หรื อ ยอมรั บการ
กระทาอย่ างหนึ่งอย่ างใดโดยมิชอบ แต่ ไม่ รวมถึงการกระทาโดย
ประมาท
บุคคลในครอบครัว หมายความว่ า
๑. คู่สมรส
๒. คู่สมรสเดิม
๓. บุคคลที่อยู่กินหรื อเคยอยู่กินฉันสามีภริยาโดยมิได้
จดทะเบียนสมรส
๔. บุตร ซึ่งหมายถึง ทั้งบุตรโดยชอบด้ วยกฎหมายและ
บุตรตามความเป็ นจริง
บุคคลในครอบครัว หมายความว่ า (ต่ อ)
๕. บุตรบุญธรรม
๖. สมาชิกในครอบครัว
๗. บุคคลใด ๆ ทีต่ ้ องพึง่ พาอาศัยและอยู่ในครัวเรือน
เดียวกัน
ฐานความผิด
มาตรา ๔ ผู้ ใดกระท าการอั น เป็ นความรุ นแรงใน
ครอบครั ว ผู้ น้ั น กระท าความผิ ด ฐานกระท าความรุ น แรงใน
ครอบครัว ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่ เกิน
หกพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ให้ ความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็ นความผิดอันยอมความได้
แต่ ไม่ ลบล้ างความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหรือกฎหมาย
อื่น หากการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นความผิดฐานทา
ร้ ายร่ างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ ด้ วย ให้
ความผิดดังกล่ าวเป็ นความผิดอันยอมความได้
ขั้นตอนการเข้ าสู่ กระบวนการการไกล่ เกลีย่
คดีการกระทาความรุนแรงในครอบครัว
ชั้นพนักงานเจ้ าหน้ าทีก่ ่ อนร้ องทุกข์
ความผิดฐานกระทาความรุนแรงในครอบครัว
เกิดขึน้
ผู้ถูก
กระทา
ผู้พบเห็น
การกระทา
แจ้ งพนักงานเจ้ าหน้ าที่
ผู้ทราบ
การกระทา
พนักงานเจ้ าหน้ าที่
ทีไ่ ด้ รับแจ้ งหรือพบเห็นการกระทา
เป็ นผู้ประสานการประชุม
นัดประชุมผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
ผู้กระทา
ผู้ถูก
กระทา
ผู้ปกครอง
หรือญาติ
บุคคลทีพ่ นักงาน
เจ้ าหน้ าทีเ่ ห็นสมควร
ตั้งผู้ไกล่ เกลีย่
หรือ
ผู้ประนีประนอม
ตั้งนักสั งคมสงเคราะห์
หรือ
หน่ วยงานสั งคมสงเคราะห์
ช่ วยเหลือในการไกล่ เกลีย่
เข้ าสู่ กระบวนการไกล่ เกลีย่
ไกล่ เกลีย่ สาเร็จ
ไกล่ เกลีย่ ไม่ สาเร็จ
ไกล่ เกลีย่ สาเร็จ
ไกล่ เกลีย่ ไม่ สาเร็จ
ทาสั ญญายอมความ
หรือ
ทาบันทึกข้ อตกลงและ
กาหนดเงือ่ นไขให้ ปฏิบัติ
หากฝ่ าฝื นข้ อตกลงหรือ
ไม่ ปฏิบัตติ ามเงือ่ นไข
ผู้ถูกกระทาร้ องทุกข์ ดาเนินคดี
นาหลักการเปรียบเทียบในชั้นศาลมาประกอบ
การไกล่ เกลีย่ ในชั้นพนักงานเจ้ าหน้ าที่
โดยคานึงถึงหลักการ ดังนี้
๑. ความสงบสุ ข และการอยู่ ร่ วมกั น ในครอบครั ว เป็ น
สาคัญ
๒. การคุ้มครองสิ ทธิของผู้ถูกกระทาด้ วยความรุ นแรงใน
ครอบครัว
นาหลักการเปรียบเทียบในชั้นศาลมาประกอบ
การไกล่ เกลีย่ ในชั้นพนักงานเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)
๓. การสงวนและคุ้มครองสถานะภาพของการสมรส ใน
ฐานะทีเ่ ป็ นศูนย์ รวมของชายและหญิงทีส่ มัครใจเข้ ามาอยู่กนิ
ฉันสามีภริยา หากไม่ อาจรักษาสถานะภาพของการสมรสได้ ก็
ให้ การหย่ าเป็ นไปด้ วยความเป็ นธรรมและเสี ยหายน้ อยที่สุด
โดยคานึงถึงสวัสดิภาพและอนาคตของบุตรเป็ นสาคัญ
นาหลักการเปรียบเทียบในชั้นศาลมาประกอบ
การไกล่ เกลีย่ ในชั้นพนักงานเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)
๔. การคุ้ ม ครองและช่ ว ยเหลื อ ครอบครั ว โดยเฉพาะ
อย่ างยิ่งในขณะที่ครอบครั วนั้นต้ องรั บผิดชอบในการดู แลให้
การศึกษาแก่ สมาชิกทีเ่ ป็ นผู้เยาว์
๕. มาตรการต่ าง ๆ เพือ่ ช่ วยเหลือสามีภริยาและบุคคลใน
ครอบครั วให้ ปรองดองกันและปรั บปรุ งความสั มพันธ์ ระหว่ าง
กันเองและกับบุตร
ติดต่ อ
ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราชแผนกคดีเยาวชนและครอบรัว
โทรศัพท์ : 075 399559-60 โทรสาร : 075 399562
เว็บไซต์ : www.nstjc.coj.go.th
อีเมล์ : [email protected]
ขอบคุณครับ