สิทธิเด็กกับประชาคมอาเซียน

Download Report

Transcript สิทธิเด็กกับประชาคมอาเซียน

สิ ทธิเด็ก
กับ
ประชาคมอาเซียน
โดย นายณัฐวุฒิ บัวประทุม
มูลนิธิศูนย์ พทิ กั ษ์ สิทธิเด็ก
สาหรับบุคลากรทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ประวัติวทิ ยากร
นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
คหกรรมศาสตรบัณฑิต (พัฒนาการเด็กและครอบครัว) มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศฯ) มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) มหาวิทยาลัยรามคาแหง
นักกฎหมายประจามูลนิธิศูนย์ พทิ กั ษ์ สิทธิเด็ก
พนักงานเจ้ าหน้ าทีต่ ามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
พนักงานเจ้ าหน้ าทีต่ ามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทาด้ วยความรุ นแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
คณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิดสิ ทธิมนุษยชนด้ านเด็ก สตรีฯ ในคณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ
คณะกรรมการพิจารณาร่ างกฎหมาย สานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดปทุมธานี
กรรมการศูนย์ ปฏิบตั ิการป้ องกันและปราบปรามการค้ ามนุษย์ จังหวัดนนทบุรี
อาจารย์ บรรยายพิเศษคณะสั งคมสงเคราะห์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสถาบันอืน่ ๆ
รางวัลบุคคลผู้ทาคุณประโยชน์ แก่ เยาวชนดีเด่ น จากคณะกรรมการจัดงานวันเยาวชนแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐
รางวัลนักสั งคมสงเคราะห์ ดเี ด่ น จากมูลนิธิศาสตราจารย์ ปกรณ์ อังศุสิงห์ พ.ศ.๒๕๕๐
เค้ าโครงการบรรยาย
• สถานการณ์ /สภาพปัญหาความรุ นแรงต่ อเด็ก สตรี ครอบครัว
และการค้ ามนุษย์
• อนุสัญญาว่ าด้ วยสิ ทธิเด็ก (CRC) และกฎหมายที่เกีย่ วข้ องกับ
การคุ้มครองเด็กในประเทศไทย
• สภาพปัญหาและกลไกการคุ้มครองเด็กของประชาคมอาเซียน
• การป้องกัน ๔ ระดับ และบทสรุป
นิยามคาว่ า “เด็ก”
* ตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์
“สภาพบุคคลย่ อมเริ่มแต่ เมื่อคลอดแล้ วอยู่รอดเป็ นทารก
...”
“บุคคลย่ อมบรรลุ นิติภาวะและพ้ นจากความเป็ นผู้เยาว์
เมื่ออายุครบ ๒๐ ปี บริบรู ณ์ ”
* ตามอนุสัญญาว่ าด้ วยสิทธิเด็ก/พระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองเด็ก
“เด็ ก หมายความว่ า บุ ค คลซึ่ ง มี อ ายุ ต่ า กว่ า สิ บ แปดปี
บริบูรณ์ แต่ ไม่ รวมถึงผู้บรรลุนิตภิ าวะด้ วยการสมรส”
สภาวะเด็กด้ านสุ ขภาพ
• ด้ านสุ ขภาพกาย
- เด็ก ๐-๕ ปี นา้ หนักตา่ กว่ าเกณฑ์ ๙.๓ %
- เด็กวัยประถมนา้ หนักต่ากว่ าเกณฑ์ ๑๐.๗๕ %
- เด็กไทยมีภาวะโภชนาการเกิน ๑๐.๔ %
• ด้ านสุ ขภาพจิต
- เด็กไทยมีพฒ
ั นาการทางสมองล่ าช้ า ๑๕-๒๘ % I.Q. อยู่ที่ ๘๘-๙๑
- เด็กไทยมีภาวะสุ ขภาพจิตและปัญหาพฤติกรรมทีจ่ าเป็ นต้ องพบแพทย์ สูงถึง
๘ แสนคน เช่ น มีอาการเครียด พฤติกรรมก้ าวร้ าว พฤติกรรมทางเพศ ไปจนถึงการ
ทาร้ ายตนเองและผู้อนื่
* เด็กไทยมีแนวโน้ มจะมีโรคใหม่ เรียกว่ า “โรคภูมิคุ้มกันบกพร่ องทางสั งคม”
(SIDS= Social Immune Deficiency Syndrome)
สถิติการตั้งครรภ์ ของ “วัยรุ่นไทย”
* องค์ การอนามัยโลก (WHO) เมื่อปี ๒๕๕๒ ระบุว่า ค่ าเฉลี่ย
ของผู้หญิงตัง้ ครรภ์ ท่ ีมีอายุต่ากว่ า ๒๐ ปี ของทั่วโลก อยู่ท่ ี ๖๕ ต่ อ
๑,๐๐๐ คน ค่ าเฉลี่ยของผู้หญิงทวีปเอเชียอยู่ท่ ี ๕๖ ต่ อ ๑,๐๐๐ คน
ประเทศไทยมีผ้ ูหญิงตัง้ ครรภ์ ท่ ีอายุต่ ากว่ า ๒๐ ปี จานวน ๗๐ ต่ อ
๑,๐๐๐ คน ซึ่งเป็ นตัวเลขที่สูงสุดของประเทศในทวีปเอเชีย
* ข้ อมู ล สภาวะการมี บุตรของวั ย รุ่ นไทย ที่ร วบรวมโดย
กระทรวง พม. ระบุว่า ในปี ๒๕๕๒ มีแม่ วัยรุ่ นที่คลอดบุตรอายุต่า
กว่ า ๒๐ ปี จานวน ๗๘๗,๗๓๙ คน คิดเป็ นร้ อยละ ๑๓.๕๕ สูงกว่ า
ค่ าเฉลี่ยมาตรฐานที่ WHO กาหนดไว้ ท่ ีร้อยละ ๑๐ โดยพบว่ า จ.
