Risk - สมาคมบริหารงานทั่วไป

Download Report

Transcript Risk - สมาคมบริหารงานทั่วไป

ความสัมพันธ์ระหว่างการกากับด ูแลกิจการที่ดี การบริหาร
ความเสี่ยง การควบค ุมภายใน การตรวจสอบภายใน
การกากับดูแลกิจการที่ดี (Good Governance)
การบริหารความเสี่ยง
Risk Management
การควบคุมภายใน (Internal
Control)
การตรวจสอบภายใน
(Internal Audit)
ทุจริตคอรัปชั่น
เช้ าชาม เย็นชาม / ช้ า
ไม่ ตอบสนองความต้ องการปชช.
เจ้ าขุนมูลนาย
สั่ งการตามสายการบังคับบัญชา
ทางานแบบต่ างคนต่ างทา
ยึดกฎระเบียบเป็ นหลัก
ขาดความยืดหยุ่น
คุณพ่อผู้รู้ดี /เป็ นนาย ปชช.
ข้ าราชการขาดขวัญกาลังใจ
ค่ าตอบแทนต่า
มีการแทรกแซงทางการเมือง
ปากหมา
หน้ ายักษ์
ตักตวง
ถ่ วงเรื่อง
เชื่องช้ า
ล้าสมัย
ไม่ แน่ ชัด
ปัดสวะ
ละเลย
เฉื่อยชา
พรฎ.ว่าด้วยหล ักเกณฑ์และวิธก
ี ารบริหารกิจการ
บ้านเมืองทีด
่ ี พ.ศ. 2546
หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด
่ ี
มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด
่ ี ได้แก่การบริหารราชการ
เพือ
่ บรรลุเป้าหมาย ด ังต่อไปนี้
1. เกิดประโยชน์สข
ุ ของประชาชน
ั
2. เกิดผลสมฤทธิ
ต
์ อ
่ ภารกิจของร ัฐ
ิ ธิภาพและเกิดความคุม
3. มีประสท
้ ค่าในเชงิ ภารกิจของร ัฐ
4. ไม่มข
ี นตอนการปฏิ
ั้
บ ัติงานเกินความจาเป็น
5. มีการปร ับปรุงภารกิจของสว่ นราชการให้ท ันต่อสถานการณ์
6. ประชาชนได้ร ับการอานวยความสะดวกและได้ร ับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบ ัติราชการอย่างสมา
่ เสมอ
พรฎ.ว่าด้วยหล ักเกณฑ์และวิธก
ี ารบริหารกิจการ
บ้านเมืองทีด
่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖
ิ ธิภาพและเกิดความคุม
หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสท
้ ค่า
ในเชงิ ภารกิจของร ัฐ
มาตรา 20
่ นราชการ เป็นไปอย่างมีประสท
ิ ธิภาพ ให้
เพือ
่ ให้การปฏิบ ัติราชการของสว
่ นราชการกาหนดเป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานหรือโครงการ
สว
และงบประมาณทีจ
่ ะต้องใชใ้ นแต่ละงานหรือโครงการ และต้องเผยแพร่ให้ขา้ ราชการ
และประชาชนทราบทว่ ั ก ันด้วย
ี น
้
มาตรา 21 ให้สว่ นราชการจ ัดทาบ ัญชต
้ ทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึน
ี ลางกาหนด
ตามหล ักเกณฑ์และวิธก
ี ารทีก
่ รมบ ัญชก
มาตรา 23
ื้ หรือจ ัดจ้าง ให้สว
่ นราชการดาเนินการโดยเปิ ดเผยและเทีย
ในการจ ัดซอ
่ งธรรม
ั
ี ทางสงคม
โดยพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสย
ภาระต่อประชาชน คุณภาพ ว ัตถุประสงค์
่ นราชการทีจ
ทีจ
่ ะใช ้ ราคาและประโยชน์ระยะยาวของสว
่ ะได้ร ับประกอบก ัน
หลักการควบค ุมภายในตามแนวคิดของ COSO
Monitoring
Information &
Communication
Control Activities
Risk Assessment
Control Environment
