วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ

Download Report

Transcript วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ

วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
โครงการธรรมาภิบาลกับการปฏิบัติราชการ
วันที่ 13 มกราคม 2554
1
ขอบเขตการนาเสนอ
1. การพิจารณาทางปกครอง
2. คาสั่ งทางปกครอง
3. กฎ
4. หลักการสาคัญในการพิจารณาทางปกครองตาม
กฎหมายว่ าด้ วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
5. การมอบอานาจ
6. กรณีศึกษาคดีปกครอง
2
ความหมายของ
การพิจารณาทางปกครอง
การเตรียมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่
เพื่อจัดให้มีคาสั ่งทางปกครอง
3
ความเห็นของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิ ราชการฯ
เรื่องเสร็จที่ 537/2541
ข้ อ หารื อ การปฏิ บ ตั ิ ห น้ า ที่ ข องพนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ต ามมาตรา 264 แห่ ง พ.ร.บ.
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยการเข้าไปตรวจสอบ ยึด
หรืออายัดเอกสารหรือพยานหลักฐาน หรือสังให้
่ บุคคลมาให้ถ้อยคาหรือ
ส่งสาเนาเอกสารและหลักฐาน เป็ นคาสังทางปกครองหรื
่
อไม่
ความเห็น การปฏิบตั ิ หน้ าที่ ของพนั กงานเจ้าหน้ าที่ ในการแสวงหาข้อเท็จจริงและ
รวบรวมพยานหลักฐานเพื่อดาเนินการกับผู้กระทาความผิด โดยเข้าไปใน
สถานที่ต่างๆ การยึด อายัดเอกสารหรือหลักฐานบางอย่าง หรือการสังให้
่
บุค คลมาให้ ถ้ อ ยค า ส่ ง หรื อ แสดงพยานหลัก ฐานเพื่ อ ประโยชน์ ใ นการ
ตรวจสอบหรือดาเนินคดีตามมาตรา 264 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาด
หลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เป็ นเพี ยงการเตรียมการและการดาเนินการของ
เจ้าหน้ าที เ่ พือ่ จะนาไปสู่การออกคาสังทางปกครอง
่
ซึ ง่ อยู่ในความหมาย
ของคาว่า “การพิจารณาทางปกครอง” จึงไม่เป็ นคาสังทางปกครอง
่
4
1. หลังจากทีผ่ ู้ถูกฟ้ องคดีที่ 3 (สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาสุ รินทร์ เขต 3)
ได้ รับทราบผลการสอบสวนจากคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยผู้ฟ้องคดีแล้ ว
ได้ มีความเห็นให้ ลงโทษปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการตามความเห็นของ
คณะกรรมการสอบสวน จากนั้นได้ รายงานผลการสอบสวนต่ อผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 2
(อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาสุ รินทร์ เขต 3) ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 2 พิจารณาแล้วมีมติ
ให้ ลงโทษปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 4 (ผู้อานวยการโรงเรียน
บ.) ซึ่งเป็ นผู้มีอานาจสั่ งลงโทษจึงมีคาสั่ งลงโทษปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ
ตามมติของผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 2 จากขั้นตอนการดาเนินการทางวินัย
ผู้ฟ้องคดีดงั กล่าวข้ างต้ นเห็นได้ ว่า ความเห็นของผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 3 ทีเ่ สนอให้
ลงโทษปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ และมติของผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 2 ทีใ่ ห้ ลงโทษ
ปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ เป็ นเพียงการพิจารณาทางปกครองตามมาตรา 5
แห่ งพระราชบัญญัตวิ ธิ ีปฏิบัตริ าชการทางปกครองฯ หากผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 4 ยังไม่ มี
คาสั่ งลงโทษ ความเห็นและมติดังกล่าวยังไม่ มีผลกระทบต่ อสถานภาพของสิ ทธิ
หรือหน้ าทีข่ องผู้ฟ้องคดีโดยตรง ผู้ฟ้องคดีจงึ ไม่ มีสิทธิฟ้องผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 2 และที่
3 ต่ อศาลตามมาตรา 42 วรรคหนึ่ง แห่ งพระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองฯ
(คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 42/2553)
2. คาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่ างร้ ายแรงนั้น ถึงแม้ จะเป็ น
การใช้ อานาจตามกฎหมายของผู้บังคับบัญชาก็ตาม แต่ กถ็ อื เป็ นเพียงขั้นตอนการ
ดาเนินการภายในของฝ่ ายปกครองเพือ่ แสวงหาข้ อเท็จจริงในเรื่องที่มีการกล่าวหา
ว่ าผู้ฟ้องคดีได้ มีการกระทาผิดวินัยอย่ างร้ ายแรงตามข้ อกล่าวหาหรือไม่ คาสั่ ง
ดังกล่าวจึงเป็ นเพียงการพิจารณาทางปกครองตามมาตรา 5 แห่ งพระราชบัญญัติ
วิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครองฯ การทีผ่ ู้ฟ้องคดีอ้างว่ าได้ รับความเดือดร้ อนหรือ
เสี ยหายจากการทีผ่ ู้ถูกฟ้ องคดีที่ 1 (ผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาศรี
สะเกษ เขต 1) มีคาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่ างร้ ายแรงผู้ฟ้อง
คดีและเป็ นคาสั่ งทีไ่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมายนั้น ผู้ฟ้องคดีสามารถยกประเด็นนีข้ นึ้
ต่ อสู้ ในกรณีทผี่ ู้ฟ้องคดีอทุ ธรณ์ คาสั่ งลงโทษและหรือยกขึน้ ต่ อสู้ ในคราวทีย่ นื่ ฟ้ อง
คดีต่อศาลเพือ่ ขอให้ เพิกถอนคาสั่ งลงโทษผู้ฟ้องคดี ดังนั้น
ผู้ฟ้องคดีจงึ มิใช่ ผู้ได้ รับความเดือดร้ อนหรือเสี ยหายทีจ่ ะมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาล
ตามมาตรา 42 วรรคหนึ่ง แห่ งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ (คาสั่งศาล
ปกครองสูงสุดที่ 149/2552)
3. การทีค่ ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่ งชาติ
(คณะกรรมการ ป.ป.ช.) สอบสวนแล้วมีมติว่าผู้ฟ้องคดีมีมูลความผิดทางอาญา
และทางวินัย จึงได้ ส่งความเห็นไปยังผู้บังคับบัญชาของผู้ฟ้องคดีเพือ่ พิจารณา
โทษทางวินัยตามมาตรา 92 แห่ งพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วย
การป้องกันและการทุจริต พ.ศ. 2542 แม้ บทบัญญัตดิ งั กล่าวจะให้ ผู้บังคับบัญชา
ของผู้ฟ้องคดีพจิ ารณาโทษตามความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็ตาม
แต่ มติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หาได้ มีผลบังคับให้ ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการไม่
ดังนั้น มติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงเป็ นเพียงการพิจารณาทางปกครอง
เพือ่ ให้ ผู้บังคับบัญชาออกคาสั่ งทางปกครองต่ อไป ผู้ฟ้องคดีจงึ ไม่ ใช่ ผู้ได้ รับ
ความเดือดร้ อนหรือเสี ยหายจากมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทีจ่ ะมีสิทธิฟ้อง
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต่ อศาล ตามมาตรา 42 วรรคหนึ่ง แห่ งพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองฯ (คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ดที่ 743/2551)
“คาสั ่งทางปกครอง”
การใช้อานาจตามกฎหมายของ “เจ้าหน้าที่” ที่มีผลเป็ น
การสร้างนิตสิ มั พันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง
โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิ
หรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็ นการถาวร หรือชั ่วคราว เช่น
การสั ่งการ การอนุญาต การอนุมตั ิ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง
และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออก “กฎ”
การอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
8
การดาเนินการของเจ้าหน้าที่ที่มีการออกกฎกระทรวง
กาหนดให้เป็ น “คาสั ่งทางปกครอง”
การดาเนินการเกี่ยวกับการจัดทาหรือให้สิทธิประโยชน์
ในกรณีดงั ต่อไปนี้
การสั ่งรับหรือไม่รบั คาเสนอขาย รับจ้าง
แลกเปลี่ยน ให้เช่าซื้อ เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์
การอนุมตั สิ ั ่งซื้อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย
ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์
การสั ่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคาเสนอหรือ
การดาเนินการอื่นใดในลักษณะเดียวกัน
การสั ่งให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
การให้หรือไม่ให้ทุนการศึกษา
9
สาระสาคัญของ “คาสั ่งทางปกครอง”
เป็ นการกระทาโดย “เจ้าหน้าที่”
เป็ นการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย
เป็ นการกระทาที่มีผลเป็ นการสร้างนิตสิ มั พันธ์
ขึ้นระหว่างบุคคลหรือมีผลกระทบต่อสถานภาพ
ของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล
เป็ นการกระทาที่มุ่งใช้บงั คับแก่กรณีใดหรือ
บุคคลใดเป็ นการเฉพาะ
10
กรณี ที่ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า
เป็ นคาสังทางปกครอง
่
11
1. คาสังแต่
่ งตัง้ ที่ ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจา ระดับ
11 สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็ นคาสังทางปกครองตามมาตรา
่
5
แห่ งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิ ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 แม้ต าม
ประเพณี การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ น
ประมุข ประกอบกับ พระราชบัญ ญัติ ร ะเบี ย บข้ า ราชการพลเรื อน พ.ศ.
