การบริหารจัดการพัสดุและการจัดซื้ อจัดจ้าง ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิม่ เติม สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ กรมบัญชีกลำง โทร.๐๒-๒๗๓๙๐๒๔ ต่อ ๔๕๕๑-๔๕๕๓ www.gprocurement.go.th ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิม่ เติม.

Download Report

Transcript การบริหารจัดการพัสดุและการจัดซื้ อจัดจ้าง ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิม่ เติม สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ กรมบัญชีกลำง โทร.๐๒-๒๗๓๙๐๒๔ ต่อ ๔๕๕๑-๔๕๕๓ www.gprocurement.go.th ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิม่ เติม.

การบริหารจัดการพัสดุและการจัดซื้ อจัดจ้าง
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิม่ เติม
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ กรมบัญชีกลำง
โทร.๐๒-๒๗๓๙๐๒๔ ต่อ ๔๕๕๑-๔๕๕๓
www.gprocurement.go.th
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิม่ เติม
ขอบเขตและกระบวนการจัดหาพัสดุ
• ระเบียบนี้ ใช้กบั เงินงบประมาณ/ เงินทีร่ มต.
กระทรวงการคลังอนุ ญาตให้ไม่ตอ้ งนาส่งคลัง
• กระบวนการจัดหาพัสดุ กระทาได้ดงั นี้
-การจัดทาเอง
-การซื้ อ /การจ้าง
-การจ้างทีป่ รึกษา / การจ้างออกแบบและควบคุมงาน
-การแลกเปลีย่ น /การเช่า /การยืม
-การควบคุม และการจาหน่ายพัสดุ
ผูท้ เี่ กีย่ วข้องในการจัดหาพัสดุ(ข้อ๕)
• เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
• หน.เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
.
หัวหน้าหน่วยพัสดุ
โดยตาแหน่ง
โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/ลูกจ้าง
พนักงานราชการ
โดยตาแหน่ง
โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ
โดยตาแหน่ง
โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ
ผูท้ เี่ กีย่ วข้องในการจัดหาพัสดุ (ต่อ)
• หัวหน้าส่วนราชการ
• ผูม้ ีอานาจอนุ มตั ิ
สังซื้
่ อ/จ้าง(ข้อ๖๕
• ข้อ๖๖และข้อ๖๗)
• คณะกรรมการต่าง ๆ
• ผูค้ วบคุมงาน
อธิบดี (ส่วนกลาง)
ผูว้ ่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค)
หน. จนท.พัสดุ (วงเงินวิธีตกลง
ราคา)
หัวหน้าส่วนราชการ
ปลัดกระทรวง
รัฐมนตรี
ข้อ ๓๔
วุฒิไม่ตา่ กว่า ปวช. (ข้อ ๓๗)
ผูม้ ีอานาจสังซื้
่ อ /สังจ้
่ าง
วิธีตกลงราคา/ สอบราคา/
ประกวดราคา (ข้อ ๖๕)
- หส.ราชการ ไม่เกิน ๕๐ล้าน
- ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐
ไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน
- รัฐมนตรี เกิน ๑๐๐ ล้าน
วิธีพิเศษ(ข้อ ๖๖)
-หส.ราชการไม่เกิน ๒๕ ล้าน
-ปลัดกระทรวง เกิน ๒๕ แต่
ไม่เกิน ๕๐ ล้าน
-รัฐมนตรี เกิน ๕๐ ล้าน
วิธีกรณีพิเศษ (ข้อ ๖๗)
-หส.ราชการ ไม่จากัดวงเงิน
การมอบอานาจ
(ข้ อ ๙)
• หลัก ผูม้ ีอานาจ มอบอานาจได้
-แต่ผูไ้ ด้รบั มอบอานาจ จะมอบต่ออีกไม่ได้
ข้อยกเว้น
๑. เจ้าของอานาจมอบให้ผูว้ ่า ฯ ผูว้ ่าฯ มอบต่อได้ เฉพาะ
(๑) มอบให้ รองผูว้ ่าฯ หรือผูช้ ่วยผูว้ ่าฯ /ปลัดจว. /หส.
ราชการ -โดยให้รายงานเจ้าของอานาจทราบด้วย
(๒) หากผูว้ ่าฯมอบต่อให้ผูอ้ ื่น/ให้ขอความเห็นชอบเจ้าของอานาจก่อน
๒. การมอบอานาจ/มอบอานาจต่อของ กระทรวงกลาโหม เป็ นไปตาม
ตามระเบียบของกห.
