สิทธิและสวัสดิการสังคมของกระทรวง พม. ที่สตรีควรจะได้รับ

Download Report

Transcript สิทธิและสวัสดิการสังคมของกระทรวง พม. ที่สตรีควรจะได้รับ

สถานการณ์ปัญหาสังคมไทย
บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิ บปี บริบูรณ์ และไม่ มรี ายได้ เพียงพอแก่ การยังชีพ มีสิทธิได้ รับ
สวัสดิการ สิ่ งอานวยความสะดวกอันเป็ นสาธารณะอย่ างสมศักดิ์ศรี และความช่ วยเหลือทีเ่ หมาะสม
จากรัฐ
บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้ าถึงและใช้ ประโยชน์ จากสวัสดิการ สิ่ งอานวย
ความสะดวกอันเป็ นสาธารณะ และความช่ วยเหลือทีเ่ หมาะสมจากรัฐ บุคคลวิกลจริตย่ อมได้ รับ
ความช่ วยเหลือทีเ่ หมาะสมจากรัฐ
บุคคลซึ่งไร้ ทอี่ ยู่อาศัยและไม่ มรี ายได้ เพียงพอแก่ การยังชีพ ย่ อมมีสิทธิได้ รับความ
ช่ วยเหลือทีเ่ หมาะสมจากรัฐ
รัฐต้ องดาเนินการตามแนวนโยบายด้ านสั งคม การสาธารณสุ ข การศึกษา และ
วัฒนธรรม โดยมีประเด็นหลัก ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการจัดสวัสดิการของ กระทรวงการ
พัฒนาสั งคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ดังนี้
- คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลีย้ งดูและให้
การศึกษาปฐมวัย ส่ งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้ างและพัฒนา
ความเป็ นปึ กแผ่ นของสถาบันครอบครัวและชุ มชน รวมทั้งต้ องสงเคราะห์ และจัด
สวัสดิการให้ แก่ ผ้ สู ู งอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พกิ ารหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะ
ยากลาบาก ให้ มคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และพึง่ พาตนเองได้
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
(2) การจ่ ายเบีย้ ยังชีพผู้สูงอายุแบบขั้นบันได
 อายุ 60 – 69 ปี
ได้ รับเงิน 600 บาท/เดือน
 อายุ 70 – 79 ปี
ได้ รับเงิน 700 บาท/เดือน
 อายุ 80 – 89 ปี
ได้ รับเงิน 800 บาท/เดือน
 อายุ 90 ปี ขึน
้ ไป ได้ รับเงิน 1,000 บาท/เดือน
(3) ช่ วยเหลือ บาบัด ฟื้ นฟู คุ้มครอง และพัฒนาอาชีพให้ กบั สตรี
ทีต่ กเป็ นเหยือ่ การค้ ามนุษย์ ในสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ 4 แห่ ง
ภายใต้ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.2539 และ พ.ร.บ.
ป้องกันและปราบปรามการค้ ามนุษย์ พ.ศ.2551
กลุ่มที่ 2
จัดให้ มีศูนย์ บริการช่ วยเหลือเด็กและสตรีในสภาวะวิกฤติจาก
ความรุนแรงหรือศูนย์ พงึ่ ได้ (One Stop Crisis Center : OSCC) ใน
โรงพยาบาลต่ างๆ กระจายอยู่ทวั่ ประเทศ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
ดาเนินงานตาม พ.ร.บ.ฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 และ
พ.ร.บ.ส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ.2550 ดังนี้
(1) สงเคราะห์ และฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ มีสถานสงเคราะห์
10 แห่ ง ใน 6 จังหวัด
(2) สงเคราะห์ เครื่องกายอุปกรณ์ โดยหน่ วยงานภาครัฐ 2 แห่ ง
 ศูนย์ สิรินธรเพือ่ การฟื้ นฟูสมรรถภาพการแพทย์แห่ งชาติ
สั งกัดกรมการแพทย์
 กระทรวง พม. เน้ นให้ ความช่ วยเหลือคนพิการที่เป็ น
สมาชิกของสมาคมคนพิการ
(3) การสงเคราะห์ ด้านการเงิน
 จ่ ายเงินเบีย้ ยังชีพคนพิการเดือนละ 500 บาท แก่คนพิการ
ทีไ่ ด้ รับการจดทะเบียนทุกคน
 จัดสรรเงินเพือ่ ช่ วยเหลือด้ านการเงินหรือสิ่ งของแก่
ครอบครัวผู้พกิ ารไม่ เกิน 2,000 บาท/ครั้ง ติดต่ อกันไม่ เกิน 3 ครั้ง/ครอบครัว
รวมทั้งให้ คาปรึกษาแนะนาต่ างๆ
 กองทุนส่ งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ เพือ่ ส่ งเสริม