กาแพงเพชร มีแม่ วัยรุ่ นคลอดบุตรสูงสุด คือ ๒๐.๔๐ % รองลงมา
จ.ประจวบคีรีขันธ์ ๑๘.๘๙ % จ.พิจิตร ๑๘.๘๗ % จ.นครสวรรค์
๑๘.๖๙ % และ จ.ลพบุรี ๑๘.๕๖ %
ด้ านอืน่ ๆ
• จากสถิติของศู นย์ พึ่งได้ (สธ.) มีเด็กและสตรี ถูกทารุ ณกรรม ๒๖,๕๖๕
ราย เฉลี่ยวันละ ๗๓ ราย โดยผู้กระทาส่ วนใหญ่ เป็ นคนในครอบครั ว ๘๐
%
• เด็กที่ประพฤติตนไม่ เหมาะสม งานวิจัยของเอแบคมีเด็กเกี่ยวข้ อง
กับยาเสพติดที่เป็ นนักเรี ยนนักศึกษา ๖๖๓,๒๙๐ คน มีเด็กเข้ าสู่
การด าเนิ น การทางคดี อ าญาในสถานพิ นิ จ ฯ ประมาณปี ละ
๕๐,๐๐๐ คน
• เด็กทีไ่ ด้ รับผลกระทบจาก HIV/AIDS ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ คน เฉพาะเด็ก
วัยรุ่นทีต่ ิดเชื้อใหม่ ประมาณ ๘๐,๐๐๐ คน
• เด็ ก ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากเหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ สงบในภาคใต้ และ
เหตุการณ์ สึนามิจานวนมากทีย่ งั ไม่ เข้ าถึงบริการ
ตัวเลขการค้ ามนุษย์ (อย่ างไม่ เป็ นทางการ)
• มี เ ด็ ก และหญิ ง ชาวพม่ าประมาณ ๒-๓ หมื่ นคน ถู ก น ามา
ค้ าประเวณีในประเทศไทย (สตช. ๒๕๔๕)
• มีเด็กและหญิงไทยมากกว่ า ๓ หมื่นคน ทางานในอุตสาหกรรม
ทางเพศในประเทศญี่ปุ่น (Asian Migration News, ๑๙๙๙)
• มีชาวกัมพูชาลักลอบเข้ าประเทศไทย (ส่ วนใหญ่ มีกระบวนการ
ค้ ามนุษย์ พาเข้ ามา) ประมาณ ๘๘,๐๐๐ คน (IOM, ๒๕๔๒)
• มีชาวลาวลักลอบเข้ าประเทศไทย (ส่ วนใหญ่ มีกระบวนการค้ า
มนุษย์ พาเข้ ามา) ประมาณ ๔๕,๐๐๐ คน (IOM, ๒๕๔๒)
• โดยสรุ ป ๑๙๙๐-๒๐๐๐ มี ห ญิ ง และเด็ก กว่ า ๓๐ ล้ า นคนจาก
อุษาคเนย์ ถูกค้ ามนุษย์ ในสังคมโลก (UN)
อนุสัญญาว่ าด้ วยสิ ทธิเด็ก
สมัชชาใหญ่ สหประชาชาติได้ รับรองอนุสัญญาด้ วยสิ ทธิเด็กเมื่อวันท่
๒๐ พฤศจิกายน ‘๓๒ และมผลบังคับใช้ เมื่อวันท่ ๒ กันยายน ‘๓๓
ขณะนม
้ ประเทศเป็ นภาคสมาชิก ๑๙๒ ประเทศ
ประเทศไทยเข้ าเป็ นภาคอนุสัญญานโ้ ดยการภาคยานุวต
ั รเมื่อวันท่ ๒๗
มนาคม ๒๕๓๕ และมผลบังคับใช้ เมื่อวันท่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕
มการตั้งข้ อสงวนไว้
๒ ข้ อ
- ข้ อ ๗
เรื่องการจดทะเบยนเด็กแรกเกิด
- ข้ อ ๒๒
เรื่องสถานะของเด็กผู้ลภ้ ัย
อนุสัญญาว่ าด้ วยสิ ทธิเด็ก
• สาระสาคัญ
๑. กาหนดนิ ยามคาว่ า “เด็ก ” หมายถึง มนุ ษ ย์ ทุ กคนที่
อายุต่ากว่ า ๑๘ ปี
๒.รั ฐภาคีจะเคารพและประกันสิทธิตามที่กาหนดไว้ ใน
อนุ สัญญานี แ้ ก่ เด็กแต่ ละคนที่อยู่ในเขตอานาจของตนโดย
ปราศจากการเลือกปฏิบัตไิ ม่ ว่าชนิดใด ๆ โดยไม่ คานึ งถึงเชือ้
ชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองหรื อ
ทางอื่น ต้ นกาเนิ ดทางชาติ ชาติพันธุ์ หรื อสั งคม ทรั พย์ สิน
ความทุพพลภาพ การเกิดหรื อสถานะอื่น ๆ ของเด็กหรื อบิดา
มารดาหรื อผู้ปกครองตามกฎหมาย
อนุสัญญาว่ าด้ วยสิ ทธิเด็ก
๓.รั ฐภาคีจะดาเนินมาตรการที่เหมาะสมทัง้ ปวงเพื่ อที่จะ
ประกันว่ าเด็กได้ รับการคุ้มครองจากการเลือกปฏิบัติ หรื อการ
ลงโทษในทุกรูปแบบ บนพืน้ ฐานของสถานภาพ กิจกรรมความ
คิดเห็นที่แสดงออก หรื อความเชื่อของบิดามารดา ผู้ปกครอง
ตามกฎหมาย หรือสมาชิกในครอบครัว
๔.ในการกระทาทัง้ ปวงที่เกี่ยวกับเด็ก ผลประโยชน์ สูงสุด