วิธีกำรซื้อ / กำรจ้ำง
ข้อ ๑๙ วิธีตกลงรำคำ
ข้อ ๒๐ วิธีสอบรำคำ
วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบำท
วงเงินเกิน ๑ แสนบำท
แต่ไม่เกิน ๒ ล้ำนบำท
ข้อ ๒๑ วิธีประกวดรำคำ วงเงินเกิน ๒ล้ำนบำทขึน้ ไป
ข้อ ๒๓ , ๒๔ วิธีพิเศษ
วงเงินตัง้ แต่ ๑ แสนบำทขึน้ ไป
- แต่มีเงื่อนไข
ข้อ ๒๖ วิธีกรณี พิเศษ
ไม่กำหนดวงเงิน
ข้อ ๑๘(๖) วิธีประมูลทำงระบบอิเล็กทรอนิกส์ตำมประกำศกระทรวงกำรคลัง วงเงินเกิน ๒ล้ำนขึน้ ไป
(ระเบียบฯ 49วิธีทำงอิเล็กทรอนิคส์ วงเงินตัง้ แต่ ๒ ล้ำนขึน้ ไป )
การจัดทารายงานขอซื้อ/ขอจ้ าง
หลัก ก่อนกำรซื้อ/จ้ำง ทุกวิธี (ข้อ ๒๗)
๑) เจ้ำหน้ ำที่พสั ดุ ต้องทำรำยงำนขอซื้อ/จ้ำง
๒) เสนอขอควำมเห็นชอบต่อหัวหน้ ำส่วนรำชกำร
ข้อยกเว้น ให้เจ้ำหน้ ำที่พสั ดุ/หรือ ผูร้ บั ผิดชอบ เป็ นผูจ้ ดั ทำ
รำยงำนขอซื้อ/จ้ำง เพื่อขอควำมเห็นชอบภำยหลังได้ เฉพำะ
กรณี ตำมข้อ ๓๙วรรคสอง
กรณี จดั หำโดยวิธีตกลงรำคำ/ เพรำะเหตุจำเป็ นเร่งด่วน
และไม่อำจคำดหมำยไว้ก่อนล่วงหน้ ำได้
การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ (ข้อ ๓๔)
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
คณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
คณะกรรมการจัดซื้ อโดยวิธีพเิ ศษ
คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพเิ ศษ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
คณะกรรมการจ้างทีป่ รึกษาโดยวิธีตกลง /โดยวิธีคดั เลือก(ข้อ๗๙)
คณะกรรมการกาหนดราคากลาง (มติคณะรัฐมนตรี)
องค์ประกอบ และมติของคณะกรรมการ
องค์ประกอบ - ประธาน และกรรมการ เป็ นข้าราชการระดับ ๓ ขึ้ นไป
อย่างน้อย ๓ คน
(ส.เวียน/ว๑๕๕ลว.๑พ.ค.๕๐
ให้พนักงานมหาวิทยาลัย เป็ นกรรมการ ตามข้อ๓๔ ได้)
- แต่งตั้งกก.เป็ นครั้ง ๆ ไป / คาสังแต่
่ งตั้งไม่มีรูปแบบ
ข้อห้ามแต่งตั้งกรรมการซ้ ากัน
๑. กก.เปิ ดซองสอบราคา /หรือกก.พิจารณาผลประกวดราคา
ห้ามเป็ น กรรมการตรวจรับพัสดุ
๒. กก.รับ-เปิ ดซองประกวดราคาห้ามเป็ นกก.พิจารณาผลประกวดราคา
มติกรรมการ-ประธาน/กรรมการต้องมาประชุมลงมติไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่
-ให้ถอื เสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน ให้ประธานชี้ ขาด
- เว้นแต่ คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ให้ถอื มติเอกฉันท์
ข้อยกเว้น ไม่แต่งตั้งในรูปคณะกรรมการ
๑. การซื้ อ/การจ้างวงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท (ข้อ๓๕วรรคท้าย)
-จะแต่งตั้งข้าราชการ /ลูกจ้างประจา/พ.ราชการ/พ.
มหาวิทยาลัย (กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว ๑๕๕ ลว. ๑ พ.ค. ๕๐)
เพียงคนเดียว ทีม่ ิใช่ผูจ้ ดั ซื้ อจัดจ้าง เป็ นผูต้ รวจรับ พัสดุ/งาน
จ้าง ก็ได้
๒. กรณีงานจัดทาเอง (ข้อ ๑๕)
-ให้แต่งตั้งผูค้ วบคุมรับผิดชอบในการจัดทาเอง
-และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการปฏิบตั ิงาน
( เว้นแต่ มีเจ้าหน้าทีร่ บั ผิดชอบอยู่แล้ว)
การแบ่งซื้ อ / แบ่งจ้าง
(ข้อ ๒๒ วรรค ๒)
การแบ่งซื้ อ แบ่งจ้าง หมายถึง การแบ่งวงเงินทีจ่ ะซื้ อ /
จ้าง ในครั้งเดียวกัน ออกเป็ นหลายครั้ง
โดยไม่มีเหตุผล /ความจาเป็ น และ มีเจตนาทีจ่ ะ
หลีกเลีย่ ง
๑) ให้ผูม้ ีอานาจสังซื้
่ อ /สังจ้
่ าง เปลีย่ นไป
๒) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพือ่ เปลีย่ นวิธีจดั หาพัสดุ
วิธีตกลงราคา
หลักวิธีปฏิบตั ิ (ข้อ๓๙)
(๑) ให้จนท.พัสดุจดั ทารายงานขอซื้ อ/จ้าง ตามข้อ ๒๗
เพือ่ ขอความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ
(๒) เมือ่ ได้รบั ความเห็นชอบแล้ว
-ให้เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุติดต่อตกลงราคากับผูข้ าย/ผูร้ บั จ้างโดยตรง