เป็นกระบวนการหรือ
ขัน้ ตอนการทางานที่
คณะกรรมการผู้
บริหาร หรือบ ุคลากร
ท ุกคนขององค์กร
ร่วมกันออกแบบขึ้น
เพื่อให้ความมัน่ ใจ
อย่างสมเหต ุสมผลว่า
องค์กรจะบรรล ุ
วัตถ ุประสงค์
ความมีประสิทธิผล
ประสิทธิภาพของการ
ดาเนินงาน
ความเชื่อถือได้ของ
รายงานทางการเงิน
การปฏิบตั ิตามกฎ
ระเบียบ และนโยบาย
ที่กาหนด
1. การควบคุมภายในเกิดขึ้นได้โดยบุคลากรขององค์กร
2. เป็ นกระบวนการที่ตอ้ งทาอย่างต่อเนื่อง
3. ต้องมีการปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมปั จจุบนั
4. เป็ นหลักประกันที่ทาให้เกิดความมั ่นใจอย่างสมเหตุสมผลในระดับหนึ่ง
5. การควบคุมภายในเป็ นส่วนประกอบที่แทรกหรือแฝงอยูใ่ นการ
ปฏิบตั งิ านตามปกติ.
6. มีความคุม้ ค่าจากประโยชน์ที่ได้รบั กับค่าใช้จา่ ย
ข้อจากัดของการควบค ุมภายใน
ผูบ้ ริหารยังไม่ได้ให้ความสาคัญต่อระบบควบค ุมภายใน
ผูบ้ ริหารใช้อานาจสัง่ การหรือยกเว้นกฎเกณฑ์
ยึดถือร ูปแบบสาคัญกว่าเนื้อหา
บ ุคลากรระดับปฏิบตั ิไม่ได้มีสว่ นร่วมการวางระบบควบค ุม
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์
ผูป้ ฏิบตั ิงานไม่ปฏิบตั ิตามระบบควบค ุมภายในที่จดั วางไว้
มีการสมคบกันฉ้อโกง หาผลประโยชน์รว่ มกัน
การถ ูกกดดันโดยภาครัฐ/การเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือ
โครงการรวมทัง้ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
NEXT
องค์ ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน
5.การติด
ประเมินผล
(Monitoring)
3.กิจกรรมการควบคุม
(Control Activities)
2.การประเมินความเสี่ ยง
(Risk Assessment)
1.สภาพแวดล้ อมของการควบคุม
(Control Environment)
แผนภูมิแสดงองค์ ประกอบตามมาตรฐานการควบคุมภายใน
องค์ ประกอบการควบคุมภายใน
สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง
• ปรัชญาและรู ปแบบการ
ทางานของผู้บริหาร
• ความซื่อสั ตย์และจริยธรรม
• ความรู้ ทักษะและ
ความสามารถของบุคลากร
• โครงสร้ างองค์ กร
• การมอบอานาจและหน้ าที่
ความรับผิดชอบ
• นโยบายวิธีการบริหารด้ าน
บุคลากร
• วัตถุประสงค์ ระดับองค์ กร
• วัตถุประสงค์ ระดับ
กิจกรรม
• การระบุปัจจัยเสี่ ยง
• การวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
• การบริหารความเสี่ ยง
กิจกรรมควบคุม
• การควบคุมแบบป้องกัน
(Preventive control)
•การควบคุมแบบค้ นพบ
(Detective Control)
•การควบคุมแบบแก้ ไข
(Corrective Control)
• การควบคุมแบบส่ งเสริม
(Directive Control)
สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามประเมินผล
• ข้ อมูลการดาเนินงาน
• ระบบสารสนเทศและ
การสื่ อสาร
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล
• ติดตามระหว่างปฏิบัติงาน
(Ongoing Monitoring)
• ประเมินผลเป็ นรายครั้ง
(Separate Evaluation)