ของเด็กเป็ นสิ่งที่ต้องคานึงถึงเป็ นลาดับแรก
๕.รั ฐภาคีรับที่จะให้ ประกันให้ มีการคุ้มครองและดูแลแก่
เด็กเท่ าที่จาเป็ นสาหรั บความอยู่ดีของเด็ก โดยคานึงถึงสิทธิ
และหน้ าที่ของบิดามารดา ผู้ปกครองตามกฎหมาย หรื อบุคคล
อื่นที่รับผิดชอบเด็กนัน้ ตามกฎหมายด้ วย
อนุสัญญาว่ าด้ วยสิ ทธิเด็ก
๖.รั ฐภาคีรับที่จะประกันว่ าสถาบัน การบริ การ และการอานวย
ความสะดวกที่มีส่วนรั บผิดชอบต่ อการดูแลหรื อการคุ้มครองเด็กนัน้
จะเป็ นไปตามมาตรฐานที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ โดยเฉพาะในด้ า นความ
ปลอดภัย สุขภาพ และในเรื่ องจานวนความเหมาะสมของเจ้ าหน้ าที่
๗.รั ฐภาคีจะดาเนินมาตรการที่เหมาะสมทัง้ ปวง ที่จะส่ งเสริ ม
การฟื ้ นฟูทงั ้ ทางร่ างกายและจิตใจและการกลับคืนสู่สังคมของเด็กที่
ได้ รับเคราะห์ จากการละเลยในรู ปแบบใด ๆ การแสวงหาประโยชน์
จากการกระทาอันมิชอบ การทรมานหรื อการลงโทษ หรื อการปฏิบัติ
ที่โหดร้ าย ไร้ มนุษยธรรม ต่าช้ าโดยรู ปแบบอื่น ๆ
๘.ก าหนดให้ ภ าคี เ สนอรายงานต่ อ คณะกรรมการ โดยผ่ า น
เลขาธิการสหประชาชาติในเรื่ องมาตรการต่ าง ๆ ที่รัฐรั บเอาซึ่ งทา
ให้ สิทธิท่ ีได้ รับการรั บรองในอนุ สัญญาเกิดผล โดยให้ รายงานความ
คืบหน้ าในทุก ๕ ปี
อนุสัญญาว่ าด้ วยสิทธิเด็ก
• สิทธิในการดารงชีวิต (Survival Rights)
ถือเป็ นสิทธิขัน้ พืน้ ฐานโดยทั่วไป เช่ น สิทธิใ นการมีชีวิต
อยู่ สิทธิท่ ีจะได้ รับบริ การสาธารณสุขขัน้ พืน้ ฐาน สิทธิท่ ีจะมี
มาตรฐานความเป็ นอยู่ท่ ดี ี เป็ นต้ น
• สิทธิในการได้ รับการปกป้องคุ้มครอง (Protection Rights)
คือ สิทธิในการไม่ ถูกเอาเปรี ยบทางเพศ การใช้ แรงงานที่
อาจก่ อให้ เกิดอันตรายต่ อสุ ข ภาพ พัฒนาการ สมอง จิตใจ
ตลอดจนการปกป้ องคุ้ มครองเด็ก ที่อยู่ใ นภาวะยากล าบาก
เช่ น เด็กพิการ เด็กกาพร้ า เป็ นต้ น
อนุสัญญาว่ าด้ วยสิทธิเด็ก
• สิทธิท่ จี ะได้ รับการพัฒนา (Development Rights)
เช่ น สิทธิท่ จี ะได้ รับการศึกษา เป็ นต้ น
• สิทธิในการมีส่วนร่ วม (Participation Rights)
เช่ น สิทธิในการแสดงความคิดเห็นได้ อย่ างอิสระใน
เรื่ องที่จะส่ งผลกระทบต่ อตนเอง สิทธิในการได้ รับ ข้ อมูล
ข่ าวสาร เป็ นต้ น
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๕๐
• มาตรา ๕๒
“เด็กและเยาวชน มี สิทธิ ในการอยู่รอดและได้ รับการพัฒนา
ด้ านร่ างกาย จิตใจ และสติปัญญา ตามศักยภาพในสภาพแวดล้ อมที่
เหมาะสม โดยคานึงถึงการมีส่วนร่ วมของเด็กและเยาวชนเป็ นสาคัญ
เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครั ว มีสิทธิได้ รับความ
คุ้มครองจากรั ฐ ให้ ปราศจากการใช้ ความรุ นแรงและการปฏิบัติ อัน
ไม่ เป็ นธรรม ทัง้ มีสิทธิได้ รับการบาบัดฟื ้ นฟูในกรณีท่ มี ีเหตุดังกล่ าว
การแทรกแซงและจากัดสิทธิของเด็ก เยาวชน และบุคคลใน
ครอบครั ว จะกระทามิได้ เว้ นแต่ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญั ติ
แห่ งกฎหมายเฉพาะเพื่อสงวนและรั กษาไว้ ซ่ ึงสถานะของครอบครั ว
หรื อประโยชน์ สูงสุดของบุคคลนัน้ ”
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
มาตรา ๔๐