2535 นายกรัฐมนตรีจะต้ องนาความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณ า
โปรดเกล้าฯ แต่ งตัง้ อี กชัน้ หนึ่ ง ก็ไม่ทาให้ คาสังดั
่ งกล่ าวไม่ใช่ คาสังทาง
่
ปกครอง (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 518/2550)
12
2. การที่ นายกเทศมนตรีมีหนังสือแจ้งผู้ยื่นซองประกวดราคาในการ
จ้างเหมาก่อสร้างเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็กป้ องกันตลิ่งพังพร้อมทางเท้า
ว่ า บุ ค คลดัง กล่ า วเป็ นผู้ข าดคุ ณ สมบัติ เนื่ องจากยื่ น เสนอราคาผิ ด
หลัก เกณฑ์แ ละเงื่ อ นไข ซึ่ ง เป็ นการไม่ ร บั ค าเสนอราคาของบุค คลนั น้
ถื อ เป็ นค าสัง่ ทางปกครองตามข้ อ 1 (1) ของกฎกระทรวง ฉบับ ที่ 12
(พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญัติ วิ ธี ป ฏิ บัติ ร าชการทาง
ปกครอง พ.ศ. 2539 (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 31/2550)
13
3. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ถอนสัญชาติไทยของนายดา
และนายแดง ตามมาตรา 18 แห่ ง พระราชบัญ ญัติ ส ัญ ชาติ พ.ศ. 2508
มีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้ าที่ของบุคคลทัง้ สองเป็ นคาสัง่
ทางปกครองตามมาตรา 5 แห่ ง พระราชบัญ ญัติ วิ ธี ป ฏิ บ ตั ิ ร าชการทาง
ปกครอง พ.ศ. 2539 (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 2-3/2550)
14
4. คาสังของนายอ
่
าเภอดอนตาลที่ให้จาหน่ ายชื่อนาย ส. กับพวกรวม
13 คน ออกจากทะเบียนบ้านเป็ นการใช้ อานาจตามกฎหมายที่ มีผลเป็ น
การก่ อ เปลี่ ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อกระทบต่ อสถานภาพหรื อ
หน้ าที่ ของนาย ส. กับพวก จึงเป็ นคาสังทางปกครองตามมาตรา
่
5 แห่ ง
พระราชบัญ ญัติ วิ ธี ป ฏิ บ ตั ิ ร าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 (ค าสังศาล
่
ปกครองสูงสุดที ่ 457/2552)
15
5. ประกาศผลการคัดเลือกเข้าเป็ นพนักงานขององค์การกระจายสีย ง
และแพร่ภาพสาธารณะแห่ งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ต าแหน่ ง เจ้ าหน้ าที่
บริหารทัวไป
่ โดยมีผอู้ านวยการ ส.ส.ท. เป็ นผูล้ งนาม ซึ่งผูฟ้ ้ องคดีไม่ได้รบั
การคัดเลือก ประกาศผลการคัดเลือกดังกล่าวจึงเป็ นคาสังทางปกครอง
่
ตามมาตรา 5 แห่ ง พระราชบัญ ญัติ วิ ธี ป ฏิ บัติ ราชการทางปกครอง
พ.ศ. 2539 (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 410/2552)
16
6. คาสังไม่
่ รบั ผูฟ้ ้ องคดีกลับเข้ารับราชการ
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 233/2545)
7. คาสังเพ
่ ิ กถอนใบอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปื น
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 245/2545)
8. มติของสภาองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระทิง
ที่ให้ผฟ้ ู ้ องคดีพ้นจากตาแหน่ ง
(คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที ่ อ.108/2547)
17
9. คาสังให้
่ ผฟ้ ู ้ องคดีรือ้ ถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากที่ดิน
อันเป็ นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งอยู่ในความดูแลของ
หน่ วยงานผูอ้ อกคาสัง่
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 481/2547)
10. คาสังไม่
่ อนุญาตให้ผฟ้ ู ้ องคดีลาป่ วยย้อนหลัง
เป็ นเหตุให้ผฟ้ ู ้ องคดีถกู ไล่ออกจากราชการ
การไม่อนุญาตดังกล่าวเป็ นการใช้อานาจตาม
กฎหมายของเจ้าหน้ าที่ที่มีผลเป็ นการสร้าง
นิติสมั พันธ์หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของ
สิทธิหรือหน้ าที่ของบุคคล จึงเป็ นคาสังทางปกครอง
่
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 542/2547)
18
11. คาสังอายั
่ ดทรัพย์สินชัวคราวของผู
่
ฟ้ ้ องคดี 2
รายการ คือ เงินฝากในบัญชี 2 บัญชี เป็ นการใช้
อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้ าที่ที่มีผลกระทบต่อ
สถานภาพของสิทธิของผูฟ้ ้ องคดี จึงเป็ นคาสังทาง
่
ปกครอง (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 676/2547)
12. เทศบาลนครขอนแก่น มีคาสังเป็
่ นหนังสือ
แจ้งให้ผถ้ ู กู ฟ้ องคดีทงั ้ สิบสามคนชาระค่าสินไหม
ทดแทนให้แก่เทศบาลนครขอนแก่นตามมาตรา 12
แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ
เจ้าหน้ าที่ พ.ศ. 2539 เป็ นคาสังทางปกครอง
่
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 767/2547)
19
13. คาสังของรั
่
ฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ที่เพิกถอนใบอนุญาตตัง้ โรงงาน
แปรรูปไม้โดยใช้เครื่องจักรของผูฟ
้ ้ องคดี เป็ นคาสัง่
ทางปกครอง (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 485/2548)
14. คาสังปฏ
่ ิ เสธรับสมัครผูฟ
้ ้ องคดีเข้าเป็ นสมาชิก
ช.พ.ค. และคาสังของเจ้
่
าหน้ าที่ที่ปฏิเสธการจ่ายเงิน
ช.พ.ค. ตามคาขอของผูฟ
้ ้ องคดี เป็ นการใช้อานาจตาม
กฎหมายของเจ้าหน้ าที่ที่มีผลกระทบต่อสถานภาพ
ของสิทธิของผูฟ
้ ้ องคดีเป็ นคาสังทางปกครอง
่
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 515/2548 และ ที ่ 495/2548)
20
15. ประกาศผลการสอบคัดเลือกครูผด้ ู แู ลเด็กของ
นายกองค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อประกาศ
บัญชีรายชื่อผูผ้ า่ นการเลือกสรรและดาเนินการ
จ้างโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงาน
ส่วนตาบลต่อไป มีลกั ษณะเป็ นคาสังทางปกครอง
่
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุด ที ่ 519/2550)
21
กรณี ที่ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า
ไม่เป็ นคาสังทางปกครอง
่
22
1. การที่ผ้ ูถูกฟ้องคดีในฐานะหัวหน้ าส่ วนราชการประจาจังหวัดซึ่งเป็ น
ผู้บังคับบัญชาข้ าราชการและรั บผิดชอบในการปฏิบัตริ าชการในสานักงาน
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพังงาได้ มีหนังสือฉบับลงวันที่ 9
กรกฎาคม 2550 มอบหมายให้ ผ้ ูฟ้องคดีเป็ นผู้รับผิดชอบสานวนคดี
จานวน 6 คดี เป็ นการใช้ อานาจทางบริหารที่ผ้ ูถูกฟ้องคดีมีอานาจบังคับ
บัญชาผู้ฟ้องคดีซ่ งึ เป็ นผู้ใต้ บังคับบัญชาและผู้ฟ้องคดีจาต้ องปฏิบัตติ าม
คาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีดังกล่ าว ตามนัยมาตรา 88 แห่ ง พ.ร.บ.ระเบียบ
ข้ าราชการพลเรื อน พ.ศ. 2535 หากผู้ฟ้องคดีเห็นว่ า การปฏิบัตติ ามคาสั่ง
นัน้ จะทาให้ เสียหายแก่ ราชการหรือจะเป็ นการไม่ รักษาประโยชน์ ของทาง
ราชการ ผู้ฟ้องคดีอาจเสนอความเห็นเป็ นหนังสือให้ ผ้ ูถูกฟ้องคดีทบทวน
คาสั่งได้ แต่ การมีคาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีดังกล่ าวไม่ มีผลกระทบต่ อ
สถานภาพของสิทธิหรื อหน้ าที่ทางกฎหมายของผู้ฟ้องคดีแต่ อย่ างใด
หนังสือสั่งการมอบหมายงานตามคาฟ้องไม่ ใช่ คดีพพ
ิ าทตามมาตรา 9
วรรคหนึ่ง (1) แห่ ง พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลปกครองฯ
(คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 195/2551)
23
2. หนังสือของผู้ว่าราชการจังหวัดที่ส่ ังการให้ นายอาเภอแก้ ไขทะเบียนที่
สาธารณะประโยชน์ ให้ ตรงตามผลการรั งวัดของคณะกรรมการตรวจสอบ
เขตที่สาธารณะประโยชน์ เป็ นการใช้ อานาจสั่งการในฐานะผู้บังคับบัญชา
จึงเป็ นเพียงการดาเนินการภายในของฝ่ ายปกครอง จึงไม่ ใช่ คาสั่งทาง
ปกครอง (คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 56/2551)
24
3. หนังสือแจ้ งให้ เอกชนผู้รับจ้ างชาระค่ าปรั บกรณีก่อสร้ างล่ าช้ าเป็ นการใช้
สิทธิเรี ยกร้ องตามสัญญา มิใช่ เป็ นการใช้ อานาจตามกฎหมายของ
เจ้ าหน้ าที่ท่ ีมีผลเป็ นการสร้ างนิตสิ ัมพันธ์ ขนึ ้ ระหว่ างบุคคลในอันที่จะก่ อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อมีผลกระทบต่ อสถานภาพของสิทธิ
หรื อหน้ าที่ของบุคคลไม่ ว่าจะเป็ นการถาวรหรื อชั่วคราว จึงมิใช่ คาสั่งทาง
ปกครอง (คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 118/2551)
25
4. คาสั่งไม่ อนุญาตให้ ขยายระยะเวลาก่ อสร้ าง เป็ นการกระทาโดยอาศัย
อานาจตามสัญญา อันเป็ นการใช้ สิทธิตามสัญญา มิใช่ การใช้ อานาจตาม
กฎหมายของเจ้ าหน้ าที่ท่ ีมีผลกระทบต่ อสถานภาพของสิทธิหรื อหน้ าที่ของ
ผู้ฟ้องคดีแต่ อย่ างใด จึงมิใช่ คาสั่งทางปกครอง (คาพิพากษาศาลปกครอง
สูงสุดคดีหมายเลขแดงที่ อ.118/2551)
26
5. มติของคณะกรรมการพิจารณาตาแหน่ งทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา
เอกชนที่ไม่ รับพิจารณาประวัตสิ ่ วนตัวและผลงานทางวิชาการของผู้ฟ้องคดี
ในการพิจารณาแต่ งตัง้ ผู้ฟ้องคดีเป็ นผู้ช่วยศาสตราจารย์ และเสนอแนะให้
มหาวิทยาลัยแต่ งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนข้ อเท็จจริงเพื่อลงโทษทางวินัย
ผู้ฟ้องคดี เป็ นเพียงการพิจารณาทางปกครองของเจ้ าหน้ าที่เพื่อจัดให้ มี
คาสั่งทางปกครองเท่ านัน้ มิใช่ คาสั่งทางปกครอง (คาสั่งศาลปกครองสูงสุด
ที่ 230/2551)
27
6. มติของคณะกรรมการพนักงานส่ วนตาบล (ก.อบต.) ในการพิจารณา
ให้ ความเห็นชอบให้ ผ้ ูฟ้องคดีประจาสานักงานเลขานุการคณะกรรมการ
พนักงานส่ วนตาบลก่ อนที่นายกองค์ การบริหารส่ วนตาบลจะมีคาสั่งให้
ผู้ฟ้องคดีดารงตาแหน่ งดังกล่ าว เป็ นเพียงการกระทาภายในหน่ วยงาน
ก่ อนที่จะมีคาสั่งทางปกครอง ซึ่งเป็ นขัน้ ตอนในการเตรี ยมการและการ
ดาเนินการของเจ้ าหน้ าที่เพื่อจัดให้ มีคาสั่งทางปกครอง มติดังกล่ าว
จึงยังไม่ มีผลกระทบต่ อสถานภาพของสิทธิหรื อหน้ าที่ของผู้ฟ้องคดี
โดยตรง (คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 398/2550)
28
7. หนังสือของอธิการบดีมหาวิทยาลัยที่ตอบข้ อหารื อของคณะเกี่ยวกับการ
กาหนดตาแหน่ งระดับ 9 ว่ า ที่ประชุมมีมติว่ายังไม่ จาเป็ นต้ องมีตาแหน่ ง
ดังกล่ าว เป็ นเพียงหนังสือภายในของมหาวิทยาลัยที่ตอบหนังสือของ
คณะที่ได้ สอบถามเท่ านัน้ จึงยังไม่ มีผลกระทบต่ อสถานภาพของสิทธิ
หรื อหน้ าที่ของผู้ฟ้องคดีซ่ งึ เป็ นข้ าราชการระดับ 8 และได้ รับอนุมัตจิ าก
คณะให้ เทียบคุณสมบัตใิ นการขอกาหนดตาแหน่ งดังกล่ าว จึงมิใช่ คาสั่ง
ทางปกครอง (คาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 531/2550)
29
8. มติที่ประชุมของคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขัน้ เงินเดือน และ
ประกาศรายชื่ อผู้ที่มีผลการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ
ปฏิ บ ตั ิ ง านในระดับ ดี เ ด่ น เป็ นขัน้ ตอนการพิ จ ารณาทางปกครองตาม
มาตรา 5 แห่ งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิ ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
โดยยังไม่มีผลเป็ นการใช้ อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้ าที่ ที่มีผลเป็ น
การกระทบต่ อสถานภาพของสิทธิหรือหน้ าที่ ของผู้ฟ้องคดีอนั เป็ นคาสัง่
ทางปกครอง (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 183/2552)
30
9. คาสังของผู
่
อ้ านายการสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาชลบุรี เขต 3
ที่ ย้ า ยผู้ฟ้ องคดี จ ากผู้อ านวยการโรงเรี ย นสุ ก รี ย์บุ ญ ญาราม ต าบล
บางละมุง อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ไปดารงตาแหน่ งผูอ้ านวยการ
โรงเรี ยนมาบประชัน ตาบลโป่ ง อ าเภอบางละมุง จัง หวัดชลบุรี โดย
ผู้ฟ้องคดี มิได้ ยื่นคาร้องขอย้ ายนั น้ แม้จะเกิดจากการใช้ อานาจตาม
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.
2547 ของผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาชลบุรี เขต 3 แต่
คาสังดั
่ งกล่าวมิได้ มีผลกระทบต่ อสถานภาพของสิทธิหรือหน้ าที่ ของ
ผู้ฟ้ องคดี เนื่ องจากผู้ฟ้ องคดี ย งั คงด ารงต าแหน่ งเดิ ม รับ เงิ น เดื อ น
ในอัน ดับ และขัน้ เดิ ม ค าสัง่ ดัง กล่ า วจึ ง ไม่ มี ล ัก ษณะเป็ นค าสัง่ ทาง
ปกครอง (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 427/2552)
31
“กฎ”
พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง
ข้อบัญญัตทิ อ้ งถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ
บทบัญญัตอิ ื่นที่มีผลบังคับเป็ นการทั ่วไปโดย
ไม่มุ่งหมายให้ใช้บงั คับแก่กรณีใดหรือบุคคลใด
เป็ นการเฉพาะ
32
กรณี ที่ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่าเป็ นกฎ
33
หนั ง สื อ กระทรวงการคลั ง ซึ่ งแจ้ ง เวี ย นให้
เจ้าหน้ าที่และส่วนราชการทราบเพื่อถือเป็ นแนวทาง
ปฏิบตั ิ ในการเบิกจ่ายค่าเช่ าบ้าน เป็ นบทบัญญัติที่มี
ผลเป็ นการทัวไป
่ มีลกั ษณะเป็ น “กฎ” ที่ ไม่ได้ ออก
โดย ครม. หรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ผู้ฟ้องคดีจึงมีสิทธิยื่นคาฟ้ องต่ อศาลปกครองชัน้ ต้ น
ได้ ทนั ที โดยไม่ต้องยื่นอุทธรณ์ ตามมาตรา ๔๔ แห่ ง
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิ ราชการทางปกครองฯก่อน
● 1.
คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ ๑๑๘/๒๕๔๔
34
2. สิทธิพิเศษการบริการโทรศัพท์
มติ คณะรัฐ มนตรี ที่ ใ ห้ สิ ทธิ พิ เศษ ทศท. ในการ
ให้ บ ริ ก ารเลขหมายโทรศัพ ท์ข อง ทศท. แก่ ห น่ ว ยงาน
ราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่ วยงานอื่นของรัฐ โดยให้ขอ
หมายเลขโทรศัพท์ใหม่ของ ทศท. เป็ นลาดับแรก เว้นแต่
ทศท. ไม่อาจให้ บริการได้ในระยะเวลาอันสัน้ มีสถานะ
ทางกฎหมายเป็ นกฎที่ อ อกโดยคณะรัฐ มนตรี ห รื อ โดย
ความเห็น ชอบของคณะรัฐ มนตรี เนื่ อ งจากมี ล กั ษณะ
เป็ นการกาหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทางปฏิบตั ิ ที่ผ้อู ยู่ใน
บังคับต้องปฏิบตั ิ ตาม หากฝ่ าฝื นย่อมมีความผิด
(คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดคดีหมายเลขแดงที ่ ฟ.26/2546)35
3. มติของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ที่ กาหนดให้
ผูม้ ีอานาจสังบรรจุ
่
สามารถคัดเลือกบุคคลซึ่งสาเร็จการศึกษาปริญญาตรี
เกี ย รติ นิ ยมทุ ก สาขาจากจากสถาบัน การศึ ก ษาที่ ก.พ. รับ รองทัง้ ใน
ประเทศและต่ างประเทศ เพื่อบรรจุเข้ ารับ ราชการเป็ นข้าราชการพล
เรือนสามัญและแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ได้รบั คัดเลือก มีผลบังคับเป็ น
การทัวไปแก่
่
ผ้สู าเร็จการศึกษาปริญญาตรีเกียรตินิยมและผู้ที่ไม่ได้รบั
เกียรตินิยม คือ ผูท้ ี่จบการศึกษาเกียรตินิยมมีสิทธิได้รบั การคัดเลือกเข้า
รับราชการ ส่วนผู้ที่ไม่ได้รบั เกียรตินิยมจะไม่มีสิทธิได้รบั การคัดเลือก
มติดงั กล่าวจึงมีผลบังคับแก่ทุกคนเป็ นการทัวไป
่ ไม่ม่งุ หมายให้ใช้บงั คับ
แก่ ก รณี ใดหรื อ บุ ค คลใดเป็ นการเฉพาะ จึ ง มี ล ัก ษณะเป็ นกฎ (ค า
พิพากษาศาลปกครองสูงสุดคดีหมายเลขแดงที ่ อ.158/2550)
36
4. หนังสือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานลงวันที่ 6
มกราคม 2548 มีข้อความระบุให้ สานั กงานเขตพื้นที่ การศึกษาทุ กเขต
ชะลอการด าเนินการถ่ ายโอนสถานศึ กษาให้ แ ก่ องค์กรปกครองส่ ว น
ท้องถิ่นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2547 ไว้ก่อนจนกว่า
จะได้ ข้อยุติจากการหารือระหว่างหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องมีสภาพบังคับ
เป็ นการทัวไปให้
่
ทุกสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาทัวประเทศต้
่
องปฏิบตั ิ
ตามมติคณะรัฐมนตรีในการชะลอการถ่ายโอนสถานศึกษา และยังส่งผล
กระทบต่ อสถานภาพแห่ งสิทธิขององค์การบริหารส่วนตาบลที่ มีความ
ประสงค์จะขอรับโอนสถานศึกษาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จึงมี
สถานะเป็ นกฎตามมาตรา 3 แห่ งพระราชบัญญัติจดั ตัง้ ศาลปกครองฯ
(คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดคดีหมายเลขแดงที ่ อ.172/2550)
37
5. มาตรการพัฒนาและบริหารกาลังคนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
ของสานั กงาน ก.พ. ที่ กาหนดว่า ข้าราชการที่ ลาออกจากราชการตาม
มาตรการนั ้น แล้ ว จะกลับ เข้ า รับ ราชการประจ าในสัง กัด ฝ่ ายบริ ห าร
อี ก ไม่ ไ ด้ เป็ นบทบัญ ญัติ ที่ มี ผ ลบัง คับ เป็ นการทัว่ ไป โดยไม่ มุ่ ง หมาย
ให้ ใช้ บ งั คับ แก่ ก รณี ใ ดหรือ บุค คลใดเป็ นการเฉพาะ จึ ง มี สภาพเป็ นกฎ
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ ฟ.30/2550)
38
6. ประกาศจังหวัดภูเก็ต เรื่อง กาหนดห้ ามการประกอบกิจกรรมที่
เป็ นการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณทะเลจังหวัด
ภูเก็ต พ.ศ. 2549 นอกจากกาหนดห้ามการประกอบกิจกรรมดาน้าทุกชนิด
แล้ ว ยังกาหนดให้ การดาเนินกิจ กรรมดาน้ าจะกระท าได้ ต่อเมื่ อได้ ขึ้น
ทะเบียนเป็ นผู้ได้ รบั อนุ ญ าตประกอบกิจการต่ อจังหวัดภูเ ก็ต โดยผู้ขอ
อนุ ญ าตจะต้ องปฏิ บตั ิ ต ามมาตรการคุ้มครองรัก ษาสิ่ง แวดล้ อมตามที่
กฎหมายกาหนดไว้อย่างเคร่งครัด มิฉะนัน้ อาจถูกเพิกถอนการอนุ ญาต
ประกอบกิจการได้ ประกาศดังกล่าวจึงเป็ นการกาหนดหลักเกณฑ์หรือ
เงื่อนไขการขออนุญาตประกอบกิจการดาน้า อันมีผลบังคับเป็ นการทัวไป
่
สาหรับผูป้ ระกอบกิจกรรมดาน้าในบริเวณทะเลจังหวัดภูเก็ต จึงมีลกั ษณะ
เป็ นกฎ (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 65/2550)
39
7. ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง ดอกเบี้ยและค่าบริการที่
ธนาคารพาณิ ชย์อ าจเรี ย กได้ ใ นการประกอบธุร กิ จ สิ น เชื่ อ ส่ ว นบุ ค คล
ภายใต้การกากับ ลงวันที่ 24 มิถนุ ายน 2548 มีผลใช้บงั คับเป็ นการทัวไป
่
แก่ผปู้ ระกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ทุกธนาคาร จึงมีสภาพเป็ นกฎ (คาสัง่
ศาลปกครองสูงสุดที ่ 365/2550)
40
8. มติคณะรัฐมนตรีที่กาหนดแนวทางปฏิบตั ิ ใน
การให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง
และผู้ป ระกอบอาชี พ งานอื่ น กับ ทางราชการที่ มี
ผลกระทบจากการปรับปรุงระบบการแลกเปลี่ ยน
เงินตรา มีสภาพบังคับเป็ นการทัวไปให้
่
ส่วนราชการ
และรัฐ วิ ส าหกิ จ ต้ อ งถื อ ปฏิ บัติ ต าม จึ ง มี ล ัก ษณะ
เป็ นกฎ (คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที ่ 101/2546)
41
9. มติของผู้ถูกฟ้ องคดี (คณะกรรมการข้ าราชการกรุ งเทพมหานคร)
ที่กาหนดตาแหน่ งผู้อานวยการเขตจากเจ้ าหน้ าที่บริหารงานปกครอง 8
เป็ นเจ้ าหน้ าที่บริหารงานปกครอง 9 เป็ นการใช้ อานาจตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้ าราชการกรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ซึ่งเป็ นการใช้ อานาจตาม
กฎหมายฝ่ ายเดียวโดยมีผลต่ อบุคคลหรือคณะบุคคลและมีผลทางกฎหมาย
ที่ใช้ บังคับเป็ นการทั่วไป มติดังกล่าวจึงมีสภาพเป็ นกฎ (คาสั่งศาลปกครอง
สูงสุดคดี 882/2551)
ไม่เป็ นกฎ
1. แนวปฏิ บัติ ว่ า ด้ ว ยการด าเนิ นคดี อ าญาผู้ ก ระท าผิ ด ตาม
พระราชบัญ ญัติ คุ้ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เป็ นระเบี ย บภายใน
เพื่อให้พนักงานตรวจแรงงานดาเนินคดีอาญานายจ้างโดยรวบรวม
พยานหลักฐานให้ เ พียงพอที่ เ ชื่ อและสามารถพิสูจน์ ไ ด้ ว่ า นายจ้ าง
ฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายในเรื่องที่ เป็ นมูลเหตุให้พนักงานตรวจ
แรงงานออกคาสังโดยไม่
่
ต้องดาเนินคดีอาญาในข้อหาไม่ปฏิบตั ิ ตาม
คาสังของพนั
่
กงานตรวจแรงงานตามมาตรา 124 แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แนวปฏิ บ ตั ิ ด ัง กล่ า วเป็ นบทบัญ ญัติ
ที่ มีผ ลบัง คับ เฉพาะภายในหน่ ว ยงาน ไม่มี ผลบังคับเป็ นการทัว่ ไป
และมิใช่พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติ
ท้ องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่ มีผลบังคับเป็ นการ
ทัวไป
่ แนวปฏิบตั ิ ดงั กล่าวจึงไม่มีลกั ษณะเป็ นกฎ (คาสังศาลปกครอง
่
สูงสุดที ่ 409/2546)
43
2. มติ ค ณะรัฐ มนตรี เ รื่ อ งห้ า มส่ ง งู มี ชี วิ ต และ
หนังงูที่ยงั ไม่แปรรูปออกนอกราชอาณาจักร มิได้มี
ลักษณะเป็ นการกาหนดหลักเกณฑ์ที่มีผลใช้ บงั คับ
กับหน่ วยงานหรือบุคคลภายในองค์กรบริหาร แต่
เป็ นการกาหนดนโยบายซึ่งยังไมมีผลทางกฎหมาย
โดยตรงไปสู่ภายนอก มติคณะรัฐมนตรีดงั กล่าวจึง
ไม่ มี ส ภาพเป็ นกฎ (ค าสัง่ ศาลปกครองสู ง สุ ด ที ่
ฟ.14/2546)
44
3. ประกาศของเลขาธิก ารส านั ก งานศาลยุติธรรมที่ ก าหนด
หลั ก เกณฑ์ ก ารรับ สมัค รสอบแข่ ง ขั น เพื่ อ แต่ ง ตั ง้ ข้ า ราชการ
สานักงานศาลยุติธรรมให้ดารงตาแหน่ งเจ้าพนักงานศาลยุติธรรม 6
เป็ นการใช้ อ านาจตามกฎหมายของเลขาธิ การส านั ก งานศาล
ิ ได้เจาะจงตัวบุคคล แต่
ยุติธรรมซึ่งมีผลใช้บงั คับเป็ นการทัวไปโดยม
่
มุ่ ง ห ม า ย ใ ห้ ใ ช้ บั ง คั บ เ ฉ พ า ะ กั บ ก ร ณี ห นึ่ ง ก ร ณี ใ ด เ ป็ น ก า ร
เฉพาะเจาะจง คื อ ใช้ บ งั คับกับ การสอบแข่ งขันในครัง้ นี้ ค รัง้ เดี ยว
เท่ านัน้ มิได้ใช้ บงั คับกับการสอบครัง้ ต่ อไปอี ก ประกาศดังกล่าวจึง
ไม่มีลกั ษณะเป็ นกฎที่ เป็ นบทบัญญัติที่มีผลใช้ บงั คับเป็ นการทัวไป
่
โดยไม่มุ่งหมายให้ ใช้ บงั คับแก่กรณี ใดหรือบุคคลใดเป็ นการเฉพาะ
แต่มีลกั ษณะเป็ นคาสังทางปกครองทั
่
วไป
่ ซึ่ งแตกต่างจากคาสังทาง
่
ปกครองที่ ม่งุ สร้างนิติสมั พันธ์ระหว่างบุคคลเฉพาะเรื่องเฉพาะกรณี
และสามารถระบุตวั บุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้รบั คาสังได้
่ อย่างแน่ นอน
(คาสังศาลปกครองสู
่
งสุดที่ 177-178/2551)
45
หลักการสาคัญ
ในการพิจารณาทางปกครอง
ตามกฎหมายว่ าด้ วยวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง
46
หลักการสาคัญในการพิจารณาทางปกครอง
1. เจ้ าหน้ าที่ต้องมีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมาย
2. เจ้ าหน้ าที่ที่มีอานาจหน้ าที่พจิ ารณาทางปกครองต้ องมี
ความเป็ นกลาง ซึ่งกฎหมายว่ าด้ วยวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครองได้ กาหนดความไม่ เป็ นกลางของเจ้ าหน้ าที่
ไว้ 2 กรณี คือ
2.1 ความไม่ เป็ นกลางโดยสภาพภายนอก (มาตรา 13)
2.2 ความไม่ เป็ นกลางโดยสภาพภายใน
(หรือโดยทางสาระ) (มาตรา 16)
((มี
47
3. การให้ คู่กรณีมโี อกาสทีจ่ ะได้ ทราบข้ อเท็จจริงอย่ าง
เพียงพอและมีโอกาสได้ โต้ แย้ งและแสดง
พยานหลักฐานของตน (มาตรา 30 วรรคหนึ่ง) และ
ข้ อยกเว้ นที่ไม่ ต้องให้ โอกาส (มาตรา 30 วรรคสอง)
4. การให้ เหตุผลในคาสั่ งทางปกครอง (มาตรา 37)
5. การแจ้ งสิ ทธิอทุ ธรณ์ หรือโต้ แย้ งคาสั่ ง
ทางปกครอง (มาตรา 40)
48
การมอบอานาจ
49
ความหมายของการมอบอานาจ
การมอบอานาจ คือ การกระจาย
การปฏิบตั ิ ราชการตามกฎหมาย เพื่อให้
ผู้ดารงตาแหน่ งที่ มีความเหมาะสมและ
ใกล้ ชิด กับ เรื่ อ งที่ จ ะต้ อ งปฏิ บ ตั ิ ร าชการ
เรื่องนัน้ เป็ นผูใ้ ช้อานาจแทน
50
วัตถุประสงค์ ของการมอบอานาจ
1. อานวยความสะดวก และสนองความต้องการ
ของประชาชน
2. คุ้มค่า รวดเร็ว มีประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิ
ราชการ
3. กระจายอานาจการตัดสินใจและความรับผิดชอบ
4. ไม่เพิ่มขัน้ ตอน ระยะเวลา และไม่ผา่ นการ
พิจารณาของผูด้ ารงตาแหน่ งต่างๆ เกินความ
จาเป็ น
51
การมอบอานาจ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่ นดิน พ.ศ. 2534 แก้ ไขเพิม่ เติม
โดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน
(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
1. การมอบอานาจการปฏิบัติราชการทัว่ ไป
(มาตรา 38 วรรคหนึ่ง)
2. การมอบอานาจการอนุญาต
(มาตรา 38 วรรคสาม)
52
การมอบอานาจการปฏิบตั ิ ราชการทัวไป
่
1. ความหมายของการปฏิบตั ิ ราชการทัวไป
่
การปฏิบตั ิ ราชการทัวไป
่ หมายถึง การปฏิบตั ิ ราชการ
ของแต่ละส่วนราชการไม่ว่าจะเป็ นการบริหารงานบุคคล
การบริหารงานคลัง การบริหารราชการทัวไปของส่
่
วนราชการ