• ประเมินการควบคุมด้ วย
ตนเอง
• ประเมินการควบคุมอย่ าง
เป็ นอิสระ
ขาดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
ประหยัด
รายงานการเงินไม่
น่าเชื่อถือ
P3
องค์
กร
P2
ไม่ปฏิบตั ิตาม กฎ
ระเบียบข้อบังคับ
P1
สาเหต ุ
เกิดจากบ ุคลากร
เกิดจากกระบวนการหรือขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน
เกิดจากการบาร ุงรักษาทรัพย์สิน
เกิดจากการใช้เทคโนโลยี
เกิดจากเหต ุการณ์ภายนอก
การขาดความสามารถของบุคลากร (incompetence)
การขาดความรค้ ู วามชานาญในงานที่รบั ผิดชอบ
การขาดความสามารถในการทางานเป็นทีม
การละเลยไม่ให้ความสาคัญกับผูร้ บั บริการ
ขาดการทางานแบบมืออาชีพ
การทุจริตของบุคลากร (Fraud)
การท ุจริตหรือกระทาผิดจรรยาบรรณ
ใช้ตาแหน่งหน้าที่เพื่อประโยชน์สวนตัว
การขาดจริยธรรมและจิตสานึกที่ดีของบ ุคลากร
บ ุคลากรไม่ซื่อสัตย์ส ุจริตมีการท ุจริตและประพฤติมิชอบ
เบียดบังเงินราชการโดยอาศัยช่องว่างของระเบียบ และ
ขาดจิตสานึกในการเบิกจ่ายโดยอ้างสิทธิโดยไม่เหมาะสม
ความผิดพลาดของบุคลากร (Human Error)
ความผิดพลาดของบ ุคลากรในการปฏิบตั ิงาน
ประมาทเลินเล่อไม่รอบคอบ
การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Management)
การบริหารทรัพยากรบ ุคคลไม่เหมาะสม เช่น บ ุคลากรมาก/น้อยไป
การด้อยประสิทธิภาพในการสรรหา
การมอบหมายงานไม่ตรงตามความสามารถ
การขาดการฝึกอบรมเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบตั ิงาน
การประเมินผลงานไม่ย ุติธรรม
ค่าตอบแทนไม่เหมาะสม
ไม่สามารถรักษาบ ุคลากรไว้ได้ บ ุคลากรลาออก/ย้าย
ทาให้การปฏิบตั ิงานขาดความต่อเนื่องและหย ุดชะงัก
การบริหารทรัพยากร (Resource Management)
ไม่มีอ ุปกรณ์ที่ให้ความสะดวกหรือมีไม่เพียงพอต่อความจาเป็น
ในการปฏิบตั ิงาน
อ ุปกรณ์ไม่อยูใ่ นสภาพที่ดีต่อการใช้งาน
การมีโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะกับงานหรือ
ล้าสมัย
ข้อบกพร่องของวิธีการ/ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานทาให้การปฏิบตั ิ
งานไม่มีประสิทธิภาพ
การจัดทาข้อมูลหรือรายงานทางการเงินล่าช้า ขาดความ
น่าเชื่อถือ
การหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ
ความเสี่ยงจากการตีความกฎระเบียบให้เอื้อต่อการดาเนินงาน
การเข้าใจไม่ตรงกันในการสื่อสาร
การสื่อสารไม่ทวั่ ถึงท ุกส่วนงานที่เกี่ยวข้อง
การขาดการประสานงาน/ร่วมมือที่ดีระหว่างส่วนงาน
การขาดมาตรฐาน/คมู่ ือ การปฏิบตั ิงาน
การขาดระบบการตรวจสอบ/การควบค ุม/บริหารความเสี่ยง
การใช้ทรัพยากรไม่ประหยัด ขาดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
การจัดทาข้อมูลหรือรายงานทางการเงินล่าช้า ขาดความ
น่าเชื่อถือ
ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับผูป้ ฏิบตั ิไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีการกลัน่