-หลังจากนั้น ให้หวั หน้า จนท.พัสดุ เขียนใบสังซื้
่ อ/จ้าง ได้ ภายใน
วงเงินทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบนั้น
ข้อยกเว้น(ข้อ๓๙ว.๒)กรณีจาเป็ น/เร่งด่วน/ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อน
(๑) ให้จนท.พัสดุ/จนท.ผูร้ บั ผิดชอบ ซื้ อ/จ้าง ไปได้
(๒)ทารายงานขอซื้ อ/จ้างภายหลัง/ ใช้รายงานเป็ นหลักฐานตรวจรับ
วิธีสอบราคา
 วิธีดาเนินการ
๑. ให้เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ จัดทาเอกสารสอบราคา (ตามข้อ ๔๐)
๒. ข้อ ๔๑ ให้กาหนดวันเผยแพร่เอกสาร ห่างจากวันปิ ดรับ
ซองไม่นอ้ ยกว่า ๑๐วัน โดยวิธี
-ปิ ดประกาศ ทีส่ านักงาน และ
-ส่งให้ผูม้ ีอาชีพขาย-รับจ้าง ทางไปรษณีย ์ ให้มากราย
วิธียนื่ ซอง- ยืน่ ซองเอง/ทางไปรษณีย/์ จ่ าหน้าซองถึงประธาน
วิธีรบั ซอง - ลงวันทีร่ บั ซองโดยไม่เปิ ดซอง
- ส่งให้หวั หน้าจนท,พัสดุ เก็บรักษา
- เมือ่ ถึงวันเปิ ดซอง ส่งมอบให้คณะกก.เปิ ดซอง
การจัดทาเอกสารสอบราคา ข้ อ๔๐ /(ประกวดราคา)
๑. กำหนดคุณสมบัติของผูเ้ สนอรำคำ/งำน
- ต้องมีอำชีพขำย/รับจ้ำง /ไม่เป็ นผูท้ ิ้ งงำน/ไม่มีผลประโยชน์
ร่วมกัน
- งำนก่อสร้ำง ๑ ล้ำนขึน้ ไป ผูเ้ สนอรำคำต้องเป็ นนิติบคุ คล
(มติครม./ว ๘๐ ลว. ๘ มิ.ย.๒๑)
- กำหนดผลงำนได้ ไม่เกิน ๕๐%(มติครม./ว ๑ ลว.๓ ม.ค ๓๗)
๒ กำหนดให้ผเ้ ู สนอรำคำ/งำน ต้องมีเอกสำรใดๆ
- เช่น งำนก่อสร้ำง ต้องทำใบ BOQ (มติครม.ว ๘๐ ลว๘มิย๒๑)
การจัดทาเอกสารสอบราคา/(ประกวดราคา) (ต่อ)
๓. กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของสิง่ ของ/งานจ้าง
-ไม่ระบุยหี่ อ้ /spec ให้ใกล้เคียง/เจาะจง/เอื้ อประโยชน์ ให้ผูข้ าย
/ผูร้ บั จ้างรายใดรายหนึง่ โดยเฉพาะ(มติครม.ว ๕๒ลว.๒๘มี.ค.๒๐)
๔. กาหนดเงือ่ นไข การเสนอราคา /งาน หลักเกณฑ์การตัดสินราคา
ไว้ในประกาศ เช่น
๑) - การซื้ อ/ จ้าง ในครั้งเดียวกัน หากมีหลายรายการ
จะพิจารณาราคารวม หรือ/ต่อรายการ)
๒) เงือ่ นไขมีการจ่ ายเงินล่วงหน้า
หน้าทีข่ องคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
เมือ่ ถึงวัน เวลาเปิ ดซอง (ข้อ ๔๒)
๑. ตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน(ก่อนเปิ ดซองใบเสนอราคา)
๒. เปิ ดซองอ่านราคา อ่านเอกสาร ลงนามกากับ
๓. คัดเลือกผูเ้ สนอราคา /สิง่ ของ/งาน ทีม่ ีคุณสมบัติ / คุณภาพ
เป็ นประโยชน์ต่อทางราชการ
๔. ตัดสินผูช้ นะราคารายตา่ สุด / ถ้าตา่ สุดเท่ากัน /ยืน่ ซองใหม่
๕. มีผูเ้ สนอราคาถูกต้อง รายเดียว ไม่ยกเลิก
๖. ถ้ารายตา่ สุด เสนอราคาเกินวงเงิน ให้ต่อรองราคา (ข้อ ๔๓)
๗. รายงานผล หน.ส่วนราชการ ผ่าน หัวหน้าเจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
แนวทางการพิจารณาคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา
 ส่วนของคุณสมบัติผูเ้ สนอราคา
- ยืน่ เอกสารไม่ครบ/ไม่ประกาศชื่อ /ไม่เปิ ดซองรายทีย่ นื่ ไม่ครบ
- แจ้งรายนั้นให้ทราบ
ส่วนของใบเสนอราคา
- ไม่กรอกวันส่งมอบ / ไม่กาหนดวันยืนราคา
- ลดราคาในใบเสนอราคา /กรอกราคาผิดพลาด
- เสนอพัสดุหลายยีห่ อ้
ส่วนของแคตตาล็อก แบบรูป รายการละเอียด
-คัดเลือกคุณภาพ/คุณสมบัติสิง่ ของ/งานทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อราชการ
วิธีประกวดราคา
• การจัดทาเอกสารประกวดราคา ให้ทาตามแบบที่ กวพ. กาหนด
• หากจะกาหนดคุณสมบัติผูเ้ สนอราคาเพิม่ เติมจากแบบของกวพ.
-ให้ถอื ปฏิบตั ิตามหนังสือเวียนของกวพ.(นร(กวพ)๑๓๐๕/ว ๗๙๑๔
ลว.๒๒ ก.ย.๒๕๔๓ เช่น ไม่กาหนดทุนจดทะเบียน ต้องมีหนังสือ
รับรองทางการเงินจากสถาบันการเงิน ของผูเ้ สนอราคา เป็ นต้น)
• การเผยแพร่เอกสารประกวดราคา (ข้อ ๔๕, ๔๖)
-ปิ ดประกาศ ณ สานักงาน
-ส่งให้กรมประชาสัมพันธ์
-วิทยุ/หนังสือพิมพ์/อ.ส.ม.ท.