การปฏิบตั ิ ราชการในความรับผิดชอบของส่วนราชการ
การปฏิบตั ิ ราชการแทนหัวหน้ าส่วนราชการในกิจการภายนอก
และรวมไปถึงการปฏิบตั ิ ราชการต่างๆ ตามที่กฎหมาย กฎ คาสัง่
และระเบียบปฏิบตั ิ ราชการให้ผด้ ู ารงตาแหน่ งใดในส่วนราชการ
ต้องปฏิบตั ิ
* กรณี ที่เป็ นการปฏิบตั ิ ราชการทัวไป
่ ผูม้ ีอานาจหน้ าที่
ในการปฏิบตั ิ ราชการนัน้ สามารถมอบอานาจให้ผด้ ู ารง
ตาแหน่ งอื่นปฏิบตั ิ ราชการแทนได้ทงั ้ สิ้น
53
ตัวอย่าง
คาวินิจฉัยคณะกรรมการกฤษฎีกา ที ่ 129/2550 กรณี วินิจฉัยว่า
เป็ นการปฏิบตั ิ ราชการทัวไป
่
เมื่ออานาจในการสังให้
่ เจ้าของวัตถุหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องกับ
การก่อให้เกิดหรืออาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อสภาวะความ
เป็ นอยู่ที่เหมาะสมกับการดารงชีพของประชาชน ซึ่งจาเป็ นต้องมีการ
แก้ไขโดยเร่งด่วน ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
ิ บดีกรม
พ.ศ. 2535 เป็ นอานาจการปฏิบตั ิ ราชการโดยทัวไปของอธ
่
อนามัย และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มิได้กาหนด
เรื่องการมอบอานาจไว้เป็ นอย่างอื่น และมิได้ห้ามเรื่องการมอบอานาจ
ไว้ การที่อธิบดีกรมอนามัยได้ออกคาสังกรมอนามั
่
ย ที่ 1032/2547
มอบอานาจในการสังระงั
่ บเหตุตามมาตรา 8 ให้แก่
ผูว้ ่าราชการจังหวัดปฏิบตั ิ ราชการแทน จึงกระทาได้
54
2. ข้อจากัดการมอบอานาจ
(1) กฎหมาย กฎ คาสัง่ หรือระเบียบ
ปฏิบตั ิ ราชการกาหนดเรือ่ งการมอบ
อานาจไว้เป็ นอย่างอื่น
(2) กฎหมาย กฎ คาสัง่ หรือระเบียบ
ปฏิบตั ิ ราชการห้ามเรือ่ งการมอบอานาจไว้
55
ตัวอย่าง
คาวินิจฉัยคณะกรรมการกฤษฎีกาที ่ 850/2550 กรณี วินิจฉัยว่ามีกฎหมาย
กาหนดเรือ่ งการมอบอานาจไว้เป็ นอย่างอืน่
การที่มาตรา 25 (1) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 บัญญัติให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดหรือรองผูว้ ่าราชการ
จังหวัดซึ่งได้รบั มอบหมายเป็ นประธานกรรมการพนักงานส่วนตาบลนัน้
ถือได้ว่าเป็ นกรณี ที่มีกฎหมายกาหนดเรื่องการมอบอานาจไว้เป็ นอย่างอื่น
ผูว้ ่าราชการจังหวัดจึงไม่อาจอาศัยอานาจตามมาตรา 38 (9) แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มอบอานาจให้
ผูด้ ารงตาแหน่ งอื่นนอกจากรองผูว้ ่าราชการจังหวัด เป็ นประธานกรรมการ
แทนได้ เว้นแต่ ผูด้ ารงตาแหน่ งอื่นจะทาหน้ าที่ในฐานะผูร้ กั ษาราชการแทน
ผูว้ ่าราชการจังหวัดตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งทาให้ผรู้ กั ษาราชการแทนมีอานาจหน้ าที่เป็ น
กรรมการเช่นเดียวกันกับผูว้ ่าราชการจังหวัดตามที่กฎหมายกาหนด การที่
ผูว้ ่าราชการจังหวัดลาพูนได้มอบอานาจให้ปลัดจังหวัดลาพูนเป็ นประธาน
56
จึงเป็ นการกระทาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
3. บุคคลที่เป็ นผูม้ อบอานาจและผูร้ บั มอบอานาจ
(1) บุคคลที่เป็ นผูม้ อบอานาจ ได้แก่ ผูด้ ารง
ตาแหน่ งทุกตาแหน่ งที่มีอานาจหน้ าที่ในการสัง่
การอนุญาต การอนุมตั ิ การปฏิบตั ิ ราชการ หรือ
การดาเนินการอื่นตามกฎหมาย กฎ คาสัง่ หรือ
ระเบียบปฏิบตั ิ ราชการ
(2) บุคคลที่เป็ นผูร้ บั มอบอานาจ ได้แก่
ผูด้ ารงตาแหน่ งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน
หรือส่วนราชการอื่น หรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
57
การมอบอานาจการอนุญาตตามกฎหมาย
1. ลักษณะการอนุญาตตามกฎหมาย
(1) การอนุญาตประกอบกิจการ
(2) การอนุญาตกระทาการ
58
2. หลักเกณฑ์การอนุญาต
2.1 เรื่องที่จะมอบอานาจ
(1) เรื่องที่กฎหมายบัญญัติให้ผด้ ู ารง
ตาแหน่ งใดเป็ นผูอ้ อกใบอนุญาต
ในกิจการใดๆ
(2) เรื่องที่กฎหมายบัญญัติผม้ ู ีอานาจ
ไว้เป็ นการเฉพาะเจาะจง และลักษณะ
การอนุญาตจะมีผลเช่นเดียวกับการ
ออกใบอนุญาต
59
2.2 ผูท้ ี่มีอานาจมอบอานาจการอนุญาตตามกฎหมาย
(1) ผูด้ ารงตาแหน่ งที่กฎหมายบัญญัติไว้เป็ นการ
เฉพาะให้เป็ นผูอ้ อกใบอนุญาตหรืออกคาสังอนุ
่ ญาต
(2) ผูด้ ารงตาแหน่ งที่มีอานาจอนุญาตตาม
กฎหมายที่จะมอบอานาจในฐานะเป็ นผูแ้ ทนส่วน
ราชการ เช่น รัฐมนตรี ปลัดกระทรวงหรืออธิบดี
60
2.3 ผูด้ ารงตาแหน่ งที่จะรับมอบอานาจ
(1) ข้าราชการซึ่งเป็ นผูใ้ ต้บงั คับบัญชาของผูด้ ารง
ตาแหน่ งผูม้ ีอานาจอนุญาตตามกฎหมาย
(2) ผูว้ ่าราชการจังหวัด
2.4 ข้อจากัดการมอบอานาจ
(1) กรณี ที่กฎหมายบัญญัติการมอบอานาจไว้
เป็ นอย่างอื่น
(2) กรณี ที่กฎหมายบัญญัติห้ามการมอบอานาจ
61
วิธีการมอบอานาจ
การมอบอานาจต้องทาเป็ นหนังสือ เพื่อให้มี
หลักฐานแสดงว่ามีการมอบอานาจให้ผใู้ ดเป็ น
ผูป้ ฏิบตั ิ ราชการแทน เนื่ องจากการมอบอานาจ
ให้ปฏิบตั ิ ราชการแทนเป็ นการมอบอานาจเพื่อให้
สังการ
่
อนุญาต อนุมตั ิ หรือดาเนินการใดๆ ที่มีผล
ผูกพันตามกฎหมาย
62
การมอบอานาจให้ผด้ ู ารงตาแหน่ งอื่น
ปฏิบตั ิ ราชการแทนต่อไป
(มอบอานาจช่วง)
เมื่อมีการมอบอานาจแล้ว ผูร้ บั มอบอานาจมีหน้ าที่
ต้องรับมอบอานาจนัน้ โดยผูม้ อบอานาจจะกาหนดให้
ผูร้ บั มอบอานาจมอบอานาจให้ผดู้ ารงตาแหน่ งอื่นปฏิบตั ิ
ราชการแทนต่อไป โดยจะกาหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไข
การใช้อานาจนัน้ ไว้ด้วยหรือไม่กไ็ ด้ แต่ในกรณี การมอบ
อานาจให้ผวู้ ่าราชการจังหวัด คณะรัฐมนตรีจะกาหนด
หลักเกณฑ์ให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดต้องมอบอานาจต่อไป
ให้รองผูว้ ่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด หรือหัวหน้ าส่วน
ราชการที่เกี่ยวข้องในจังหวัดก็ได้ (มาตรา 39)
63
หน้ าที่ของผูม้ อบอานาจและผูร้ บั มอบอานาจ
ในการมอบอานาจ ให้ผม้ ู อบอานาจพิจารณาถึง
การอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ความรวดเร็ว
ในการปฏิบตั ิ ราชการ การกระจายความรับผิดชอบตาม
สภาพของตาแหน่ งของผูร้ บั มอบอานาจ และผูร้ บั มอบอานาจ
ต้องปฏิบตั ิ หน้ าที่ที่ได้รบั มอบอานาจตามวัตถุประสงค์
ของการมอบอานาจดังกล่าว เมื่อได้มอบอานาจแล้ว
ผูม้ อบอานาจมีหน้ าที่กากับดูแลและติดตามผลการปฏิบตั ิ
ราชการของผูร้ บั มอบอานาจ และให้มีอานาจแนะนาหรือ
แก้ไขการปฏิบตั ิ ราชการของผูร้ บั มอบอานาจได้ (มาตรา 40)
64
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอานาจ พ.ศ. 2550
มาตรา 7 ในการมอบอานาจ ให้ผมู้ อบอานาจดาเนินการ
ดังต่อไปนี้
(1) วางหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการใช้อานาจของผูร้ บั มอบอานาจ
(2) จัดให้มีระบบการตรวจสอบและการรายงานผลการใช้อานาจ
ของผูร้ บั มอบอานาจ
(3) กากับดูแล และแนะนาการใช้อานาจของผูร้ บั มอบอานาจ
(4) จัดทาบัญชีการมอบอานาจเสนอผูบ้ งั คับบัญชา
เมื่อมีการมอบอานาจแล้ว หากผูม้ อบอานาจเห็นว่าผูร้ บั มอบ
อานาจใช้อานาจที่รบั มอบโดยไม่ถกู ต้องหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหาย
ผูม้ อบอานาจอาจมีคาสังแก้
่ ไขการปฏิบตั ิ ราชการของผูร้ บั มอบอานาจหรือ
ให้ผรู้ บั มอบอานาจหยุดการปฏิบตั ิ ราชการไว้ก่อน และผูม้ อบอานาจเป็ น
ผูใ้ ช้อานาจนัน้ โดยตรงก็ได้
65
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอานาจ พ.ศ. 2550
มาตรา 26 วรรคหนึ่ ง เมื่อมี การมอบอ านาจตามมาตรา 23
แล้ว ให้ผ้วู ่าราชการจังหวัดมีอานาจหน้ าที่ กากับดูแลการปฏิบตั ิ งาน
ของผู้รบั มอบอานาจให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการมอบอานาจ
นัน้ และในกรณี ที่เห็นว่าผู้รบั มอบอานาจได้ใช้อานาจปฏิบตั ิ ราชการ
แทนโดยไม่ ถ กู ต้ อ งหรื อ อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายผู้ว่ า ราชการ
จังหวัดอาจมีคาสังแก้
่ ไขการปฏิบตั ิ ราชการของผู้รบั มอบอานาจหรือ
ให้ ผ้รู บั มอบอานาจหยุดการปฏิบตั ิ ราชการดังกล่ าวไว้ ก่อน และให้
ผูว้ ่าราชการจังหวัดเป็ นผูใ้ ช้อานาจในเรื่องนัน้ โดยตรงก็ได้
66
การใช้อานาจตามกฎหมายในความรับผิดของ
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ
่
ษย์
ซึง่ อาจมีการมอบอานาจให้ผอู้ ืน่
ปฏิบตั ิ ราชการแทนได้
67
1. พระราชบัญญัติค้มุ ครองเด็ก พ.ศ. 2546
(1) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี สงให้
ั ่ ส่งเด็กเข้ารับการสงเคราะห์ตามมาตรา
33 วรรคหนึ่ ง (4) (5) (6) หรือ (7) โดยผูป้ กครอง
ไม่ยินยอม (มาตรา 33 วรรคสอง)
(2) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
ในการกาหนดระยะเวลาในการสงเคราะห์เด็ก
ตามมาตรา 33 วรรคหนึ่ ง (4) (5) (6) หรือ (7)
และการขยายระยะเวลาหรือย่นระยะเวลาที่
กาหนดไว้แล้วกรณี มีพฤติการณ์ เปลี่ยนแปลงไป
(มาตรา 33 วรรคสาม)
68
(3) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี สงให้
ั ่ เด็กพ้นจากการสงเคราะห์ และ
มอบตัวเด็กให้แก่ผป้ ู กครองรับไปปกครอง
ดูแล (มาตรา 33 วรรคสี)่
(4) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี สงให้
ั ่ บคุ คลที่ได้รบั การสงเคราะห์ที่มีอายุครบ 18
ปี บริบรู ณ์แต่ยงั อยู่ในสภาพที่จาเป็ นจะต้องได้รบั
การสงเคราะห์ต่อไป ยังคงได้รบั การสงเคราะห์ต่อไป
จนอายุ 20 ปี บริบรู ณ์กไ็ ด้ หรือให้สงเคราะห์ต่อไป
ตามความจาเป็ นและสมควร แต่ทงั ้ นี้ ต้องไม่เกินเวลา
ที่บคุ คลนัน้ มีอายุครบ 20 ปี บริบรู ณ์
(มาตรา 33 วรรคห้า)
69
(5) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี สงให้
ั ่ ใช้มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กตาม
หมวด 4 การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก หากปรากฏว่า
เด็กที่อยู่ในระหว่างได้รบั การสงเคราะห์ตามมาตรา 33
(2) (4) หรือ (6) เป็ นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทาผิดและ
พึงได้รบั การคุ้มครองสวัสดิภาพ (มาตรา 36)
(6) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี สงการเกี
ั่
่ยวกับวิธีการสงเคราะห์หรือคุม้ ครอง
สวัสดิภาพเด็กแต่ละคน (มาตรา 37)
70
(7) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี มีคาสังแต่
่ งตัง้ พนักงานเจ้าหน้ าที่ นักสังคม
สงเคราะห์หรือบุคคลที่สมัครใจและมีความเหมาะสม
เป็ นผูค้ ้มุ ครองสวัสดิภาพเด็กเพื่อกากับดูแล
(มาตรา 48)
(8) อานาจปลัดกระทรวงและผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี สงให้
ั ่ จดั ตัง้ สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ
สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และ
สถานพัฒนาและฟื้ นฟู โดยปลัดกระทรวงมีอานาจ
จัดตัง้ ได้ทวราชอาณาจั
ั่
กร และผูว้ ่าราชการจังหวัด
มีอานาจจัดตัง้ ได้ภายในเขตจังหวัดของตน
(มาตรา 51 วรรคหนึ ง่ )
71
(9) อานาจของปลัดกระทรวงหรือผูว้ ่าราชการจังหวัด
กรณี มีคาสังอนุ
่ ญาตให้ผใ้ ู ดเป็ นผูไ้ ด้รบั อนุญาตจัดตัง้
สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์
สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้ นฟู
(มาตรา 52 วรรคหนึ ง่ )
(10) อานาจปลัดกระทรวงและผูว้ ่าราชการจังหวัด
ในการแต่งตัง้ หรือถอดถอนผูป้ กครองสวัสดิภาพ
ของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครอง
สวัสดิภาพและสถานพัฒนาและฟื้ นฟู (มาตรา 55)
72
2. พระราชบัญญัติการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม พ.ศ.2522
(1) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กรณี มีคาสังอนุ
่ ญาตหรือไม่อนุญาตให้องค์การ
สวัสดิภาพเด็กได้รบั ใบอนุญาตดาเนินการ
เพื่อให้มีการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม หรือ
มีคาสังเพ
่ ิ กถอนใบอนุญาตดังกล่าว
(มาตรา 7 วรรคหนึ ง่ และมาตรา 8)
(2) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
หรือผูว้ ่าราชการจังหวัด ในการมีคาสังไม่
่ อนุญาต
หรืออนุญาตให้ผข้ ู อรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
ทดลองเลีย้ งดูเด็ก (มาตรา 22 และมาตรา 23)
73
(3) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
หรือผูว้ ่าราชการจังหวัด ในกรณี มีคาสังเป็
่ นหนังสือ
แจ้งให้ผข้ ู อรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรมนาเด็กไป
มอบคืนตามกาหนด โดยให้คานึ งถึงระยะทาง
ความสะดวกในการนาเด็กไปมอบ และสวัสดิภาพ
ของเด็ก (มาตรา 24 วรรคสอง)
(4) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
หรือผูว้ ่าราชการจังหวัด ในการมีคาสังให้
่ ยกเลิก
คาขอรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
(มาตรา 25 วรรคหนึ ง่ )
74
(5) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในกรณี มีคาสังให้
่ เลิกการทดลองเลีย้ งดูบตุ รบุญธรรม
กรณี ผร้ ู บั เด็กเป็ นบุตรบุญธรรมไม่เหมาะสมที่จะรับ
เด็กเป็ นบุตรบุญธรรม (มาตรา 26 วรรคหนึ ง่ )
(6) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในการมีคาสังให้
่ ผข้ ู อรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรมมอบ
เด็กคืนแก่บคุ คลผูม้ ีอานาจให้ความยินยอมในการ
รับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม บิดา มารดา ผูป้ กครอง
หรือพนักงานเจ้าหน้ าที่ กรณี คณะกรรมการรับเด็ก
เป็ นบุตรบุญธรรมมีคาสังไม่
่ อนุมตั ิ ให้รบั เด็กเป็ น
บุตรบุญธรรม (มาตรา 28 วรรคหนึ ง่ )
75
3. พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
พ.ศ.2539
(1) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในการมีคาสังอนุ
่ ญาต หรือไม่อนุญาตให้มลู นิธิ
สมาคม หรือสถาบันอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ตัง้ สถานแรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชี พ
(มาตรา 26 และมาตรา 27)
(2) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในการกาหนดท้องที่ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของสถาน
แรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพที่จดั ขึน้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 28)
76
(3) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในกรณี มีคาสังเป็
่ นหนังสือให้มลู นิธิ สมาคม หรือ
สถาบันอื่นที่ได้รบั อนุญาตตัง้ สถานแรกรับหรือ
สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพที่ฝ่าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิ
ตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับของทางราชการ
ระงับการกระทา ปรับปรุง แก้ไข หรือปฏิบตั ิ ให้ถกู ต้อง
ตามที่แจ้งไปภายในเวลาที่กาหนด หรือเพิกถอน
ใบอนุญาต (มาตรา 29)
77
4. พระราชบัญญัติมาตรการในการป้ องกันและปราบปราม
การค้าหญิงและเด็ก พ.ศ.2540
(1) อานาจของผูบ้ ญ
ั ชาการตารวจแห่งชาติหรือผูท้ ี่
ผูบ้ ญ
ั ชาการตารวจแห่งชาติมอบหมายสาหรับใน
เขตกรุงเทพมหานคร หรือผูว้ ่าราชการจังหวัดหรือผูท้ ี่
ผูว้ ่าราชการจังหวัดมอบหมายสาหรับในเขตจังหวัดอื่น
กรณี อนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้ าที่ทาการตรวจค้น
สถานที่ในเวลากลางคืน (มาตรา 9 (3))
(2) อานาจของผูบ้ ญ
ั ชาการตารวจแห่งชาติสาหรับในเขต
กรุงเทพมหานคร หรือผูว้ ่าราชการจังหวัดสาหรับในเขต
จังหวัดอื่น กรณี อนุมตั ิ ให้กกั ตัวหญิงหรือเด็กไว้เกินกว่า
24 ชัวโมง
่
แต่ไม่เกิน 10 วัน (มาตรา 10 วรรคสอง)
78
5. พระราชบัญญัติจดั ทีด่ ิ นเพือ่ การครองชีพ พ.ศ.2511
(1) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กรณี อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้สมาชิกนิคมเข้าทา
ประโยชน์ ในที่ดินของนิคมตามกาลังแห่งครอบครัว
ของสมาชิกนิคมนัน้ แต่ไม่เกินครอบครัวละ 50 ไร่
(มาตรา 8)
(2) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กรณี อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้สมาชิกนิคม
ทาประโยชน์ อย่างอื่นนอกเหนื อจากการใช้ที่ดิน
เพื่อทาการเกษตร (มาตรา 9)
79
(3) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในการกาหนดจานวนเงินที่สมาชิกนิคมจะต้องจ่าย
เพื่อช่วยทุนที่รฐั บาลได้ลงไปในการจัดนิคม และ
การอนุมตั ิ ให้ผอ่ นชาระ (มาตรา 10)
(4) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
หรือผูซ้ ึ่งอธิบดีมอบหมาย กรณี อนุญาตหรือ
ไม่อนุญาตให้สมาชิกนิคมผูใ้ ดไปจาก
นิคมเกิน 6 เดือน (มาตรา 13)
80
(5) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กรณี อนุญาต หรือไม่อนุญาตผูใ้ ดเข้าไปหาประโยชน์
ยึดถือ ครอบครองปลูกสร้าง ก่น สร้าง แผ้วถาง เผาป่ า
หรือทาด้วยประการใดๆ อันเป็ นการทาลายหรือทาให้
เสื่อมสภาพดิน หรือทาให้เป็ นอันตรายแก่ทรัพยากร
ธรรมชาติในที่ดินภายในเขตของนิคม และเรียกเงิน
ค่าบารุงในการอนุญาต (มาตรา 15 และมาตรา 16)
(6) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กรณี มีคาสังให้
่ ผท้ ู ี่ไม่มีสิทธิครอบครองหรืออาศัยใน
ที่ดินภายในเขตของนิคมโดยชอบด้วยกฎหมายรือ้ ถอน
ขนย้ายสิ่งปลูกสร้าง และสิ่งอื่นออกจากนิคมภายใน
30 วัน นับแต่วนั ที่ทราบคาสัง่ (มาตรา 18 วรรคหนึ ง่ )
81
(7) อานาจของอธิบดีหรือผูซ้ ึ่งอธิบดีมอบหมาย ในการ
เข้ารือ้ ถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากที่ดินของนิคม
(มาตรา 18 วรรคสอง)
(8) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการหรือ
ผูซ้ ึ่งอธิบดีมอบหมายในการออกหนังสืออนุญาตให้
สมาชิกนิคมเข้าทาประโยชน์ ในที่ดินและสังให้
่ อพยบ
ครอบครัวเข้าอยู่ประจาในที่ดินภายใน 60 วัน นับแต่
วันที่รบั มอบที่ดินและออกประกาศยกเลิกหนังสือ
อนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ ในที่ดินที่ออกไห้
(มาตรา 24 และมาตรา 25)
82
(9) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในการมีคาสังให้
่ ขยายระยะเวลาทาประโยชน์ ต่อไป
คราวละ 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี (มาตรา 26)
(10) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ในการสังให้
่ สมาชิกนิคมสร้างตนเองออกจากนิคม
(มาตรา 28)
(11) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการหรือ
ผูซ้ ึ่งอธิบดีมอบหมาย ในการออกประกาศเพิกถอนการ
เป็ นสมาชิกนิคมสร้างตนเอง และหนังสืออนุญาตให้เข้า
ทาประโยชน์ ในที่ดิน (มาตรา 29 วรรคสอง)
83
6. พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พุทธศักราช พ.ศ.2484
(1) อานาจของอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
หรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายในการมีคาสังปล่
่ อยตัวผูท้ ี่ถกู
ส่งไปยังสถานสงเคราะห์ซึ่งมีที่อาศัยและทางดารงชีพ
พอสมควรแก่อตั ตภาพ (มาตรา 9 วรรคสอง)
(2) อานาจของอธิบดีหรือผูท้ ี่อธิบดีมอบหมาย ในการสังให้
่
ผูท้ ี่อยู่ในสถานสงเคราะห์ทาการงานตามที่เห็นสมควร
หรือจะส่งไปทาการงานที่อื่นก็ได้ (มาตรา 10)
84
7. พระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ.2507
(1) อานาจของนายทะเบียน ในการอนุญาตหรือ
ไม่อนุญาตให้ตงั ้ หอพัก (มาตรา 7) และการต่อ
หรือไม่ต่อใบอนุญาตหอพัก (มาตรา 12)
(2) อานาจของนายทะเบียน ในการอนุญาตหรือ
ไม่อนุญาตให้เป็ นผูจ้ ดั การหอพัก (มาตรา 19)
และการต่อหรือไม่ต่ออายุใบอนุญาตให้เป็ น
ผูจ้ ดั การหอพัก (มาตรา 22)
85
8. พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการ พ.ศ.2550
อานาจของเลขาธิการสานักงานส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ในการมีคาสัง่
เป็ นหนังสือให้อายัดทรัพย์สินของนายจ้างหรือเจ้าของ
สถานประกอบการ ซึง่ ไม่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุน
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
(มาตรา 36 วรรคหนึ ง่ )
86
9. พระราชบัญญัติการฌาปนกิจสงเคราะห์ พ.ศ.2545
(1) อานาจของนายทะเบียนฌาปนกิจสงเคราะห์ประจา
ท้องที่ที่จะตัง้ สานักงานที่ทาการของสมาคมฌาปนกิจ
สงเคราะห์ ในการมีคาสังรั
่ บและไม่รบั จดทะเบียน
และออกใบสาคัญการจดทะเบียน (มาตรา 11)
(2) อานาจของนายทะเบียนฯ ในการมีคาสังรั
่ บและ
ไม่รบั จดทะเบียนการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของ
สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ (มาตรา 16 วรรคสาม)
(3) อานาจของนายทะเบียนฯ ในการออกใบแทน
ใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน (มาตรา 18)
87
(4) อานาจของนายทะเบียนฯ ในการมีคาสังเป็
่ นหนังสือ
ให้คณะกรรมการดาเนินการสมาคมฌาปนกิจ
สงเคราะห์หรือกรรมการฯ ให้ปฏิบตั ิ การ (มาตรา 44)
(5) อานาจของนายทะเบียนฯ ในการมีคาสังแต่
่ งตัง้
คณะกรรมการฯ ชัวคราว
่
(มาตรา 45)
(6) อานาจของนายทะเบียนฯ ในการมีคาสังแต่
่ งตัง้
สมาชิกคนใดคนหนึ ง่ เป็ นกรรมการแทนกรรมการ
ทีพ่ ้นจากตาแหน่ ง (มาตรา 46 วรรคหนึ ง่ )
และการแต่งตัง้ กรรมการชัวคราวให้
่
ครบ
จานวน 7 คน (มาตรา 46 วรรคสอง)
88
(7) อานาจของนายทะเบียนฯ ในการมีคาสัง่
เลิกสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ (มาตรา 44)
(5) อานาจของนายทะเบียนฯ ในการแต่งตัง้
ผูช้ าระบัญชีสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
(มาตรา 56)
89
กรณี ศึกษาคดีปกครอง
90
1.รถยนต์ของทางราชการสูญหาย
จากการไม่เก็บรักษาไว้ที่ส่วนราชการ
91
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด
คดีหมายเลขแดงที่ อ.231/2549
1. ประเด็นพิพาท
ผู้ฟ้องคดีฟ้องขอให้ เพิกถอนคาสั่ งของ
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 (สานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ) ทีใ่ ห้ ผู้ฟ้องคดีชดใช้ เงิน
กรณีรถยนต์ ของทางราชการสู ญหาย
92
2. ข้ อเท็จจริง
2.1 เมื่ อ วั น ที่ 2 กรกฎาคม 2540 เวลา 17.00 นาฬิ กา นาย ส.