กรอง ไม่เพียงพอ ไม่ถ ูกต้อง และไม่ทนั เวลา
ฝ่ายบริหาร/คกก.ใช้อานาจหน้าที่โดยมิชอบ
ความเสี่ยงจากการนาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ไม่คม้ ุ ค่า
ให้เกิดประโยชน์สงู ส ุด
ความเสี่ยงจาก ท/ส สญ
ู หาย สูญเปล่า สิ้นเปลือง ท ุจริต
การจาหน่าย ท/ส ราคาไม่เหมาะสม นาส่งรายได้ไม่ครบ
ความเสียหายที่เกิดจากการการจัดซื้อ/จ้าง ไม่ปฏิบตั ิ
ตาม กม.ระเบียบข้อบังคับหรือพันธะผูกพันตามสัญญา
ไม่มีคมู่ ือการบาร ุงรักษา
ไม่มีการตรวจสอบหรือทดสอบสภาพการใช้งานของทรัพย์สนิ
เพื่อให้ทรัพย์สินมีสภาพพร้อมใช้งาน
สถานที่เก็บรักษาไม่ปลอดภัย
การด ูแลทรัพย์สินของทางราชการไม่ทวั่ ถึง
ไม่ได้ทาบันทึกหลักฐานการซ่อมบาร ุงรักษา
การซ่อมบาร ุงไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการควบค ุม
การขาดระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
การขาดมาตรการควบค ุมและตรวจสอบระบบ
การขาดแผนสารองฉ ุกเฉิน
ปัญหาจากกระแสไฟฟ้าขัดข้อง
การเกิดไวรัส
ความผิดพลาด/ไม่สมบูรณ์ของโปรแกรมที่ใช้
การเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รบั มอบหมาย
การเกิดอ ุบัติภยั ต่าง ๆ เช่นไฟไหม้ น้าท่วม แผ่นดินไหว
การขาดแผนรองรับเหต ุการณ์ฉ ุกเฉินต่าง ๆ เกี่ยวกับภารกิจ
เกิดการจลาจล และการก่อการร้าย
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี
หน้าที่ของผูบ้ ริหารระดับสูง
• จัดให้มีการควบค ุมภายในที่มี
ประสิทธิภาพประสิทธิผล และให้มีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
• ประเมินผลการควบค ุมภายในของหน่วยงาน
• กาหนดให้มีการตรวจสอบภายในให้เป็น
ส่วนหนึ่งของการควบค ุมภายใน
หน้าที่ของผูบ้ ริหารระดับรองลงมาท ุกระดับ
จัดให้มีการควบค ุมภายในของ
ส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ
สอบทานการปฏิบตั ิงานในหน่วยงาน
ที่ตนรับผิดชอบอย่างสม่าเสมอ
ปรับปร ุงเปลี่ยนแปลงการควบค ุม
ภายในอยูเ่ สมอ
โครงสร้ างการแบ่ งงานภายในสานักงานสาธารณสุ ข
สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัด
ฝ่ ายบริหารทั่วไป
งานธุรการ
งานการเงิน
งานพัสดุ
งานบุคลากร
งานประชาสัมพันธ์
กลุ่มงานประกันสุ ขภาพ
กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์
งานลงทะเบียน
งานแผนงาน
ศูนย์ เรียกเก็บเงิน
งานข้ อมูลข่ าวสาร
กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค
งานประสาน
งานกากับตรวจสอบ
กลุ่มสนับสนุนวิชาการ
งานประยุกต์ ใช้
เทคโนโลยี
งานพัฒนาบุคลากร
งานแผนงบประกันสุ ขภาพ
งานระบาดวิทยา
คุณภาพสถานพยาบาล
งานรับเรื่องราวร้ องทุก
งานประเมิน
งานดาเนินการตามกม.สธ งานแนะนาเผยแพร่
งานนิเทศ
โครงสร้ างการแบ่ งงานภายในของโรงพยาบาล
โรงพยาบาล.........................