“บุคคลย่ อมมีสทิ ธิในกระบวนการยุตธิ รรม ดังต่ อไปนี ้
(๖) เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรื อผู้พิการหรื อทุพพลภาพ ย่ อมมีสิทธิ
ได้ รับความคุ้มครองในการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่ างเหมาะสม และย่ อมมี
สิทธิได้ รับการปฏิบัตทิ ่ เี หมาะสมในคดีเกี่ยวกับความรุ นแรงทางเพศ”
มาตรา ๘๐
“รั ฐต้ องดาเนินการตามแนวนโยบายด้ านสังคม.... ดังต่ อไปนี ้
(๑) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลีย้ งดูและให้
การศึกษาปฐมวัย ส่ งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริ มสร้ างและพัฒนา
ความเป็ นปึ กแผ่ นของสถาบันครอบครั วและชุมชน รวมทัง้ ต้ องสงเคราะห์ และจัด
สวั ส ดิการให้ แ ก่ ผ้ ู สู งอายุ ผู้ ย ากไร้ ผู้ พิก ารหรื อ ทุ พ พลภาพ และผู้ อ ยู่ใ นสภาวะ
ยากลาบาก ให้ มีคุณภาพชีวติ ที่ดีขนึ ้ และพึ่งพาตนเองได้ ”
ความคาดหวัง ต่ อพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
๑. ทาอย่ างไรจึงจะสามารถเข้ าถึงตัวเด็กได้ ทุกคน
จาเป็ นต้ องมีกลไกดูแลติดตามสภาวะเด็กและครอบครัว
อนามัยชุ มชน
โรงพยาบาล
อบต
เทศบาล
อบจ
กทม.
โรงเรียน
ตารวจ
หน่ วย
บริการสั งคม
องค์ กรเอกชน
(หน่ วยงานพิทกั ษ์
สิ ทธิเด็ก)
๒. ต้ องมีกระบวนการคัดกรองและหน่ วยงานรองรับ ให้
สอดคล้องกับความต้ องการจาเป็ นของเด็กและครอบครัว
เครื่องมือในการคัดกรองและแยกแยะกลุ่มเด็ก
แบ่ งออกเป็ น ๔ ประเภท
มาตรฐานการ
เลีย้ งดูขัน้ ต่า
ดัชนีชีว้ ัดปั จจัยเสี่ยง
ข้ อบ่ งชีก้ ารถูก
กระทา
ข้ อบ่ งชี้
สภาวะเสี่ ยง
ต่ อการกระทา
ความผิดของเด็ก
หน่ วยงานรองรับ
ที่สอดคล้อง
กับความต้ องการจาเป็ นของเด็กและครอบครัว
หน่ วยงานในการให้ การสงเคราะห์ และคุ้มครองสวัสดิภาพ
สถานแรกรับ
สถานรับเลีย้ งเด็ก
หรือครอบครัวอุปถัมภ์
สถาน
สงเคราะห์
สถานพัฒนา
และฟื้ นฟู
สถาน คุ้มครอง
สวัสดิภาพ
๓. ต้ องมีทรัพยากร บุคลากรและเครือข่ ายการปฏิบัติงานทีส่ ามารถ
ให้ บริการแก่เด็กและครอบครัวในลักษณะ ทั่วถึงและเสมอภาค
ทาได้ โดย
ฝึ กอบรม ทักษะการปฏิบัติงานร่ วมกัน
และทักษะเฉพาะวิชาชีพ
มีการพัฒนา
ศูนย์ สาธิตสาหรับการ
ดูงาน ฝึ กงาน
สร้ างและพัฒนา
บุคลากร
ปรับปรุงหลักสู ตรการ
เรียนการสอนในสาขา
ที่เกีย่ วข้ องและมีการ
ศึกษาวิจัย
จัดส่ งผู้เชี่ยวชาญ เข้ าร่ วมปฏิบัติงานจริง
(Onsite Training)
๔. ต้ องมีผู้ประกอบวิชาชีพมาทางานร่ วมกันในลักษณะวิชาชีพ
สายกฎหมาย
สายการแพทย์
จิตใจ
ร่ างกาย
นักสั งคม
สงเคราะห์
นักจิตวิทยา
ครู
๕. มีการกระจายความรับผิดชอบลงไปตั้งแต่ ระดับชาติ
ระดับจังหวัด และ ระดับชุ มชน
คณะกรรมการระดับชาติ
คณะกรรมการ
ระดับจังหวัด
องค์ การปกครองส่ วนท้ องถิ่น
การตรวจตราสภาวะเด็ก
ตามพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
หัวใจหลักของพระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองเด็ก
มาตรา ๒๓
ผู้ปกครองต้ องให้ การอุปการะเลีย้ งดู อบรมสั่งสอน
และพัฒนาเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแ ลของตนตาม
สมควรแก่ ขนบธรรมเนี ยมประเพณีและวัฒนธรรมแห่ ง
ท้ อ งถิ่ น แต่ ทั ง้ นี ต้ ้ อ งไม่ ต่ า กว่ า มาตรฐานขั ้น ต่ า ตามที่