พนักงานขับรถได้ ขับรถยนต์ ตู้ของศู นย์ ฝึกวิชาชี พจังหวัดกาญจนบุรี
พาผู้ฟ้องคดี (ผู้อานวยการศู นย์ ) และคณะไปราชการนิเทศติ ดตาม
กลุ่มการเรี ย นในสั ง กัด และเดิน ทางกลับถึง ศู น ย์ ฝึ กวิช าชี พฯ เวลา
ประมาณ 19.30 นาฬิ กา จากนั้น ผู้ฟ้องคดีนัดแนะให้ คณะเจ้ าหน้ าที่ไป
ร่ ว มรั บ ประทานอาหารโดยให้ น าย ส. ขั บ รถพาคณะบางส่ วนไป
รั บ ประทานอาหารร่ ว มกัน ที่ ร้ า นอาหาร จนกระทั่ ง เวลาประมาณ
20.30 นาฬิ ก า จึ ง แยกย้ า ยกัน กลับ บ้ า น ซึ่ ง นาย ส. ได้ ขั บ รถไปส่ ง
ครู ส ตรี ที่ ไ ม่ มี พ าหนะกลั บ บ้ า นโดยส่ งเสร็ จ เวลาประมาณ 21.45
นาฬิ กา จากนั้ น นาย ส. ได้ ขั บ รถไปจอดที่ บ้ า นพั ก ของนาย ส.
เมื่ อ เวลาประมาณ 22.10 นาฬิ กา ซึ่ ง อยู่ ห่ า งจากศู น ย์ ฝึ กวิ ช าชี พ ฯ
ประมาณ 16 กิโลเมตร
93
2.2 ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2540 เวลา 04.00 นาฬิ กา นาย ส. ได้ ไปดูรถที่จอดไว้ แต่
ไม่ พบ จึ ง ไ ด้ แจ้ งความต่ อพนั กงานสอบสวนและรายงานให้ ผู้ ฟ้ องคดี
ทราบ ต่ อมา ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 (สานักงานปลัดกระทรวงศึ กษาธิการ) ได้ มีคาสั่ งที่
50/2540 ลงวันที่ 15 กันยายน 2540 แต่ งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้ อเท็จจริ งความ
รั บ ผิ ด ทางละเมิ ด ซึ่ ง คณะกรรมการสอบสวนฯ มี ค วามเห็ น ว่ า บุ ค คลที่ ต้ อง
รับผิดชอบมี 3 คน คือ นาย บ. เจ้ าหน้ าที่พัสดุยานพาหนะของศู นย์ ฝึกวิชาชีพฯ รั บ
ผิ ด ครึ่ งส่ วน ผู้ ฟ้ องคดี รั บผิ ด หนึ่ ง ส่ วนครึ่ ง และนาย ส. รั บผิ ด สองส่ วน
ผู้ ถู ก ฟ้ องคดี ที่ 1 พิจ ารณาแล้ ว เห็ น ด้ ว ยกับ ความเห็ น ของคณะกรรมการฯ และ
รายงานผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2(กระทรวงการคลัง) พิจารณา ซึ่ งผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 พิจารณา
แล้ ว เห็ น ว่ า ผู้ ที่ ต้ อ งร่ ว มกัน รั บ ผิ ด ชดใช้ ค่ า เสี ย หายแก่ ท างราชการ คือ ผู้ ฟ้ องคดี
และนาย ส. ส่ วนนาย บ. ไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ผู้ ถู ก ฟ้ องคดี ที่ 1 จึ ง มี ห นั ง สื อ ลงวั น ที่ 7
เมษายน 2543 แจ้ งให้ ผ้ ูฟ้องคดีและนาย ส. นาเงินจานวน 650,000 บาท มาชดใช้
ภายใน 30 วันนับแต่ วนั ได้ รับหนังสื อ
94
3. ข้ อกฎหมาย
ระเบียบสานักนายรัฐมนตรี ว่ าด้ วยรถราชการ พ.ศ. 2523
ข้ อ 16 การเก็ บ รั ก ษารถประจ าต าแหน่ ง ให้ อ ยู่ ใ นความ
ควบคุมและความรับผิดชอบของผู้ดารงตาแหน่ ง
การเก็บรักษารถส่ วนกลาง รถรับรองและรถรับรองประจา
จังหวัดให้ อยู่ในความควบคุมและรับผิดชอบของส่ วนราชการ โดย
เก็บรักษาในสถานทีเ่ ก็บหรือบริเวณของส่ วนราชการ
สาหรั บรถส่ วนกลาง หั วหน้ าส่ วนราชการหรื อผู้ที่ได้ รับ
มอบอานาจจากหัวหน้ าส่ วนราชการจะพิจารณาอนุญาตให้ นารถไป
ที่อนื่ เป็ นการชั่วคราวหรือเป็ นครั้งคราวได้ ในกรณีต่อไปนี้ คือ
(1) ส่ วนราชการไม่ มีสถานที่เก็บรักษาปลอดภัยเพียงพอ
(2) มีราชการจาเป็ นและเร่ งด่ วนหรือการปฏิบัติราชการลับ
(มีต่อ ข้ อ 16 ทวิ..)
95
ข้ อ 16 ทวิ การอนุ ญาตให้ นารถส่ วนกลางไปเก็บรั กษาที่อื่น
เป็ นการชั่ วคราวอันเนื่ องมาจากส่ วนราชการไม่ มีสถานที่เก็ บรั กษา
ปลอดภั ย เพี ย งพอ ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการเก็ บ รั ก ษารถ
ส่ วนกลางจัดทารายงานขออนุญาต พร้ อมด้ วยเหตุผลความจาเป็ นและ
รายละเอียดของสถานที่ที่จะนารถส่ วนกลาไปเก็บรักษา ซึ่งแสดงให้ ได้
อย่ างชั ดเจนว่ ามีความปลอดภัยเพียงพอเสนอประกอบการพิจารณา
ของผู้มีอานาจอนุญาตด้ วยทุกครั้ง
เมื่อได้ รับอนุญาตตามวรรคหนึ่งแล้ ว ให้ ส่วนราชการรายงาน
ผู้รักษาตามระเบียบและสานักงานตรวจเงินแผ่ นดินทราบ
96
4. คาวินิจฉัยของศาลปกครองชั้นต้ น
4.1 การที่นาย ส. ไม่ นารถยนต์ ไปเก็บรักษาไว้ ที่ศูนย์ ฝึกวิชาชี พฯ
แต่ นาไปจอดไว้ ที่บ้านพักของนาย ส. ซึ่งบริเวณบ้ านพักไม่ มีร้ัวและไม่
มีประตูเปิ ด-ปิ ด และอยู่ใกล้ กับถนนหลวงซึ่งเสี่ ยงต่ อการสู ญหาย เมื่อ
รถสู ญหายไป จึงถือได้ ว่านาย ส. ซึ่งเป็ นพนักงานขับรถที่มีหน้ าที่ดูแล
รั ก ษารถยนต์ ของทางราชการไม่ ได้ ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บส านั ก
นายกรัฐมนตรี ว่ าด้ วยรถราชการ พ.ศ. 2523 และได้ กระทาด้ วยความ
ประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง จึงต้ องรับผิดชดใช้ ค่าเสี ยหายให้ แก่ ทาง
ราชการ
97
4.2 ส่ วนนาย บ. เจ้ าหน้ าที่พัสดุของศู นย์ ฝึกวิชาชี พฯ ไม่ ได้
ร่ วมเดินทางกับผู้ฟ้องคดีและคณะด้ วย ประกอบกับผู้ฟ้องคดี และ
คณะได้ เดินทางกลับถึงศู นย์ ฝึกวิชาชี พฯ เมื่อพ้ นเวลาราชการแล้ ว
และนาย บ. ไม่ ได้ รู้ เห็นในกรณีพนักงานขับรถยนต์ นารถไปเก็บไว้ ที่
บ้ านพัก จึงฟังได้ ว่าการที่รถยนต์ ของทางราชการสู ญหายไม่ ได้ เกิด
จากการกระทาด้ วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรงของ
น า ย บ . น า ย บ . จึ ง ไ ม่ ต้ อ ง รั บ ผิ ด ช ด ใ ช้ ค่ า เ สี ย ห า ย แ ก่
ทางราชการ การวินิจฉัยของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ในส่ วนนีจ้ ึงชอบแล้ว
98
4.3 การที่ผู้ ฟ้ องคดี ซึ่ ง เป็ นผู้ บัง คับ บั ญชามี ค าสั่ ง ให้ นาย ส.
ขับรถพาผู้ ฟ้องคดีและคณะไปราชการ เมื่อเดิน ทางกลับถึงศู นย์ ฝึ ก
วิชาชี พฯ ผู้ฟ้องคดีมีหน้ าที่ต้องควบคุมดูแลให้ นาย ส. นารถไปเก็บไว้
ในสถานที่ เ ก็ บ รั ก ษาของทางราชการ เมื่ อ นาย ส. ได้ ขั บ รถยนต์
ของทางราชการไปที่ร้านอาหารโดยที่ผู้ฟ้องคดีก็รับรู้ และได้ แวะไปที่
ร้ านอาหารด้ วย แม้ จะอ้ างว่ าไม่ ได้ ไปร่ วมรั บประทานด้ วยก็ ตาม แต่
จากพฤติการณ์ ของผู้ ฟ้องคดีป ระกอบกับข้ อเท็จจริ ง ที่ว่า ผู้ ฟ้องคดี
เคยอนุญาตด้ วยวาจาให้ นาย ส. นารถไปจอดไว้ ที่บ้านพักของนาย ส.