ฝ่ ายบริหารทั่วไป
กลุ่มการพยาบาล
งานธุรการ
งานผู้ป่วยใน
งานการเงิน
งานผู้ป่วยนอก
งานพัสดุ
งานผู้ป่วยอุบัตเิ หตุ/ฉุกเฉิน
งานวิสัญญีพยาบาล
งานบุคลากร
งานห้ องคลอด
สวัสดิการสังคม
งานห้ องผ่าตัด
แผนและยุทธศาสตร์
กลุ่มเวชกรรมสังคม
งานรักษาพยาบาลชุมชน งานทันตกรรม
งานส่ งเสริมป้ องกัน
งานเภสัชกรรม
งานบริการสุ ขภาพชุมชน งานรังสีวทิ ยา
งานงานป้ องกันควบคุมการติดชื้อ
งานจ่ ายกลาง
กลุ่มบริการทางการแพทย์
งานเวชกรรมฟื้ นฟู
กลุ่มเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน
อายุรกรรม
ศัลยกรรม
สู ตขิ นรีเวชกรรม
จักษุ
โสต ศอ นาสิก
โครงสร้ างการแบ่ งงานภายในของสถานีอนามัย
สถานีอนามัย.........................
ฝ่ ายบริหารทั่วไป
งานธุรการ
งานการเงิน
งานพัสดุ
งานบุคลากร
งานรักษา
งานส่ วเสริมสุ ขภาพ
ฟื้ นฟูสุภาพ
ควบคุม/ป้ องก้น
ความเชื่อมโยงการควบค ุมภายใน
ระดับกิจกรรมและระดับองค์กร
หน่ วย
งาน
3
ส่ วนงาน
ย่ อย
2
1
กระบวนงานที่วางระบบควบค ุมภายใน
ภารกิจหลัก
1. ภารกิจ
1.1 …………
1.2…………
2. กระบวนการปฏิบตั ิงาน
2.1 ………………
2.2…………………………
2.3 …………………………
2.4…………………………….
2.5…………………………..
2.6……………………………..
2.7…………………………….
2.8……………………………..
ฯลฯ
ภารกิจสนับสน ุน
1. การเงินการบัญชี
กระบวนการปฏิบตั ิ
•…………………..
•…………………..
2. การจัดซื้อจัดจ้าง
กระบวนปฏิบตั ิ
•……………………
•……………………
3.การบริหาร HR
•…………………
•………………….
3.งานสารบรรณ
•………………….
•…………………
ผังกิจกรรมงานสารบรรณ
รับหนังสื อ
จากภายนอก
5นาที
ลงทะเบียนรับ
เอกสาร
5นาที
ด่ วนมาก
พิจารณาคัดแยก
หนังสื อส่ ง
จัดเก็บเข้ าแฟ้ ม
ตามระบบงาน
สารบรรณ
ส่ งผู้เกีย่ วข้ องดาเนิน
การทันที
ทาสาเนาแจ้ งเวียนฝ่ าย
ต่ างๆดาเนินการ
เพือ่ จัดเก็บ เสนอหน.พิจารณา เพือ่ ทราบ/เวียน
-สาเนาเรื่อง
สั
่
ง
การ
5นาที
-ออกเลขที่หนังสื อเวียน
1/2วัน
-จัดส่ งฝ่ ายต่ างๆ
ส่ งผู้เกีย่ วข้ อง
ดาเนินการ
10นาที
กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย
5. ประเมินซ้า
5.1 เฝ้ ำระวัง
5.2 รำยงำน
5.3 ตรวจเยีย่ ม
5.4 สังเครำะห์ขอ้ มูล
5.5 ให้ขอ้ มูลผูป้ ่ วย
1. เตรียม
1.1 จัดลำดับควำมรุนแรง
1.2 ให้ขอ้ มูลทัวไป
่
1.3 ลงนำมยินยอม
1.4 Patient Identification
1.5 ส่งต่อหำกรักษำไม่ได้
1.6 เตรียมสถำนที่
1.7 เตรียมอุปกรณ์
1.8 เตรียมเจ้ำหน้ำที่
2. ประเมิน & วินิจฉัยโรค
2.1 ซักประวัติ