กาหนดในกฎกระทรวงและต้ องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่
อยู่ในความปกครองดูแลของตนมิให้ ตกอยู่ในภาวะอัน
น่ าจะเกิดอันตรายแก่ ร่างกายหรือจิตใจ
ข้ อห้ ามของบุคคลทัว่ ไปตามมาตรา ๒๖
• กระทาหรื อละเว้ นการกระทาอันเป็ นการทารุ ณกรรมต่ อ
ร่ างกาย/จิตใจ
• จงใจ/ละเลยไม่ ให้ ส่ งิ จาเป็ นแก่ การดารงชีวติ จนน่ าจะเกิด
อันตราย
• บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ให้ เด็กประพฤติตนไม่ สมควรหรื อเสี่ยงต่ อ
การทาผิด
• โฆษณาทางสื่อหรื อเผยแพร่ เพื่อรั บเด็กหรื อยกเด็กให้ บุคคลอื่น
• บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ให้ เด็กเป็ นขอทาน เร่ ร่อน หรื อแสวงหา
ประโยชน์ จากเด็ก
• ใช้ จ้ าง วานให้ เด็กทางานอันเป็ นอันตรายหรื อกระทบต่ อการ
เจริญหรื อพัฒนาการของเด็ก
ข้ อห้ ามของบุคคลทัว่ ไปตามมาตรา ๒๖ (ต่ อ)
• บังคับ ชักจูง ขู่เข็ญ หรือยินยอมให้ เด็กเล่ นกีฬาหรือการ
อื่นใดอันเป็ นการแสวงหาประโยชน์ ทางการค้ าอัน
ขัดขวางการเจริญหรือทารุ ณกรรมเด็ก
• ใช้ หรือยินยอมให้ เด็กเล่ นการพนัน หรือเข้ าไปใน
สถานที่เล่ นการพนัน สถานค้ าประเวณี
• บังคับ ชักจูง ขู่เข็ญ หรือยินยอมให้ เด็กแสดงหรือกระทา
การอันเป็ นการลามกอนาจาร
• จาหน่ าย แลกเปลี่ยน หรือให้ สุราหรือบุหรี่แก่ เด็ก
กลไกดูแลติดตามสภาวะของเด็กและครอบครัว
หน่ วยงานที่ให้ บริการด้ านต่ างๆ แก่ เด็กและครอบครั วในชีวิตประจาวัน
ใช้ เครื่องมือ ๔ ชิน้ จาแนกกลุ่มเด็ก
๑. มาตรฐานการเลีย้ งดูขนั ้ ต่า มาตรา ๒๓
๒.ดัชนีชวี ้ ัดปั จจัยเสี่ยง มาตรา ๒๘
๓.ข้ อบ่ งชีก้ ารถูกกระทา มาตรา ๔๑
๔. ข้ อบ่ งชีส้ ภาวะเสี่ยงต่ อการกระทาความผิดของเด็ก มาตรา ๔๔
เด็ก
ปกติ
เด็กต้ องการ
บริ การเป็ น
พิเศษ
เด็กเสี่ยงที่
จะตกอยู่ใน
อันตราย
เด็กถูก
กระทา
เด็กเสี่ยงต่ อ
การกระทา
ผิด
เด็กที่
กระทา
ความผิด
การแบ่ งกลุ่มประเภทเด็กตามกฎหมาย
• เด็กที่พงึ ได้ รับการสงเคราะห์
- เด็กเร่ ร่อนหรือเด็กกาพร้ า
- เด็กที่ถูกทอดทิง้ หรือพลัดหลง
- เด็กที่ผ้ ูปกครองไม่ สามารถเลีย้ งดู เช่ น ถูกจาคุก พิการ
เจ็บป่ วย
- เด็กที่ผ้ ูปกครองประกอบอาชีพไม่ เหมาะอันอาจส่ งผลต่ อเด็ก
- เด็กที่ได้ รับการเลีย้ งดูโดยมิชอบฯ อันเป็ นผลให้ เด็กมีความ
ประพฤติเสื่อมเสีย
- เด็กพิการ
- เด็กที่อยู่ในสภาพยากลาบาก
การแบ่ งกลุ่มประเภทเด็กตามกฎหมาย (ต่อ)
• เด็กที่พงึ ได้ รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ
- เด็กที่ถูกทารุ ณกรรม
- เด็กที่เสี่ยงต่ อการกระทาผิด
- เด็กที่อยู่ในสภาพต้ องได้ รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ
ตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
๑.เด็กที่พ้นจากการกระทาผิดแล้ ว
การรายงานมาตรา ๒๙ วรรค ๒
แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา นักสั งคม
สงเคราะห์ หรือเจ้ าหน้ าทีส่ าธารณสุ ข
ครู อาจารย์ หรือนายจ้ าง
เป็ นทีป่ รากฎชัด หรือ น่ าสงสั ย
เด็กถูกทารุ ณกรรมหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการเลีย้ งดูโดยมิชอบ
ต้ องรายงาน
พนักงานเจ้ าหน้ าที่