มาก่ อ น ย่ อ มแสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผู้ ฟ้ องคดี ล ะเลยต่ อ หน้ า ที่ ไ ม่ ค วบคุ ม
การรั กษารถของทางราชการให้ เป็ นไปตามข้ อ 16 และข้ อ 16 ทวิ ของ
ระเบี ย บส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ วยรถราชการ พ.ศ. 2523 การที่
รถยนต์ สูญหายจึงถือได้ ว่าเกิดจากความประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง
ของผู้ ฟ้ องคดี ด้ ว ย ผู้ ฟ้ องคดี จึ ง ต้ อ งรั บ ผิ ด ชดใช้ ค่ า เสี ย หายแก่ ท าง
ราชการ การทีผ่ ู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 วินิจฉัยว่ า ผู้ฟ้องคดีและนาย ส. ต้ องรับ
ผิดชดใช้ ค่าเสี ยหายแก่ทางราชการ จึงชอบด้ วยกฎหมายแล้ว
99
4.4 เมื่อรถยนต์ ของทางราชการสู ญหายเนื่องจากผู้ฟ้องคดี
และพนั กงานขับรถไม่ ถือปฏิบัติตามระเบียบสานักนายกรั ฐมนตรี
ว่ าด้ วยรถราชการ พ.ศ. 2523 การกระทาของผู้ฟ้องคดีและพนักงาน
ขับรถจึงเกิดจากการปฏิบัติหน้ าที่ราชการ การเรี ยกร้ องค่ าสิ นไหม
ทดแทนจากผู้ ฟ้ องคดี แ ละพนั ก งานขั บ รถจึ ง ต้ อ งด าเนิ น การตาม
มาตรา 8 แห่ งพระราชบัญญัติความรั บผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
พ.ศ. 2539 การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 พิจารณาให้ ผู้ฟ้องคดีและนาย ส.
ร่ วมกันชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนอย่ างลูกหนี้ร่วมตามบทบัญญัติแห่ ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จึงไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
100
4.5 เมื่ อพิจ ารณาถึ ง ระดั บ ความร้ า ยแรงแห่ ง การกระทาแล้ ว
เห็นว่ า ผู้ฟ้องคดีไม่ ได้ เป็ นผู้อออกคาสั่ งให้ นารถไปจอดไว้ ที่บ้านพักของ
นาย ส. เพีย งแต่ ไ ม่ ไ ด้ ค วบคุ มการเก็บรั กษาให้ เป็ นไปตามระเบีย บฯ
ผู้ฟ้องคดีจึงต้ องรับผิดตามสั ดส่ วนของความเสี ยหายเฉพาะส่ วนของตน
เท่ า นั้ น คื อ หนึ่ ง ส่ วนของค่ า เสี ย หายทั้ ง หมด เมื่ อ รถยนต์ ที่ สู ญ หาย
ซื้อมาเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2539 เป็ นเงิน 650,000 บาท สู ญหายไปเมื่อ
วันที่ 3 กรกฎาคม 2540 เมื่อคานวณค่ าเสื่ อมราคาจากการใช้ งานตาม
หลักเกณฑ์ ของทางราชการเป็ นเงิน 48,750 บาท คงเหลือค่ าเสี ยหายเป็ น
เงิน 601,250 บาท ผู้ฟ้องคดีจึงต้ องชดใช้ ค่าเสี ยหายส่ วนหนึ่งเป็ นเงิน
150,312.50 บาท
101
4.6 พิพากษาเพิก ถอนค าสั่ ง ของผู้ ถูก ฟ้องคดีที่ 1 ตามหนั ง สื อ
ลงวั น ที่ 7 เมษายน 2543 เฉพาะส่ วนที่ สั่ ง ให้ ผู้ ฟ้ องคดี รั บ ผิ ด ชดใช้
ค่ าเสี ยหายร่ วมกับนาย ส. อย่ างลูกหนีร้ ่ วม และส่ วนที่สั่งให้ ผู้ฟ้องคดีชดใช้
ค่ าเสี ยหายเกินกว่ า 150,312.50 บาท และให้ เพิกถอนความเห็นของผู้ถูก
ฟ้ องคดี ที่ 2 ตามหนั ง สื อลงวั น ที่ 30 มี น าคม 2543 เฉพาะส่ วน
ทีเ่ ห็นว่ า ผู้ฟ้องคดีต้องรับผิดอย่ างลูกหนีร้ ่ วม
102
4.7 ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 อุทธรณ์ ว่า เมื่อนาย ส. ได้ ขับรถยนต์ พาผู้
ฟ้องคดีและคณะกลับจากราชการถึงศู นย์ ฝึกวิชาชี พฯ แล้ ว ต้ องถือว่ า
เสร็ จสิ้ น จากการปฏิบัติราชการ การพาคณะบางส่ วนไปรั บประทาน
อาหารที่ร้านอาหารหลังจากเดินทางถึงศู นย์ ฝึกวิชาชี พฯ แล้ ว ช่ วงเวลา
ดั ง กล่ า วไม่ ถื อ ว่ า เป็ นการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ร าชการ ซึ่ ง มาตรา 10 แห่ ง
พระราชบัญญัติความรั บผิดทางละเมิด ของเจ้ า หน้ า ที่ พ.ศ. 2539 ให้
บังคับตามบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ ประกอบ
กับศาลจังหวัดกาญจนบุรีได้ มีคาพิพากษาในคดีหมายเลขดาที่ 382/2544
หมา ย เลข แ ด ง ที่ 1 2 2 5 / 2 5 4 7 พิ พ า ก ษ า ใ ห้ ผู้ ฟ้ อ ง ค ดี ใ น ค ดี นี้
รั บ ผิด ชดใช้ ค่ า เสี ย หายให้ แ ก่ ผู้ ถู ก ฟ้ องคดี ที่ 1 จ านวน 645,000 บาท
พร้ อมดอกเบีย้ ซึ่งถือว่ าพิพากษาให้ ทางราชการชนะคดีเต็มตามคาฟ้อง
จึงควรต้ องบังคับตามคาพิพากษาของศาลจังหวัดกาญจนบุรี
103
5. คาวินิจฉัยของศาลปกครองสู งสุ ด
5.1 เมื่อผู้ฟ้องคดีได้ พาคณะเจ้ าหน้ าที่เดินทางกลับจากราชการ
โดยเดิ น ทางถึ ง ศู น ย์ ฝึ กวิ ช าชี พ ฯ แล้ ว ถื อ ว่ า เป็ นการเสร็ จ สิ้ น การ
ปฏิ บั ติห น้ า ที่ การที่ผู้ ฟ้ องคดีนั ด แนะให้ ค ณะเจ้ า หน้ า ที่ ไปร่ วมกัน
รั บประทานอาหารโดยให้ นาย ส. ขับรถยนต์ ของทางราชการไปที่
ร้ านอาหาร หลังจากรับประทานอาหารเสร็ จแล้ วจึงขับรถยนต์ ไ ปส่ ง
ครู สตรี ที่ไม่ มีพาหนะกลับบ้ าน และนารถยนต์ ดังกล่ าวไปจอดเก็บไว้
ที่บ้านพักของนาย ส. จึงไม่ ถอื ว่ าเป็ นการปฏิบัติหน้ าที่
104
5.2 เมื่อขณะที่รถยนต์ ของทางราชการสู ญหายไม่ ได้
เกิดขึ้นในระหว่ างที่ผู้ฟ้องคดีและนาย ส. กระทาในการปฏิบัติ
หน้ าที่ ผู้ฟ้องคดีและนาย ส. ต้ องร่ วมกันรับผิดชดใช้ ค่าเสี ยหาย
โดยต้ องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทั้งนี้ ตาม
มาตรา 10 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ค วามรั บ ผิ ด ทางละเมิ ด ของ
เจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. 2539 อุทธรณ์ ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ฟังขึ้น ศาล
ปกครองสู งสุ ดไม่ เห็นพ้ องด้ วยกับคาพิพากษาของศาลปกครอง
ชั้นต้ น
พิพากษากลับให้ ยกฟ้อง
105
2.คาสังให้
่ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กรณี ขบั รถยนต์ไปราชการแล้วเกิดอุบตั ิ เหตุ
106
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด
คดีหมายเลขแดงที่ อ.10/2552
1. ประเด็นพิพาท
ผู้ฟ้องคดี (นายคาพอง) ฟ้ องว่า ผู้ถกู ฟ้ องคดี (เทศบาลเมืองสกลนคร)
มีคาสังเทศบาลเมื
่
องสกลนคร ที่ 228/2546 ลงวันที่ 18 เมษายน 2546 ให้
ผู้ฟ้องคดีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผ้ถู กู ฟ้ องคดี จานวน 152,000 บาท
ผู้ฟ้องคดีเห็นว่าเป็ นคาสังที
่ ่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงนาคดีมาฟ้ องต่อศาล
ขอให้มีคาพิพากษาเพิกถอนคาสังดั
่ งกล่าว
107
2. ข้อเท็จจริง
2.1 ผู้ฟ้ องคดี เ ป็ นลู ก จ้ า งประจ า ต าแหน่ งพนั ก งานขับ รถของ
ผู้ถกู ฟ้ องคดี เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2542 ได้รบั คาสังให้
่ ขบั รถยนต์ตู้พา
เจ้าหน้ าที่ ของผู้ถกู ฟ้ องคดีไปราชการที่ จงั หวัดกาฬสินธุ์ ในขณะขับรถ
ไปราชการดังกล่าวมีฝนตกระหว่างการเดินทาง และในเวลาประมาณ
11.00 นาฬิกา ได้ ขบั รถมาถึ งบริ เ วณผาเสวย อ าเภอสมเด็จ จัง หวัด
กาฬสินธุ์ ซึ่งเส้นทางในช่วงนัน้ เป็ นทางโค้งลงเขามีสองช่องทางไปกลับ
ด้านละหนึ่ งช่ องทาง โดยช่ องทางฝัง่ ตรงข้ามมีรถยนต์บรรทุกสิบล้อ
ไม่ ท ราบหมายเลขทะเบี ย นวิ่ ง สวนทางขึ้ น เขามา และในขณะนั ้น
มีรถยนต์บรรทุกกระบะไม่ทราบหมายเลขทะเบียนได้ เร่งเครื่องแซง
รถยนต์ บ รรทุ ก สิ บล้ อ เข้ า มาในช่ อ งเดิ นรถของผู้ ฟ้ องคดี อ ย่ า ง
กระทันหัน ในระยะกระชัน้ ชิด ผู้ฟ้ องคดี จึ งได้ ห ัก รถหลบไปทางด้ า น
ขวามือ รถยนต์ตู้จึงได้ไถลไปชนกับรถยนต์บรรทุกสิบล้อได้รบั ความ
108
เสียหาย
2.2 เมื่ อ วัน ที่ 8 ธัน วาคม 2542 ผู้ฟ้ องคดี ไ ด้ ร ายงานการเกิ ด
อุบ ตั ิ เ หตุ ต่ อ ผู้ถ กู ฟ้ องคดี และผู้ถ ูก ฟ้ องคดี ไ ด้ มี ค าสัง่ เทศบาลเมื อ ง
สกลนคร ที่ 7/2543 ลงวันที่ 6 มกราคม 2543 แต่ งตัง้ คณะกรรมการ
สอบข้อเท็จจริง คณะกรรมการทาการสอบสวนแล้วปรากฏข้อเท็จจริง
ว่า ขณะผู้ฟ้องคดีขบั รถมาถึงบริเวณผาเสวย ซึ่งเป็ นทางคดเคี้ยวกาลัง
ลงเขาและมีฝนตก ขณะนัน้ เองได้มีรถกระบะบรรทุกเล่นแซงรถบรรทุก
เข้ามาในช่องทางเดินรถของผูฟ
้ ้ องคดี ผู้ฟ้องคดีจึงหักหลบและเกิดเสีย
หลักชนกองหินและตกลงข้างทางเป็ นเหตุให้ด้านหน้ าของรถยนต์ต้ยู ุบ
ช่ ว งล่ า งเสี ย หาย ไฟหน้ า รถแตก หม้ อ น้ า เครื่ อ งท าความเย็น ได้ ร บั
ความเสียหาย และประตูด้านซ้าย-ขวาได้รบั ความเสียหาย
109
2.3 จากการสอบสวนนางสมบูรณ์ ปลัดเทศบาล ให้การว่าไม่เห็น
เหตุการณ์ เนื่ องจากหลับ สะดุ้ง ตื่ น ขึ้น มาอี กครัง้ เมื่ อได้ ยิ น เสี ย งรถ
เบรกกะทันหัน และเห็นรถยนต์บรรทุกกระบะวิ่งสวนมาทางซ้ ายมือ
ด้วยความเร็วสูง และรถยนต์ตู้หลบไถลไปทางขวามือชนรถบรรทุก
ที่วิ่งสวนทางมา นางกินรักษ์ และนางบุญช่วย เจ้าหน้ าที่ที่นัง่ รถยนต์ตู้
ไปด้วย ให้การสอดคล้องกันว่า ไม่เห็นเหตุการณ์ เนื่ องจากนอนหลับ
ผู้ฟ้องคดีให้การว่า ขับรถด้วยความเร็ว 40 กิโลเมตรต่อชัวโมง
่
หลัง
เกิดเหตุผ้ฟู ้ องคดี สลบและฟื้ นที่ โรงพยาบาล ต่ อมาภายหลังทราบว่า
รถยนต์ตู้ได้รบั ความเสี ยหายด้านหน้ ายุบถึงประตูช่วงคนขับ กระจก
บัง ลมหน้ าแตก กระจกประตู ด้ า นซ้ า ยแตก หม้ อ น้ า แตก สภาพ
ด้านหน้ าพังยับเยิน
110