-ศูนย์รวมข่าว/ส.ต.ง
• เผยแพร่ไปแล้ว หากต้องแก้ไข /ชี้ แจงรายละเอียดเพิม่ เติม
ให้ทาหลักฐาน เอกสาร/ประกาศ เพิม่ เติม
กำรกำหนดหลักประกันซอง ไว้ในเอกสำรประกวดรำคำ
( หลักประกันสัญญำ ใช้เหมือนกัน)
• ข้อ ๑๔๑ , ๑๔๒ ให้ผเู้ สนอรำคำใช้อย่ำงหนึ่ งอย่ำงใดดังนี้
๑. เงินสด
๒. เช็คที่ธนำคำรสังจ่
่ ำยลงวันที่ใช้เช็ค ชำระต่อเจ้ำหน้ ำที่
หรือ ชำระก่อนวันนัน้ ไม่เกิน ๓ วันทำกำร
๓. หนังสือคำ้ ประกันของธนำคำรภำยในประเทศ
๔. หนังสือคำ้ ประกันของบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์
ตำมรำยชื่อที่ธปท. แจ้งเวียน
๕. พันธบัตรรัฐบำล
มูลค่ำหลักประกัน
 อัตรำจำนวนเต็ม
๕% ของวงเงิน/ รำคำพัสดุ ที่
จัดหำในครัง้ นัน้
เว้นแต่ กำรจัดหำที่สำคัญพิเศษ สูงกว่ำไม่เกิน ๑๐%
กรณี ส่วนรำชกำร / รัฐวิสำหกิจ เป็ นผูเ้ สนอรำคำ,
เป็ นคู่สญ
ั ญำ
- ไม่ต้องวำงหลักประกัน
หน้าทีข่ องคณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา
๑. รับซองราคา/ ตรวจหลักประกันซอง ร่วมกับจนท.การเงิน
(ส่งสาเนาให้ธนาคาร/ บริษทั เงินทุนฯ/ ธปท ผูค้ ้ าประกัน
ทราบ)
๒. รับเอกสารตามบัญชีรายการ ส่วนที๑
่ /ส่วนที่ ๒
ส่งมอบเอกสารส่วนที่ ๑ให้คณะกรรมการพิจารณาผล
เพือ่ ตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน
๓. เปิ ดซอง/อ่านราคา/บัญชีเอกสาร โดยเปิ ดเผย เฉพาะราย
ทีป่ ระกาศรายชื่อ/ลงชื่อกากับเอกสาร/ส่งให้คกก.พิจารณาผล
หน้ าที่คณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคา
- ตรวจสอบคุณสมบัติผูเ้ สนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
-คัดเลือกสิง่ ของ/งานจ้าง ผ่อนปรน
ทีม่ ิไช่สาระสาคัญได้
- พิจารณาราคา เกณฑ์ปกติ
- เท่ากันหลายราย
- สูงกว่าวงเงิน
ต่อรอง ข้อ43
ปกติยกเลิก/เมื่อมีผเู้ สนอ
ยกเลิก
รายตา่ สุด
ยื่นซองใหม่
- ถูกต้องรายเดียว (51)
- ไม่มีผเ้ ู สนอราคา
หรือไม่ถกู ต้องตาม
spec (52)
- ประกวดราคาใหม่
ไม่ได้ผลดี
ใช้วิธีพิเศษ
การซื้อโดยวิธีพิเศษ (ข้ อ ๒๓)
รายงาน ข้อ ๒๗
หัวหน้าส่วนราชการ
จนท. พัสดุ
ให้ ความเห็นชอบ ข้ อ๒๙
เงือ่ นไข วงเงินเกินหนึง่ แสน
- จะขายทอดตลาด
- เร่งด่วนช้าเสียหาย
- ราชการลับ
- ซื้ อเพิม
่ (Repeat Order)
วิธีการ (ข้อ ๕๗)
เจรจาตกลงราคา
เชิญผูม้ ีอาชีพขายมาเสนอราคา/ต่อรอง
เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคา-ต่ อรอง
เจรจาผูข้ ายรายเดิม เงือ่ นไข-ราคาเดิม
หรือดีกว่า
การซื้อโดยวิธีพิเศษ (ต่อ)
- ซื้อจาก
ต่ างประเทศ
- จาเป็ นต้ องระบุยห
ี่ ้ อ
สั่ งตรงโดยให้ หน่ วยงานอืน่ ใน
ต่ างประเทศสื บราคาให้
เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจาหน่ ายมาเสนอ
ราคาและต่ อรอง
- ซื้อทีด
่ นิ และสิ่ งก่ อสร้ าง
เชิญเจ้ าของมาตกลงราคา
- ดาเนินงานโดยวิธีอน
ื่
สื บราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอ
ราคาทีถ่ ูกยกเลิก (ถ้ ามี) ต่ อรองราคา
แล้ วไม่ ได้ ผลดี
การจ้างโดยวิธีพิเศษ(ข้อ ๒๔)
รายงาน ข้อ ๒๗
หัวหน้าส่วนราชการ
จนท. พัสดุ
ให้ความเห็นชอบ ข้อ๒๙
เงื่อนไข วงเงินเกิน ๑ แสนบาท
วิธีการ (ข้ อ ๕๘
- กรณีเป็ นงานทีต
่ อ้ งใช้ช่างฝี มือโดย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา
เฉพาะหรือชานาญโดยพิเศษ
- กรณีเป็ นงานจ้ างซ่ อมทีไ่ ม่ ทราบ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา
ความเสี ยหาย
- เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา
- เร่ งด่ วนช้ าเสี ยหาย
การจ้างโดยวิธีพิเศษ (ต่อ)