2.2 ตรวจร่ำงกำย
2.3 ตรวจชันสูตร
2.4 ตรวจทำงรังสี
2.5 Investigate อืน่ ๆ
2.6 วินิจฉัยโรค
2.7 วินิจฉัยปัญหำอืน่
3. วางแผน
3.1 วำงแผนของแต่ละวิชำชีพ
3.2 ประสำนแผน
3.3 กำรมีสว่ นร่วมของผูป้ ่ วย/ญำติ
3.4 สังกำรรั
่ กษำ
3.5 มอบหมำยควำมรับผิดชอบ
3.6 เตรียมเครื่องมือ/อุปกรณ์
6. กิจกรรมคู่ขนาน
6.1 บันทึก
6.2 ให้ขอ้ มูล/สุขศึกษำ
6.3 วำงแผนจำหน่ำย
6.4 เรียกชำระเงิน
4. ดูแลรักษา
4.1 แก้ปญั หำฉุกเฉิน
4.2 ยำ
4.3 พยำบำล
4.4 อำหำร
4.5 ผ่ำตัดและระงับควำมรูส้ กึ
(ก่อน-ระหว่ำง-หลัง)
4.6 หัตถกำรอืน่ ๆ
4.7 กำรดูแลอืน่ ๆ
7. จาหน่ าย
7.1 เตรียมกำรดูแลทีบ่ ำ้ น
7.2 ส่งต่อ
7.3 นัดติดตำม
ตัวอย่ างแสดงกระบวนการหลักของหน่ วยฉุกเฉิน
แรกรับผู้ป่วย
- เคลือ่ นย้ าย
- ค้ นหา/
จัดทาเวช
ระเบียน
ประเมินสภาพ
- ซักประวัติ
- ตรวจร่ างกาย
- ประเมิน
สภาพ
- จาแนกผู้ป่วย
ให้ การรักษา
สื บค้ นโรค
- ปรึกษาแพทย์ - X-Ray
- ให้ การรักษา - Lab
- ให้ การ
พยาบาล
- ให้ สุขศึกษา
- ติดตามผล
จาหน่ าย
- จาหน่ าย
- ตาย
- รับเป็ นผู้ป่วย
ใน
- ส่ งต่ อ
- ชาระเงิน/รับ
ยา
- นัดหมาย
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ ยงจากกระบวนการหลัก
 งานอนามัยแม่และเด็ก
1.ซักประวัติ
1.1 สอบถามข้อมูล
ทัว่ ไป
1.2 สอบถาม
ประวัติสุขภาพ
1.3 สอบถาม
ประวัติทางสูติ
ศาสตร์
2.คัดกรอง
2.1 ชัง่ น้ าหนัก
2.2 วัดส่ วนสู ง
2.3 วัดความดัน
โลหิ ต
3.ให้บริ การ
3.1 ตรวจร่ างกาย
ทัว่ ไปและตรวจ
ครรภ์ตามเกณฑ์
มาตรฐาน
4.ให้สุขศึกษา
และการนัด
บริ การครั้ง
ต่อไป
3.2 ตรวจโลหิ ต
4.1 ให้คาแนะนา
3.3 ฉี ดวัคซี น
ป้ องกันบาดทะยัก
4.2 นัดหมาย
3.4 จ่ายยา
ความเสี่ยง
จากการซักประวัติ
- ผูป้ ่ วยพูดไม่ตรงความจริงเกี่ยว
กับประวัติของตนเอง
- เจ้าหน้าที่ซกั ประวัติไม่ครอบคล ุม
- เจ้าหน้าที่ไม่มีความร ้ ู ความชานาญ
เพียงพอในการซักประวัติ
กระบวนการปฏิบตั ิงานในคลังยา
1. การรับยาและเวชภัณฑ์จากบริษทั
2. การตรวจรับโดยคณะกรรมการ
3. การลงทะเบียนรับในระบบ
4. การงทะเบียนรับใน Stock Card และนายาเข้าเก็บบนชัน้ ยา
5. ลงทะเบียนจ่ายยาในระบบ
6. การตัดจ่ายใน Stock Card และนายาออกจากขัน้ ยา
7. การตรวจสอบซ้า ก่อนจ่ายยาและเวชภัณฑ์ให้แก่หน่วยเบิก
8. การนายาและเวชภัณฑ์ที่เบิกเสร็จเรียบร้อยให้หน่วยเบิก
8 มีการตรวจสอบท ุก ๆ 3 เดือน
9. การรายงานข้อมูลเกี่ยวกับยาและเวชภัณฑ์