การดาเนินงานด้ านการสงเคราะห์ ช่วยเหลือคนพิการ ทั้งทีเ่ ป็ นองค์ กร
ภาครัฐและภาคเอกชน
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
(1) คนยากจน
 จ่ ายเงินสงเคราะห์ ครอบครัวไม่ เกิน 2,000 บาท ติดต่ อกัน
ไม่ เกิน 3 ครั้ง/ปี
 ให้ ที่พกั ชั่วคราว ในบ้ านพักชั่วคราวคนจนเมือง 4 แห่ ง
เพือ่ ช่ วยเหลือผู้เดือดร้ อนด้ านทีอ่ ยู่อาศัย อันเนื่องมาจากประสบสาธารณภัย
ถูกไล่ที่ ต้ องอพยพเร่ งด่ วน
 ผู้ตกทุกข์ ได้ ยากในประเทศและนอกประเทศ จะได้ รับ
การส่ งกลับภูมิลาเนาเดิม โดยการช่ วยเหลือเป็ นค่ าพาหนะและค่ าอาหาร
ระหว่ างเดินทาง
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
(2) คนเร่ ร่อน คนไร้ ที่พงึ่ และคนขอทาน
 ช่ วยเหลือสิ่ งของ เงินค่ าอุปโภคบริโภค ค่ าซ่ อมทีอ่ ยู่อาศัย
ค่ ารักษาพยาบาล และทุนประกอบอาชีพ ครั้งละไม่ เกิน 1,000 บาท ช่ วยได้
ไม่ เกิน 3 ครั้ง/ปี
 รับไว้ อุปการะในสถานสงเคราะห์ คนไร้ ทพี่ งึ่ จานวน 11 แห่ ง
สถานแรกรับคนไร้ ที่พงึ่ 2 แห่ ง เน้ นช่ วยเหลือด้ านการฝึ กอาชีพ
 สร้ างโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กเร่ ร่อนภายใต้ โครงการครู
ข้ างถนน โดยต่ อยอดมาเป็ น “ศูนย์ สร้ างโอกาสเด็ก” ปัจจุบันมีจานวน 7 แห่ ง
เพือ่ เป็ นศูนย์ บริการเฉพาะกลางวันแก่ครูข้างถนนและเด็กเร่ ร่อน
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
(3) บุคคลทีม่ ีปัญหาสถานะทางกฎหมาย จะได้ รับความ
ช่ วยเหลือจากรัฐ เป็ นบริการขั้นพืน้ ฐาน คือ
 สิ ทธิในการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกัน
สุ ขภาพถ้ วนหน้ า
 สิ ทธิในการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
 ได้ รับการสงเคราะห์ ช่วยเหลือจากกรมพัฒนาสั งคม
และสวัสดิการ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
(4) ผู้ได้ รับผลกระทบจากเอดส์ และครอบครัว ได้ รับความ
ช่ วยเหลือ ดังนี้
 การอุปการะในสถานสงเคราะห์ มีจานวน 4 แห่ ง
 เงินสงเคราะห์ เด็กในครอบครัว รายละ 1,000 บาท แต่
ไม่ เกิน 3,000 บาท จ่ ายไม่ เกิน 3 ครั้ง/ปี
 เงินสงเคราะห์ ครอบครัว ครั้งละไม่ เกิน 2,000 บาท
จ่ ายไม่ เกิน 3 ครั้ง/ปี
 เงินทุนสาหรับผู้ป่วยเอดส์ นาไปประกอบอาชีพ รายละ
ไม่ เกิน 5,000 บาท
 จ่ ายเบีย้ ยังชีพ 500 บาท/คน/เดือน
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
(5) การพัฒนาศักยภาพการดารงชีวติ ของประชากรบนพืน้ ที่สูง
20 จังหวัด
 พัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพืน้ ฐาน
 ฝึ กอาชีพเพือ่ สร้ างรายได้ ให้ ตนเองและครอบครัว
 สงเคราะห์ ครอบครัวชาวเขาทีย่ ากจน
(6) การพัฒนาศักยภาพการดารงชีวติ ของประชากรในนิคมสร้ าง
ตนเอง 43 แห่ ง
 การบริหารจัดการที่ดิน (บรรจุสมาชิกนิคม การออก น.ค.3
การรังวัดที่ดิน การแก้ปัญหาข้ อพิพาท)
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
 การส่ งเสริมอาชีพ
 การดาเนินงานสิ นเชื่อ
 การจัดการกับทรัพยากร
(7) ผู้ทอี่ ยู่ในธุรกิจบริการทางเพศ :
 ได้ รับสิ ทธิตามโครงการหลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า
 สตรีและเด็กอายุตา่ กว่ า 18 ปี ทีก่ ระทาผิดตาม พ.ร.บ.
ปราบปรามการค้ าประเวณี พ.ศ.2539 และผู้ทตี่ กเป็ นเหยือ่ ของ
การค้ ามนุษย์ จะอุปการะไว้ ในสถานแรกรับหรือสถานคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม.
(8) ผู้ประสบภัย :
 จัดบริการ ณ จุดเกิดเหตุ อาหาร นา้ ดื่ม หน่ วยแพทย์
เคลือ่ นที่
 การสงเคราะห์ เงินและสิ่ งของบรรเทาทุกข์ แก่ผู้เดือดร้ อน
 ให้ คาปรึกษาแนะนา
 การฝึ กอาชีพ และสนับสนุนการรวมกลุ่มเพือ่ ประกอบ
อาชีพ