ราชการลับ
เชิญผูม้ ีอาชีพโดยตรงมาเสนอ
ราคา
จ้างเพิ่ม
(Repeat Order)
เจรจากับผูร้ บั จ้างรายเดิม
ราคาตา่ กว่าหรือราคาเดิม
ดาเนินการโดยวิธีอื่น
ไม่ได้ผลดี
สืบรำคำจำกผูม้ ีอำชีพรับจ้ำง
และผูเ้ สนอรำคำที่ถกู ยกเลิกไป
(ถ้ำมี) และต่อรองรำคำ
วิธีกรณี พิเศษ (ข้อ ๒๖)
จนท.พัสดุ
(ข้อ๒๗)
(ข้อ๒๙)
ติดต่อตกลงราคา
กับผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง
หัวหน้ าส่วนราชการ
ให้ความเห็นชอบ
หน.ส่วนราชการ อนุมตั ิ สงซื
ั ่ ้อ/สังจ้
่ าง
ได้ไม่จากัดวงเงิน
-วงเงินไม่เกิน๑ แสนบาท ให้จนท.พัสดุ
สังซื
่ ้อ/จ้างได้ภายในวงเงินที่ได้รบั
ความเห็นชอบจากหน.ส่วนราชการ
ที่เป็ นส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ
หน่ วยงานตามกฎหมาย
ท้องถิ่น/หน่ วยงานอื่น ๆ
-เป็ นผูท
้ า/ผลิตเอง/จาหน่ าย/ให้บริการ
และนายกรัฐมนตรี/มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรีอนุมตั ิ
ให้ซื้อ/จ้างได้โดยไม่ต้องสอบ/ประกวดราคา
สัญญาและหลักประกัน
การทาสัญญา มี ๓ ลักษณะ
๑ทาสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กาหนด (ข้อ๑๓๒)
-เพิ่ม/ ร่างใหม่/ เสียเปรียบ/ไม่รดั กุม ส่งอัยการ
๒. ทาข้อตกลงเป็ นหนังสือ (ข้อ ๑๓๓)
๓. ไม่ทาสัญญา/ข้อตกลง เป็ นหนังสือ ก็ได้
(ข้อ ๑๓๓ วรรคท้าย)
กรณีทาข้ อตกลง/ไม่ ทาตามแบบสั ญญา (ข้ อ๑๓๓)
หลัก ทาเป็ นบันทึกข้ อตกลงได้ กรณีดงั นี้
ซื้อ /จ้ าง แลกเปลีย่ น โดยวิธีตกลงราคา หรือ การจ้ างที่ปรึกาา
 คู่สัญญา ส่ งของได้ ครบถ้ วน ภายใน ๕ วันทาการ นับจากทา

ข้ อตกลง
 การซื้อ / จ้ าง โดยวิธีพเิ ศาตามข้ อ ๒๓หรือ ๒๔ (๑)-(๕)

การเช่ าทีไ่ ม่ ต้องเสี ยเงินอืน่ ใดนอกจากการเช่ า
ข้ อยกเว้ น ตามข้อ ๑๓๓วรรคท้าย จะไม่ทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน
ก็ได้
ได้แก่ (๑) การจัดหาวงเงินไม่เกิน๑หมืน่ บาท หรือ
(๒) การซื้ อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคากรณีเร่งด่วน
การจ่ ายเงินล่วงหน้า ที่กาหนดในสัญญา(ข้อ ๖๘)
 ซื้ อ/จ้าง จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จ่ ายได้ ๕๐%
 ซื้ อจากต่างประเทศ
จ่ ายตามทีผ่ ูข้ ายกาหนด
 การบอกรับวารสาร,/สังจองหนั
่
งสือ/
จ่ ายเท่าทีจ่ ่ ายจริง
ซื้ อข้อมูล E /บอกรับสมาชิกInternet
 ซื้ อ/จ้าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา จ่ าย ๑๕%
(ต้องกาหนดเงือ่ นไขไว้ในประกาศด้วย)
 ซื้ อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ
จ่ าย ๑๕%
การแก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา (ข้ อ ๑๓๖)
หลัก *สัญญาทีล่ งนามแล้ว ห้ามแก้ไขเปลีย่ นแปลง
ข้อยกเว้น - แก้ไขได้ ถ้า
- จาเป็ น/ไม่ทาให้เสียประโยชน์ /เพือ่ ประโยชน์ราชการ
- ถ้าต้องเพิม่ /ลดวงเงิน /ขยายเวลาส่งมอบ /ให้ตกลง
ไปพร้อมกัน
- จะแก้ไขสัญญาเมือ่ ใดก็ได้ แต่ตอ้ งกระทาก่อนส่งมอบงานงวด
สุดท้าย
- กรณีงานเกีย่ วกับความมันคงแข็
่
งแรง /งานเทคนิคเฉพาะอย่าง
ต้องได้รบั การรับรองจากสถาปนิก/วิศวกรฯทีร่ บั ผิดชอบทีจ่ ะแก้ไขก่อน
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสัญญา(ข้อ๑๓๙)
สาเหตุ
(๑)เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ
(๒)เหตุสดุ วิสยั
(๓)เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ต้องรับผิด
เงื่อนไข
• ต้องแจ้งเหตุใน ข้อ ๑๓๙(๒)หรือ(๓) ภายใน 15 วัน
นับแต่เหตุสิ้นสุด
•ให้พิจารณาให้ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึน้ จริง