พนักงานฝ่ ายปกครอง
โดยมิชักช้ า
ตารวจ
ผู้มหี น้ าทีค่ ุ้มครอง
สวัสดิภาพเด็กตาม
มาตรา ๒๔
กลไกมาตรา ๔๑
ผู้ใด
พบเห็นหรือประสบ
พฤติการณ์ น่าเชื่อว่ ามี
การทารุณกรรมต่ อเด็ก
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ พนักงานฝ่ ายปกครอง
หรือตารวจ หรือผู้มหี น้ าทีค่ ุ้มครองสวัสดิ
ภาพเด็กตามมาตรา ๒๔
มีอานาจเข้ าตรวจค้ น
มีอานาจแยกตัวเด็กจากครอบครัว
ของเด็กเพือ่ คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
โดยเร็วทีส่ ุ ด
บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ อง
•
•
•
•
•
•
•
•
พนักงานเจ้ าหน้ าที่สงเคราะห์ และคุ้มครองเด็ก
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรี ยน/นักศึกษา
พนักงานฝ่ ายปกครอง
ตารวจ
ผู้มีหน้ าที่ค้ ุมครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔
ผู้ประกอบวิชาชีพ/นักวิชาชีพ
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่ งชาติ
การให้ การสงเคราะห์
ให้ ความช่ วยเหลือใดๆทีท่ าให้ ผ้ปู กครองสามารถอุปการะเลีย้ งดูเด็กได้
ตามมาตรา ๒๓ รวมทั้งการให้ คาแนะนาปรึกษา การบาบัดฟื้ นฟู การฝึ กทักษะ
ทีจ่ าเป็ นต่ อการอุปการะเลีย้ งดูเด็ก การฟื้ นฟูครอบครัว จัดกลุ่มช่ วยเหลือ ฯลฯ
มอบเด็กให้ ผู้เหมาะสมอุปการะเลีย้ งดูแทนไม่ เกิน ๑ เดือน
กรณีเด็กกาพร้ า ดาเนินการเพื่อให้ เด็กเป็ นบุตรบุญธรรมตามกฎหมาย
ว่ าด้ วยการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
ส่ งเด็กเข้ ารับการอุปการะในครอบครัวอุปถัมภ์ (ต้ องยินยอม/ใช้ คาสั่ ง)
ส่ งเด็กเข้ าสถานดูแลเด็กด้ านต่ างๆตามหมวด ๖ (ต้ องยินยอม/ใช้ คาสั่ ง)
การคุ้มครองสวัสดิภาพ ๔๑ และ ๔๒
เพือ่ ไม่ ให้ เด็กตกอยู่ในอันตราย พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอานาจนาตัวเด็กมาไว้
ในอารักขาได้ ทนั ที เพียงแต่ เกิดหรือมีพฤติการณ์ ทนี่ ่ าเชื่อว่ ามีการกระทาทารุ ณกรรม
ต่ อเด็ก ไม่ จาเป็ นจะต้ องมีพยานหลักฐานชัดเจนยืนยันว่ าเด็กถูกกระทาทารุ ณกรรม
หรือใครเป็ นผู้ลงมือกระทาก็ได้
พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอานาจตรวจค้ นตามมาตรา ๓๐ และมีอานาจแยกตัว
เด็กจากครอบครัวของเด็กเพือ่ ไว้ ในอารักขาโดยเร็วทีส่ ุ ด
จัดให้ เด็กรับการตรวจรักษาทางร่ างกายและจิตใจทันที
อาจส่ งตัวเด็กไปสถานแรกรับ หรือไปรับการสงเคราะห์ ตาม ม.๓๓
อานาจของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ กรณีนี้มีเงื่อนเวลาจากัด ไม่ เกิน ๗ วัน หรื อ
ร้ องขอศาลเพือ่ ขยายได้ รวมไม่ เกิน ๓๐ วันเท่ านั้น
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ต้องสื บค้ น /รวบรวมข้ อเท็จจริ ง ที่เป็ นประเด็นแห่ งคดี
คุ้มครองเด็กจนสามารถกาหนดวิธีการคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสมทันเงื่อนเวลา
หากไม่ ทนั เวลาหมดอานาจคุ้มครองเด็ก
ประเด็นในการสื บค้ นข้ อเท็จจริง
มาตรา ๕๖ (๒)
สื บ เสาะและพินิจ เกี่ย วกับ อายุ ประวัติ ความประพฤติ
สติ ปั ญ ญา การศึ ก ษาอบรม ภาวะแห่ งจิต นิ สัย อาชี พ และ
ฐานะของเด็กที่จาต้ องได้ รับการสงเคราะห์ หรื อคุ้มครองสวัสดิ