1.การรับยาและเวชภัณฑ์จากบริษทั
วัตถ ุประสงค์
เพื่อให้การรับยาและ
เวชภัณฑ์จากบริษทั
เป็นไปอย่างถูกต้อง
รวดเร็ว มีมาตรฐาน
และตรวจสอบได้
ความเสี่ยง
1.ยาและเวชภัณฑ์ที่รบั
จานวนไม่ตรงกับใบส่ง
ของ
2. ยาและเวชภัณฑ์ที่รบั
มีสภาพแตกหรือชาร ุด
3.เอกสารจากบริษทั สูญ
หาย
การควบค ุมที่มีอยู่
1.การตรวจนับจานวน
กล่องจากบริษทั
2. การลงทะเบียนรับ
จากบริษทั
3. การตรวจรับจานวน
เวชภัณฑ์ขนั้ ต้น
4.การตรวจสอบใบส่ง
ของ
5.กรรมการตรวจรับยา
2. การตรวจรับโดยคณะกรรมการ
วัตถ ุประสงค์
ความเสี่ยง
การควบค ุมที่มีอยู่
เพื่อให้ได้ยาและ
1. รับยาที่ดอ้ ยค ุณภาพ 1.การตรวจสอบเลข
ทะเบียนยา
เวชภัณฑ์ถกู ต้อง
ไม่ถกู ต้องตามข้อ
2.ตรวจสอบเลขที่ผลิต
ครบถ้วน และมี
กาหนดของยาแต่ละ
3.การตรวจสอบวันผลิต
ประสิทธิภาพ ภายใน
เวลาที่กาหนดและเป็นไป ชนิด
4.ตรวจสอบวันหมดอาย ุ
2. ปฏิบตั ิไม่ถกู ต้องตาม 5.การตรวจสอบราย
ตามระเบียบพัสด ุ
ละเอียดต่างๆ ในใบ
ระเบียบพัสด ุ
วิเคราะห์ยา
6.ตรวจสอบลักษณะ
ภายนอกของยาเทียบกับ
ใบวิเคราะห์
3. การลงทะเบียนรับในระบบ
วัตถ ุประสงค์
เพื่อให้การบันทึกข้อมูล
การรับยาและเวชภัณฑ์
ที่ผา่ นการตรวจรับลงใน
ระบบถกู ต้องเป็น
ปัจจุบนั และตรวจสอบได้
ความเสี่ยง
1.บันทึกข้อมูลรับยา
และเวชภัณฑ์ลงใน
ระบบไม่ถกู ต้อง
2.การบันทึกข้อมูลลง
ระบบล่าช้าไม่เป็น
ปัจจุบนั
การควบค ุมที่มีอยู่
1.การบันทึกข้อมูลการ
สัง่ ซื้อยาและเวชภัณฑ์
2.การบันทึกข้อมูลการรับ
ยาและเวชภัณฑ์จากการ
สัง่ ซื้อ
3.การประมวลข้อมูลการ
รับยาและเวชภัณฑ์จาก
การสัง่ ซื้อ
4. ก่อนประมวลข้อมูลต้อง
ตรวจสอบความถูกต้อง
ของข้อมูลก่อนเสมอ
4. การลงทะเบียนรับใน Stock Card และนายาเข้าเก็บบนชัน้ ยา
วัตถ ุประสงค์
ความเสี่ยง
การควบค ุมที่มีอยู่
เพื่อให้การบันทึกข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลรับยา 1.การลงทะเบียนรับยา
และเวชภัณฑ์ลงใน Stock
ลงใน Stock Card
และเวชภัณฑ์ลงใน
card
ถูกต้องและตรวจสอบได้ Stock Card ไม่ถกู ต้อง 2. การนายาและเวชภัณฑ์
แยกเก็บบนชัน้ ต่างๆ
มีการแยกเก็บยาตามชัน้ ไม่เป็นปัจจุบนั
ต่างๆ ถูกต้อง
2. การเก็บยาบนชัน้ ไม่
จัดแยกตามวัน
หมดอาย ุ
5. การลงทะเบียนจ่ายในระบบ
วัตถ ุประสงค์
เพื่อให้การบันทึกข้อมูล
การจ่ายยาและเวชภัณฑ์
ให้แก่หน่วยเบิกลงใน
ระบบถกู ต้องเป็น
ปัจจุบนั และตรวจสอบได้
ความเสี่ยง
1. บันทึกข้อมูลการ 1.