อานาจอนุมตั ิ
• หัวหน้ าส่วนราชการ
กำรบอกเลิก /ตกลงกันเลิก สัญญำ หรือข้อตกลง
การบอกเลิกสัญญา (ข้อ ๑๓๗)
หลัก ๑) เมือ่ ผิดสัญญา/หรือมีเหตุเชื่อได้ว่า ผูร้ บั จ้างไม่สามารถ
ทางานได้แล้วเสร็จภายในเวลาทีก่ าหนด
๒) มีค่าปรับเกิน ๑๐% ของวงเงินทั้งสัญญา (ข้อ ๑๓๘)
เว้นแต่ จะยินยอมเสียค่าปรับ ก็ให้ผ่อนปรนได้เท่าทีจ่ าเป็ น
การตกลงเลิกสัญญา/ข้อตกลง ต่อกัน
-ทาได้เฉพาะเป็ นประโยชน์ หรือเพือ่ แก้ไขข้อเสียเปรียบของ
ราชการเท่านั้นหากต้องปฏิบตั ิตามสัญญา/หรือข้อตกลงต่อไป
การคิดค่าปรับตามสัญญา
• เมือ่ ครบกาหนดสัญญา /ผิดสัญญาต้องแจ้งการปรับ
• คิดค่าปรับนับถัดจากวันครบกาหนดสัญญา/ข้อตกลง
-โดยหักจานวนวันทีใ่ ช้ไปในการตรวจรับออกก่อน
• สงวนสิทธิปรับ เมือ่ ส่งมอบของ/งาน ไม่ตรงตาม
สัญญา
• เงือ่ นไขสัญญาซื้ อเป็ นชุด ให้ปรับทั้งชุด
• สิง่ ของรวมติดตั้ง/ทดลอง/ปรับตามราคาของทั้งหมด
วิธีคิดค่าปรับงานซื้ อและจ้างทาของ
• ตัวอย่าง สัญญามูลค่า ๑ ล้านบาท อัตราค่าปรับ๐.๑๐ กาหนดส่ง
มอบพัสดุ/งาน ไว้ ๓ งวด งวด๑,๒งวดละ ๒.๕ แสน งวดสุดท้าย
๕ แสน คิดค่าปรับตามจานวนสิง่ ของทีย่ งั ไม่ได้รบั มอบ
• ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้างส่งมอบทั้ง ๓งวด หลังจากผิดสัญญาแล้ว
งวดที่๑ ๑ล.X ๐.๑๐Xจานวนวันนับถัดจากครบกาหนดสัญญาถึงวันส่งมอบ
๑๐๐
งวดที่๒ ๗.๕แสนX๐.๑๐Xจานวนวันนับถัดจากส่งมอบงวด ๑ถึงวันส่งมอบงวด ๒
๑๐๐
งวดที่๓ ๕แสนX๐.๑๐X จานวนวันนับถัดจากส่งมอบงวด ๒ ถึงวันส่งมอบงวด ๓
๑๐๐
วิธีคิดค่าปรับงานจ้างก่อสร้าง
• ตัวอย่าง สัญญามูลค่า ๑ ล้านบาท อัตราค่าปรับวันละ๑,๐๐๐บาท
กาหนดส่งมอบไว้ ๓ งวด งวด๑,๒งวดละ ๒.๕ แสน งวดสุดท้าย ๕
แสนผูร้ บั จ้างส่งมอบทั้ง ๓งวด หลังจากผิดสัญญาแล้ว
งวดที๑
่
๑,๐๐๐Xจานวนวันนับถัดจากครบกาหนดสัญญา
ถึงวันส่งมอบ
งวดที๒่
๑,๐๐๐Xจานวนวันนับถัดจากส่งมอบงวด ๑ถึงวันส่งมอบ
งวด ๒
๑,๐๐๐Xจานวนวันนับถัดจากส่งมอบงวด ๒ถึงวันส่งมอบ
งวด ๓
งวดที๓
่
การตรวจรับพัสดุและตรวจการจ้าง
การส่งมอบและการตรวจรับพัสดุ
 หน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ข้อ ๗๑)
-ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจรับของในวันทีผ่ ูข้ าย/
รับจ้างนามาส่ง อย่างช้าไม่เกิน ๕วันทาการ
-ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้างต้องมีหลักฐานการส่งมอบ เป็ นหนังสือทุกครั้ง
กรณีตรวจรับพัสดุถูกต้องตามสัญญาหรือข้อตกลง
> ให้ ถอื ว่าผูข้ าย /ผูร้ บั จ้าง ส่งมอบถูกต้อง ณ วันที่นาพัสดุมาส่ง
> ส่งมอบของให้เจ้าหน้าทีพ
่ สั ดุ
> ทาใบตรวจรับอย่างน้อย ๒ ฉบับ
( ให้ผูข้ าย ๑ เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ ๑ เพือ่ ประกอบการเบิกจ่ ายเงิน )
หน้ ำที่คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณี ตรวจรับไม่ถกู ต้อง
* ให้รีบรำยงำน หส. รำชกำรทรำบ เพื่อสังกำรทั
่
นที
กรณี ถกู ต้องแต่ไม่ครบจำนวน / หรือครบ แต่ไม่ถกู ต้องทัง้ หมด
* ให้ดูสญ
ั ญา /หากจาเป็ น จะรับเฉพาะในส่วนทีถ่ ูกต้องก็ได้
> รีบรายงาน หส.ราชการ เพือ่ แจ้งผูข้ าย/ ผูร้ บั จ้าง ทราบภายใน
๓ วันทาการ นับแต่วนั ตรวจพบ
•สงวนสิทธิปรับ (ส่วนทีส่ ่งไม่ถูกต้อง) กรณีส่งเกินอายุสญ
ั ญา
การตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง (ข้อ๗๒)
คณะกรรมกำรตรวจกำรจ้ำง มีหน้ ำที่ดงั นี้
ตรวจตามรายงานของผูค้ วบคุมงาน
 ดูกำรปฏิบต
ั ิ งำนของผูร้ บั จ้ำง
 ตรวจตำมแบบรูป รำยกำรละเอียดตำมที่ ระบุในสัญญำ