2.4 คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่า อุบตั ิ เหตุที่เกิดขึ้นเกิดจากความ
ประมาทของผู้ขบั ขี่รถยนต์กระบะบรรทุกที่ แซงรถบรรทุกสิบล้อขึ้นมา
ผู้ฟ้องคดี ใช้ ความระมัดระวังตามวิสยั ของวิญญูชนทัวไปที
่
่ จะใช้ ความ
ระมัดระวังในการขับขี่ รถยนต์แล้ ว กรณี เป็ นเหตุสุดวิสยั ประกอบกับ
ขณะเกิดเหตุมีฝนตก ถนนลื่นจนไม่สามารถควบคุมรถให้ เป็ นปกติได้
จึงเห็นควรยุติเรื่อง ไม่เอาผิดพนักงานขับรถ ผูถ้ กู ฟ้ องคดีเห็นชอบตามที่
คณะกรรมการสอบสวนเสนอ ต่ อมาเมื่อเดือนพฤษภาคม 2543 อู่ซ่อม
รถเอกชนเสนอราคาค่ า ซ่ อมรถจานวน 29 รายการ เป็ นเงิน 249,610
บาท คณะกรรมการตรวจสอบสภาพรถเห็นว่าราคาค่าซ่อมสูงมาก และ
จะมีภาระในการบารุงรักษาและสิ้นเปลืองงบประมาณ ผูถ้ กู ฟ้ องคดีจึงสัง่
ให้ จ าหน่ าย โดยมี ก ารจ าหน่ ายเมื่ อ วัน ที่ 11 กรกฎาคม 2543 ราคา
125,000 บาท ให้แก่นายคา่
111
2.5 ต่อมาสานักงานตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 6 จังหวัดอุดรธานี
ได้มีหนั งสื อลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2544 แจ้งให้ ผ้ถู กู ฟ้ องคดี แต่ งตัง้
คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด และให้ จดั ส่ ง
หลัก ฐานรายงานผลทางคดี แ ละความเห็น ของพนั ก งานสอบสวน
ประกอบกับบันทึกรายงานอุบตั ิ เหตุมาประกอบการพิจารณาพร้อมทัง้
แจ้งผลให้ สานั กงานตรวจเงินแผ่นดินทราบภายใน 60 วัน ผู้ถกู ฟ้ อง
คดี จึ ง ได้ มี ค าสัง่ เทศบาลเมื อ งสกลนคร ที่ 73/2544 ลงวัน ที่ 21
กุมภาพันธ์ 2544 แต่ งตัง้ คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิด
112
2.6 คณะกรรมการฯ ได้ทาการสอบพยานชุดเดิม และผูฟ
้ ้ องคดีใน
ท านองเดี ย วกับ การสอบข้ อ เท็จ จริ ง โดยมี ห ลัก ฐานทางคดี พ ร้ อ ม
ความเห็น ของพนั ก งานสอบสวนสถานี ต ารวจภูธ รอ าเภอสมเด็จ
ประกอบด้วย แล้วสรุปความเห็นเสนอต่อผู้ถกู ฟ้ องคดีว่า ผู้ฟ้องคดีไม่
ต้ องรับ ผิ ด ชดใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทน ซึ่ ง ผู้ถ กู ฟ้ องคดี เ ห็น ชอบตามที่
เสนอ และในวันที่ 14 มิถนุ ายน 2544 ผูถ้ กู ฟ้ องคดีได้รายงานการสอบ
ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดสกลนคร และ
ผูอ้ านวยการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 6 ทราบ
113
2.7 เมื่อเดือนสิงหาคม 2544 สานักงานตรวจเงินแผ่นดินแจ้งผู้ว่า
ราชการจัง หวัด สกลนครว่ า เอกสารที่ พ นั ก งานสอบสวนสถานี
ตารวจภูธรอาเภอสมเด็จจัดส่ง กับพยานหลักฐานที่ คณะกรรมการฯ
สอบเป็ นคนละชุ ด ขอให้ ตรวจสอบ และในวัน ที่ 30 สิ งหาคม 2544
ผูว้ ่าราชการจังหวัดสกลนครสังให้
่ ตรวจสอบ แต่ยงั ไม่ได้รายงานไปยัง
กระทรวงการคลังตามระเบียบ จนกระทังผู
่ ว้ ่าราชการจังหวัดสกลนคร
มีหนังสือลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2544 ทวงถาม ผูถ้ กู ฟ้ องคดีจึงรายงาน
ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริ งไปยังปลัดกระทรวงการคลังในวันที่ 8
พฤศจิกายน 2544
114
2.8 ต่ อมาเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2545 คณะกรรมการฯ ได้พิจารณา
ข้ อ เท็ จ จริ ง เพิ่ ม เติ มแล้ ว เห็ น ว่ า พนั ก งานสอบสวนได้ แ จ้ ง ข้ อ หาต่ อ
ผู้ฟ้องคดีว่าขับรถประมาทเป็ นเหตุให้ผ้อู ื่นได้รบั บาดเจ็บ ทรัพย์สินผู้อื่น
เสียหาย ซึ่งผูฟ
้ ้ องคดีรบั สารภาพ คณะกรรมการฯ จึงสรุปความเห็นเสนอ
ผู้ถ ูก ฟ้ องคดี ใ หม่ ว่ า อุบ ตั ิ เ หตุค รัง้ นี้ เ กิ ด ขึ้ น เพราะความประมาทของ
ผู้ฟ้องคดี ตามหลักฐานผลทางคดีและความเห็นของพนักงานสอบสวน
อาเภอสมเด็จทาให้ทรัพย์สินของทางราชการได้รบั ความเสียหาย ต้องรับ
ผิดชดใช้ค่าเสียหายจานวน 202,666.67 บาท ผู้ถกู ฟ้ องคดีเห็นชอบแต่ให้
ชดใช้ค่าเสียหายเป็ นเงิน 152,000 บาท
115
2.9 ต่ อ มากรมบัญ ชี ก ลางได้ มี ห นั ง สื อ ลงวัน ที่ 7 มี น าคม 2546 แจ้ ง
ผู้ถกู ฟ้ องคดีว่า ขณะผู้ฟ้องคดีขบั รถมาถึงบริเวณผาเสวย เขตอาเภอสมเด็จ
จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็ นทางโค้งด้วยความเร็ว 40 กิโลเมตรต่อชัวโมง
่
มีฝนตก
ถนนลื่น ได้มีรถยนต์บรรทุกกระบะขับแซงรถยนต์บรรทุกสิบล้อ ผู้ฟ้องคดี
เห็นเมื่อใกล้จะชนแล้วจึงหักพวงมาลัยหลบทางขวา ปรากฏว่ารถยนต์ตู้ชน
รถยนต์บรรทุกสิบล้อ พฤติการณ์ และการกระทาถือได้ว่าความเสี ยหายเกิด
จากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเพราะเมื่อเปรียบเทียบความเสียหาย
กับความเร็วของรถตามที่ กล่าวอ้างนัน้ น่ าเชื่อว่าผู้ฟ้องคดีขบั รถเร็วเกินกว่า
ที่ แจ้ง แต่ เมื่อพิเคราะห์ถึงความร้ายแรงแห่ งการกระทาและความเป็ นธรรม
แล้ว จึงให้ผฟ
้ ู ้ องคดีรบั ผิดชาระค่าเสียหาย เป็ นเงิน 152,000 บาท ผู้ถกู ฟ้ องคดี
จึงมีคาสังเทศบาลเมื
่
องสกลนคร ที่ 228/2546 ลงวันที่ 18 เมษายน 2546 แจ้ง
ให้ผฟ
้ ู ้ องคดีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจานวนดังกล่าว
116
3. คาวินิจฉัยของศาลปกครองชัน้ ต้น
3.1 ในขณะเกิ ด เหตุ ฝ นตก เป็ นเหตุ ใ ห้ ถ นนลื่ น และมี ร ถยนต์
บรรทุกกระบะไม่ทราบหมายเลขทะเบียนขับแซงรถยนต์บรรทุกสิบล้อ
ในทางขึน้ เขาเข้ามาในช่องเดินทางรถของผูฟ
้ ้ องคดี ทัง้ ที่มีเครื่องหมาย
จราจรเป็ นเส้ น ทึ บ กลางถนนห้ ามแซง ผู้ฟ้องคดี ต้อ งชัง่ น้ า หนั กและ
ตัดสินใจว่าจะเลือกหักรถหลบไปทางใดภายในเวลาที่ เกิดเหตุ ซึ่ งโดย
ปกติผขู้ บั รถย่อมจะเลือกหนทางที่ทาให้ตนเอง ผู้โดยสารและรถยนต์ที่
ขับมาได้รบั ความเสียหายน้ อยที่สดุ เมื่อด้านซ้ายมือเป็ นแนวภูเขา หาก
วิ่งตรงไปก็จะต้องชนกับรถยนต์บรรทุกกระบะ แต่ถ้าหักมาทางขวามือ
ซึ่ งมี พื้นที่ ว่างตรงกลางพอจะหลบได้ บ้าง การที่ ผ้ฟ
ู ้ องคดี หกั หลบมา
ทางขวาและเฉี่ ยวชนกับรถยนต์บรรทุกสิบล้อตรงประตูด้านขวา แรง
ขับเคลื่อนของรถยนต์ตู้ประมาณ 40 กิโลเมตรต่อชัวโมง
่
ประกอบกับ
เส้ น ทางลงเขาซึ่ งมี ล ั ก ษณะชั น การหั ก หลบไม่ ส ามารถท าได้
117
เช่นเดียวกับในภาวะที่ถนนราบเรียบและไม่มีฝนตก
3.2 ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ผูฟ
้ ้ องคดีได้ขบั รถด้วยความระมัดระวัง
ซึ่ งบุคคลในภาวะเช่ นนัน้ จักต้ องมีตามวิสยั และพฤติการณ์ และได้ใช้
ความระมัด ระวัง เช่ น ว่ า นั ้น เพี ย งพอแล้ ว การกระท าของผู้ฟ้ องคดี
จึงมิได้ เป็ นการกระทาโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
การใช้ ดุ ล พิ นิ จของผู้ถ ูก ฟ้ องคดี เ ป็ นไปโดยไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย
พิพากษาให้เพิกถอนคาสังเทศบาลเมื
่
องสกลนคร ที่ 228/2546 ลงวันที่
18 เมษายน 2546
118
4. คาวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด
4.1 การกระท าที่ จ ะถื อ ว่ า เป็ นการกระท าด้ ว ยความประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง หมายถึง การกระทาโดยมิได้ มีเจตนา แต่ เป็ น
การกระทาซึ่งบุคคลพึงคาดหมายได้ว่าอาจก่อให้เกิดความเสียหายขึ้น
ได้ และหากใช้ความระมัดระวังแม้เพียงเล็กน้ อยก็อาจป้ องกันมิให้เกิด
ความเสียหายได้ แต่กลับมิได้ใช้ความระมัดระวังเช่นว่านัน้ เลย
119
4.2 ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ป รากฏในค าสัง่ เทศบาลเมื อ งสกลนคร ที่
228/2546 อ้ างพฤติกรรมของผู้ฟ้ องคดี เ พี ยงว่ า “น่ าเชื่ อว่ าผู้ฟ้องคดี
ขับรถเร็วเกินกว่าที่ แจ้ง” ซึ่ งมิได้ แสดงให้ เห็นว่า ในภาวะที่ มีรถยนต์
บรรทุกกระบะเร่งเครื่องแซงรถยนต์บรรทุกสิบล้อเข้ามาในช่ องทาง
เดินรถของผู้ฟ้องคดีอย่างกระทันหัน ผู้ฟ้องคดีอาจใช้ความระมัดระวัง
แม้เพียงเล็กน้ อยอย่างไรก็อาจป้ องกันมิให้รถที่ ผ้ฟู ้ องคดีขบั เกิดความ
เสี ยหายได้ แต่ ผ้ฟ
ู ้ องคดี ก ลับ มิ ไ ด้ ใ ช้ ค วามระมัด ระวังเช่ น ว่ า นั น้ เลย
เพราะการที่ ผู้ฟ้ องคดี ข ับ รถมาด้ ว ยความเร็ว เกิ น กว่ า ที่ แ จ้ ง เพี ย ง
ประการเดียวยังไม่เพียงพอที่ จะรับฟั งได้ว่าเป็ นสาเหตุให้เกิดละเมิดใน
ครัง้ นี้ เนื่ องจากข้อเท็จจริงรับฟั งได้ว่ามีรถยนต์บรรทุกกระบะขับแซง
รถยนต์บรรทุกสิบล้อเข้ามาในช่ องทางเดินรถของผู้ฟ้องคดี ในระยะ
กระชัน้ ชิดด้วย
120
4.3 เมื่อไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ฟ้องคดีขบั รถด้วยความประมาท
เลิ น เล่ อ อย่ า งร้ า ยแรง การออกค าสัง่ ให้ ผู้ฟ้ องคดี ช ดใช้ ค่ า สิ น ไหม
ทดแทนจากเหตุ ล ะเมิ ดดัง กล่ า ว จึ ง เป็ นค าสัง่ ที่ ย ัง ไม่ มี เ งื่ อ นไข
ข้อเท็จจริงอันเป็ นเหตุให้ออกคาสังเก
่ ิ ดขึน้ คาสังดั
่ งกล่าวจึงเป็ นคาสังที
่ ่
ไม่ถกู ต้ องตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ ง ประกอบกับมาตรา 8 วรรคหนึ่ ง
แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้ าที่ พ.ศ. 2539
พิพากษายืนตามคาพิพากษาศาลปกครองชัน้ ต้น
121
122