ภาพ รวมทั้ ง ของผู้ ป กครอง หรื อ บุ ค คลที่ เ ด็ ก อาศั ย อยู่ ด้ ว ย
ตลอดจนสิ่ งแวดล้ อมทั้งปวง เกีย่ วกับเด็ก และมูลเหตุที่ทาให้ เด็ก
ตกอยู่ในสภาวะจาต้ องได้ รับการสงเคราะห์ หรื อคุ้มครองสวัสดิ
ภาพ เพือ่ รายงานไปยังหน่ วยที่เกีย่ วข้ อง
การส่ งเสริมความประพฤตินักเรียนนักศึกษา
• มาตรา ๖๓
“โรงเรี ยนและสถานศึกษาต้ องจัดให้ มีระบบงาน
และกิ จ กรรมในการแนะแนวให้ ค าปรึ กษาและ
ฝึ กอบรมแก่ นั กเรี ยน นั กศึกษา และผู้ปกครอง เพื่อ
ส่ งเสริ มความประพฤติท่ ีเหมาะสม ความรั บผิดชอบ
ต่ อสั ง คม และความปลอดภั ย แก่ นั กเรี ยนและ
นั ก ศึ ก ษา ตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก ารและเงื่ อนไขที่
กาหนดในกฎกระทรวง”
กระบวนการดาเนินการตามหมวด ๗
• บทบาทหน้ าที่ของสถานศึกษาตามมาตรา ๖๓
• บทบาทหน้ าที่ของนักเรี ยนและนักศึกษาต้ องประพฤติตน
ตามระเบี ย บของโรงเรี ย นหรื อ สถานศึ ก ษาและตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๔
• พนักงานเจ้ าหน้ าที่ท่ ีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึก ษาธิการ
แต่ ง ตั ง้ ร่ วมกั บ ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาและสถานศึ ก ษามี
อานาจปรั บ แก้ ไ ขพฤติก รรมนั ก เรี ย นและนั กศึ กษาตาม
มาตรา ๖๕
• หากปรั บ แก้ ไขไม่ ได้ ผลได้ ก าหนดวิ ธี ก ารส่ งต่ อ ความ
ช่ วยเหลือไว้ ตามมาตรา ๖๖
ข้ อปฎิบัติเมื่อค้ นพบข้ อบ่ งชี้หรือมีการเปิ ดเผยการทารุณกรรม
ตั้งสติ
สั งเกต /รับฟัง
แสดงออกว่ ายอมรับ และเชื่อในสิ่ งทีเ่ ด็กบอก
ให้ กาลังใจ และให้ ความมัน่ ใจว่ าจะช่ วยเหลือเด็ก
บันทึก
วางแผนการดาเนินการและรายงานเหตุ
ความปลอดภัย และสุ ขภาพของเด็ก
หัวใจหลักสุ ดท้ ายของ พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ
มาตรา ๒๒
“การปฏิ บั ติ ต่ อเด็ ก ไม่ ว่ ากรณี ใ ด ให้
คานึงถึงประโยชน์ สูงสุ ดของเด็กเป็ นสาคัญและไม่ ให้ มี
การเลือกปฏิบัติโดยไม่ เป็ นธรรม”
สถานการณ์ สิทธิเด็กกับประชาคมอาเซียน
• การแสวงหาประโยชน์ ในธุรกิจบริการทางเพศ
• ผู้อพยพและผู้ย้ายถิน่ ผิดกฎหมาย
• ความรุ นแรงต่ อเด็กในภาวะฉุกเฉิน
• ความปลอดภัยของเด็กในบางประเทศเนื่องจากกับระเบิด
อาเซียนกับการขจัดความรุนแรงต่ อเด็ก ๑๖ ข้ อ
• การวิเคราะห์ กรอบกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับความรุ นแรงต่ อเด็ก
• การกาหนดกลยุทธ์ สาหรับแผนปฏิบัติการระดับชาติ (ด้ านการ
ป้องกัน การบาบัดรักษา การติดตามผลการดาเนินการ)
• จัดให้ มีแนวทางปฏิบัติของประเทศสมาชิก เกีย่ วกับการเลีย้ งดู
บุตรเชิ งบวกของบิดามารดา และแบบปฏิบัติที่นามาใช้ ในบ้ าน
และโรงเรียน
• การพั ฒ นาแนวทางปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ มาตรฐานในการจั ด
ให้ บริการในประเด็นความรุนแรงต่ อเด็ก
อาเซียนกับการขจัดความรุนแรงต่ อเด็ก (ต่ อ)
• การพัฒนาแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการเสริ ม สร้ างศั ก ยภาพ
ให้ แก่ บุคลากรผู้ให้ คาปรึกษาและผู้ให้ บริการด้ านสุ ขภาพจิต
• การพั ฒ นาแนวทางปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การติ ด ตามผลการ
ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ
• การจัดทา Check list เพือ่ ตรวจสอบความรุ นแรงทางจิตใจ
และอารมณ์
• รวบรวมและแบ่ งปันประสบการณ์ ที่ดใี นการดาเนินการจัดการ
กับปัญหาความรุนแรงต่ อเด็ก
อาเซียนกับการขจัดความรุนแรงต่ อเด็ก (ต่ อ)
• การจัดให้ มีโครงการที่ม่ ุ งเน้ นการให้ บริ การเด็กที่ถูกกระทา
รุนแรงและผู้กระทา
• การศึ ก ษาวิเ คราะห์ มู ล งบประมาณที่ป ระหยัด ได้ จ าการยุ ติ
ความรุนแรงต่ อเด็ก
• สนับสนุนประเทศสมาชิกในการพัฒนาแผนงานระดับชาติใน
การคุ้มครองและป้องกันเด็กจากความรุนแรง
• การรณรงค์ และสร้ างความตระหนักต่ อสาธารณชนเรื่ องสิ ทธิ
เด็กและความรุ นแรงต่ อเด็กในระดับภูมิภาค เช่ น การลงโทษ
เด็ก
อาเซียนกับการขจัดความรุนแรงต่ อเด็ก (ต่ อ)
• การดาเนินการศึกษาเกีย่ วกับความรุนแรงต่ อเด็ก รวมทั้งจัดให้
มีการสารวจข้ อมูล case ต่ างๆ ทีป่ ระสบปัญหาความรุ นแรง
• การใช้ กฎหมายเพื่อการคุ้มครองเด็กจากความรุ นแรงที่มีอยู่
และแนวปฏิบัติที่เกีย่ วข้ อง
• การประชุม/สั มมนาต่ างๆ
• บทบาทของ ACWC เช่ น การริ เริ่ มระบบฐานข้ อมูล การ
ประชุ มหารื อกับผู้นาท้ องถิ่นและผู้ นาทางศาสนา การเสริ ม
สร่ างความตระหนักทางสั งคมและสาธารณะ เป็ นต้ น
ระบบเครือข่ ายทีมสหวิชาชีพ
• ผู้ประกอบวิชาชีพด้ านการแพทย์ และสาธารณสุข
• ผู้ประกอบวิชาชีพด้ านสังคมสงเคราะห์
และสวัสดิการสังคม
• ผู้ประกอบวิชาชีพด้ านกฎหมายและการปกครอง
• ผู้ประกอบวิชาชีพด้ านการศึกษาและการฝึ กอาชีพ
• ผู้ประกอบวิชาชีพในด้ านองค์ กรพัฒนาเอกชน
และองค์ กรภาคประชาชน
กระบวนการทางานแบบสหวิชาชีพ
• การประสานงานภายในและภายนอกองค์ กร
- ภายในองค์ กร คือ ทุกฝ่ ายในองค์ กรต้ องมีข้อมูลทีน่ ามาใช้ ร่วมกัน
- ภายนอกองค์ กร คือ กรณีการประสานงาน ๒ องค์ กรขึน้ ไป
• การร่ วมปรึกษาหารือ
- องค์ กรต่ าง ๆ ที่รับผิดชอบต้ องหาข้ อเท็จจริงนามาปรึกษาหารือกัน
จากแง่ มุมของแต่ ละวิชาชีพ
• การร่ วมปฏิบัติงานเพือ่ เกิดการคุ้มครองเด็ก
- เป็ นการร่ วมกันทางานทั้งการหาข้ อเท็จจริ ง การประชุ มร่ วมกันใน
ทุกขั้นตอนการประเมิน การวางแผนช่ วยเหลือระยะสั้ นและยาว
พลังสร้ างภูมคิ ุ้มกันเด็กและเยาวชน
พลังในตัวตนของ
เด็กและเยาวชน
การป้ องกันปัญหาเด็กและสตรีในภาวะต่ าง ๆ
• ระดับปฐมภูมิ คือ บุคคลทุกคนต้ องปลอดภัย
• ระดับทุตยิ ภูมิ คือ บุคคลทีต่ กอยู่ในภาวะเสี่ ยงต่ อการถูกทารุ ณ
กรรม การเลีย้ งดูโดยมิชอบ การละเลยทอดทิง้ ต้ องได้ รับการ
ช่ วยเหลือ
• ระดับตติยภูมิ คือ บุคคลทีถ่ ูกทารุณกรรม ถูกเลีย้ งดูโดยมิชอบ
ถู ก ละเลยทอดทิ้ง ต้ อ งได้ รั บ การช่ ว ยเหลือ และบ าบั ด ฟื้ นฟู
บุคคลทีม่ ีปัญหาพฤติกรรม ต้ องได้ รับการแก้ ไขปรับเปลีย่ น
• ระดับจตุรภูมิ คือ บุคคลที่ตกเป็ นผู้ถูกกระทา ต้ องไม่ กลายไป
เป็ นผู้กระทาบุคคลอืน่
พบเห็น เด็ก สตรี ทีถ่ ูกทารุณกรรม
ถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัว
ปัญหาการค้ ามนุษย์
หรือปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่ พร้ อม
ติดต่ อ :
ศูนย์ ประชาบดี ๑๓๐๐
หรือ
ศูนย์ พทิ กั ษ์ สิทธิเด็กและครอบครัว ศธ.
๑๕๗๙
หรือ
ศูนย์ พงึ่ ได้ ๑๖๖๙