ทุกสัปดำห์
 รับทรำบกำรสังกำรของผู
่
ค้ วบคุมงำน กรณี สงผู
ั ่ ร้ บั จ้ำงหยุด/
พักงำน
 แต่ต้องรำยงำน หส.รำชกำรสังกำร
่
หน้ ำที่ของคณะกรรมกำรตรวจกำรจ้ำง(ต่อ)
กรณี มีข้อสงสัยเห็นว่าไม่น่าจะเป็ นตามหลักวิชาการ


ให้ออกตรวจสถำนที่ที่จ้ำง
ให้มีอำนำจ
สังเปลี
่ ่ยนแปลง,แก้ไข,เพิ่มเติม,ตัดทอน งำนจ้ำงได้
เพื่อให้เป็ นไปตำมรูปแบบ /รำยกำร / ข้อตกลง

ตรวจผลงำนที่ส่งมอบ
ภำยใน 3 วันทำกำรนับแต่วน
ั ประธำนกรรรมกำรรับทรำบ
ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สด
ุ
หน้ าทีข่ องผู้ควบคุมงานจ้ างก่ อสร้ าง(ข้ อ ๗๓)



ตรวจตำมแบบรูปรำยกำรละเอียด ข้อตกลงในสัญญำ
ทุกวัน
มีอำนำจ
 สังเปลี
่ ่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม ตัดทอน เฉพำะกรณี
เพื่อให้เป็ นไปตำมสัญญำและหลักวิชำกำรช่ำง
ถ้ำผูร้ บั จ้ำงขัดขืนไม่ทำ
 ให้สงหยุ
ั ่ ดงำนเฉพำะส่วน /ทัง้ หมดไว้ก่อน
จนกว่ำจะยอมปฏิบตั ิ ตำม
 รีบรำยงำนคณะกรรมกำรตรวจกำรจ้ำงทันที
หน้าทีข่ องผูค้ วบคุมงานจ้าง (ต่อ)

กรณีเห็นว่า
รูปแบบรายการละเอียด ข้อกาหนดสัญญาขัดกัน
 คาดหมายว่าแม้เป็ นไปตามรูปแบบฯ ก็จะไม่
มันคงแข็
่
งแรง ไม่ปลอดภัย ไม่เป็ นไปตามหลักวิชา
ช่าง
 สังพั
่ กงานไว้ก่อน
 รายงาน คกก. ตรวจการจ้างโดยเร็ว
การยืมพัสดุ (ข้อ๑๔๖-๑๕๐)
การให้ยมื / นาพัสดุไปใช้ ทีม่ ิใช่ประโยชน์ทางราชการ
ทาไม่ได้
ทาหลักฐานการยืมไว้ดว้ ย ผูใ้ ห้ยืม มีหน้าที่ทวงคืน
การส่งคืน - ส่งคืนในสภาพทีใ่ ช้การได้เรียบร้อย
- หาก ชารุดต้องซ่ อมให้อยู่ในสภาพเดิม หรือ
ชดใช้เงิน ตามสภาพทีเ่ ป็ นอยู่ในขณะยืม /
ให้ทวงคืน
การแลกเปลีย่ นพัสดุ (ข้อ๑๒๓-๑๒๗)
หลัก แลกเปลีย่ นได้เฉพาะจาเป็ น - เฉพาะครุภณ
ั ฑ์ กับ ครุภณ
ั ฑ์
- วัสดุ กับ วัสดุ
วิธีการ ให้หวั หน้า จนท.พัสดุ แสดงเหตุผล/ความจาเป็ นที่ขอแลก
• กรณีแลกกับเอกชน ให้นาวิธีซื้อมาใช้โดยอนุโลม
ข้อยกเว้น –
หากพัสดุทีจ่ ะแลก มีราคาซื้ อ /ได้มารวมกัน
ไม่เกิน ๑ แสน ให้ใช้วิธีตกลงได้
• กรณีแลกเปลีย่ นกับส่วนราชการ ด้วยกัน/ รัฐวิสาหกิจ/ท้องถิน่
ให้เป็ นดุลพินจิ ของหัวหน้าหน่วยงานนั้น ทีจ่ ะตกลงกัน
การเช่าสังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์
(ข้อ๑๒๘-๑๓๐)
หลัก - กระทาได้ให้นาวิธีซื้อมาใช้โดยอนุโลม เฉพาะกรณี
เช่าทีด่ ิน เพือ่ ใช้ประโยชน์ของส่วนราชการ
เช่าสถานที่ เพือ่ ใช้เป็ นทีท่ าการ
เช่าสถานที่ เพือ่ ใช้เป็ นทีพ่ กั สาหรับผูม้ ีสิทธิ
เช่าสถานที่ เพือ่ ใช้เป็ นทีเ่ ก็บพัสดุ
อัตราจ่ ายค่าเช่าล่วงหน้า จ่ ายเฉพาะสัญญาเช่าไม่เกิน ๓ ปี
- เช่าจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ จ่ ายล่วงหน้าไม่เกิน ๕๐%
- เช่าเอกชน
จ่ ายล่วงหน้าไม่เกิน ๕๐%
การควบคุมพัสดุ (ข้อ ๑๕๑)
พัสดุไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีใด
-ให้เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุลงบัญชี/ ลงทะเบียน ควบคุม ตาม
ตัวอย่าง ทีก่ วพ.กาหนด
วิธีปฏิบตั ิ (ด่วนทีส่ ุดที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว๑๒๙ ลว.๒๐ต.ค๔๙
๑) วัสดุ - ลงทะเบียนตามแบบที่ กวพ. กาหนดไว้เดิม
๒) วัสดุ ทีม่ ีอายุการใช้งานเกินกว่า ๑ ปี ซึ่งมีราคาต่อ
หน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และครุภณ
ั ฑ์
-ให้ลงทะเบียนตามแบบทีก่ รมบัญชีกลางกาหนดไว้
ด่วนทีส่ ุด ที่ กค๐๕๒๘.๒/ว ๓๓๕๔๕ ลว.๑๖ พ.ย. ๒๕๔๙
กำรตรวจสอบพัสดุประจำปี (ข้อ ๑๕๕)
- ก่อนสิ้นเดือนกันยำยนของทุก ปี ให้หส,รำชกำร หรือ หน.
งำนตำมข้อ ๑๕๓
- แต่งตัง้ เจ้ำหน้ ำที่ในส่วนรำชกำร/หน่ วยงำนนัน้ ซึ่งมิไช่
เจ้ำหน้ ำที่พสั ดุ คนหนึ่ ง/หรือหลำยคน
- ให้ตรวจสอบพัสดุงวดตัง้ แต่ ๑ ตุลำคมปี ก่อน – ๓๐ กันยำยน
ปี ปัจจุบนั
- ให้เริ่มตรวจในวันเปิดทำกำรแรก ของเดือนตุลำคม ว่ำ: มีพสั ดุ ชำรุด เสื่อมคุณภำพ สูญไป เพรำะเหตุใด
หรือไม่จำเป็ นต้องใช้งำนต่อไป
ให้รำยงำนผลตรวจสอบ ต่อผูแ้ ต่งตัง้ ๑ชุด /สตง. ๑ ชุด
การจาหน่ายพัสดุ (ข้อ ๑๕๗)
 พัสดุใดหมดความจาเป็ นในการใช้งาน /ใช้งานจะสิ้ นเปลือง
ค่าใช้จ่ายมาก
 ให้รายงานหส.ราชการ จาหน่ายโดยวิธีใดวิธีหนึง่ ดังต่อไปนี้
 ขาย/ขายทอดตลาด
(เว้นแต่ ได้มารวมกันไม่เกิน ๑ แสน ใช้วิธีตกลงราคา)
 แลกเปลีย่ น
 โอนให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ท้องถิน่ องค์การสาธารณกุศล
 แปรสภาพ หรือทาลาย
( ข้อ๑๖๐ เมือ
่ ดาเนินการตามระเบียบแล้ว ให้จ่ายออกจากทะเบียน)
มติคณะรัฐมนตรี ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๑
เรือ่ ง มาตรการช่วยเหลือผูป้ ระกอบอาชีพก่อสร้างและอาชีพอื่น
• ๑. มาตรการช่วยเหลือผูป้ ระกอบอาชีพก่อสร้างอันเกิดจากวิกฤต
ภาวะราคาน้ ามัน ราคาเหล็กและวัสดุก่อสร้างทีป่ รับสูงขึ้ น
ก.ด้านสัญญา
(๑) การชะลอการยกเลิกสัญญา
(๒) การขยาย/เพิม่ ระยะเวลาสัญญา
(ให้รวมถึงสัญญาก่อสร้างทีไ่ ด้ลงนามไว้ก่อนวันที่ ๑ ตุลาคม
๒๕๕๐ และได้มีการส่งมอบงานงวดสุดท้ายแล้ว แต่ยงั อยู่ใน
ระยะเวลา ๑๘๐ วัน นับแต่วนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ด้วย)
(๓) การยกเลิกสัญญากับผูร้ บั จ้าง โดยไม่ถอื เป็ นผูท้ ิ้ งงาน
(๔)
การเพิม่ คู่สญ
ั ญา
(๕)การจ่ ายเงินล่วงหน้าในอัตราร้อยละ ๑๕
(๖) การหักเงินค้ าประกันผลงาน
(๗) การแบ่งงวดเงิน/งวดงาน ใหม่
(๘) การกาหนดระยะเวลาในการยืน่ ซองข้อเสนอ
(๙) การกาหนดราคากลางให้เป็ นปั จจุบนั
(๑๐) ในการขอรับความช่วยเหลือตามข้อ ๒.๑,๒.๒,๓,๔.๑,๕.๑,๖.๑
และ ๗.๑ ให้ยนื่ หนังสือขอ ภายใน ๖๐ วันนับแต่ค.ร.ม. มีมติ
(๑๑)ให้คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ(กวพ.)เป็ นผูว้ ินิจฉัยปั ญหา
ยกเว้น ค่า K ให้สานักงบประมาณ เป็ นผูว้ ินิจฉัยปั ญหา
ข. ด้านการชดเชยเงินค่างานก่อสร้าง
(๑) ให้ช่วยเหลือเพิม่ ค่างานเฉพาะค่าวัสดุเหล็กและน้ ามันดีเซล
ในอัตรา๔%ของปริมาณงานตามสูตรทีก่ าหนดไว้ในแต่ละ
ประเภทงานก่อสร้างทีใ่ ช้กบั สัญญาแบบปรับราคาได้(ค่าK)
(โดยให้สานักงบประมาณร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ และ
เอกชน และกระทรวงพาณิชย์ รับไปพิจารณาทบทวน
หลักเกณฑ์ และราคา ประเภทงานก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ปัจจุบนั )
๒. ด้านผูป้ ระกอบอาชีพอื่น
-ให้กระทรวงการคลังรับไปพิจารณาร่วมกับสานักงบประมาณและ
หน่วยงานอื่นทีเ่ กีย่ วข้องว่า สมควรจะให้ความช่วยเหลือให้ครอบคลุม
ผูป้ ระกอบอาชีพอื่นเพิม่ เติมอีกหรือไม่
หนังสือเวียน
ข้อร้องเรียน และข้อหารือ
ที่น่าสนใจ