จ่ายยาและเวชภัณฑ์ลง
ในระบบไม่ถกู ต้อง
2.
1. การบันทึกข้อมูล
3.
การจ่ายยาลงระบบ
ล่าช้าไม่เป็นปัจจุบั
4.
การควบค ุมที่มีอยู่
การรับใบเบิกยาและ
เวชภัณฑ์จากหน่วย
เบิก
การตรวจสอบใบเบิก
ยาและเวชภัณฑ์
การลงทะเบียนตัด
จ่ายจากระบบ
การพิมพ์ใบจัดยา
และเวชภัณฑ์ตามใบ
เบิก
6. การตัดจ่ายใน Stock Card และนายาออกจากชัน้ ยา
วัตถ ุประสงค์
เพื่อให้การบันทึกข้อมูล
การจ่ายยาและเวชภัณฑ์
แก่หน่วยเบิกลงใน Stock
Card ถูกต้อง เป็น
ปัจจุบนั และตรวจสอได้
โดยการจ่ายยาและ
เวชภัณฑ์จะใช้ระบบ
First Exp Out
ความเสี่ยง
การควบค ุมที่มีอยู่
1. บันทึกข้อมูลการ 1. นาใบจัดยาและ
เวชภัณฑ์ตามใบเบิกไปตัด
จ่ายยาและเวชภัณฑ์ลง จ่ายใน Stock Card
ใน Stock Card ไม่
1. นายาและเวชภัณฑ์ที่
ถูกต้อง ไม่เป็นปัจจุบนั เบิกออกจากชัน้ ยาโดยใช้
ระบบ First Exp Out
1. ตรวจนับยอดคง
เหลือในคลังให้ตรงกับ
ยอดคงเหลือใน Stockcard
1. ตรวจนับยอดคง
เหลือในคลังให้ตรงกับใบ
จัดเวชภัณฑ์ตามใบเบิก
7. การตรวจซ้า (Double Check)
วัตถ ุประสงค์
1.
เพื่อให้หน่วยเบิกได้รบั
ยาและเวชภัณฑ์ถกู ต้อง
ตรงตามที่หน่วยเบิก
ต้องการทัง้ นิด และ
2.
ปริมาณ
ความเสี่ยง
การควบค ุมที่มีอยู่
หน่วยเบิกได้รบั ยา 1. ตรวจสอบยาและ
เวชภัณฑ์ซ้าก่อนจ่าย
และเวชภัณฑ์ไม่
ให้หน่วยเบิก
ถูกต้องตามที่
ต้องการ
หน่วยเบิกได้รบั ยา
และเวชภัณฑ์ใน
จานวนที่ไม่ถกู ต้อง
Back office
การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน
ด้านบริหารการเงิน
คมู่ ือการปฏิบตั ิงาน
• มีคมู่ ือปฏิบตั ิงานสาหรับเจ้าหน้าที่
• คมู่ ือมีการปรับปร ุงเป็นปัจจุบัน
• มีแนวทาง ระเบียบปฏิบตั ิภายใน และถือปฏิบตั ิ
การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน
ด้านบริหารการเงิน
การจัดโครงสร้างองค์กร
• ผังการจัดองค์กร งานการเงิน บัญชี
• การกาหนดภารกิจของแต่ละงาน
ขอบเขต อานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ
• คาสัง่ มอบอานาจ
• Flow Chart (แผนผังขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน)
• ผังทางเดินเอกสาร
การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน
ด้านบริหารการเงิน
การจัดคนปฏิบตั ิงาน
• Job Description ของแต่ละงาน/คน
• คาสัง่ มอบหมายงานตรงความรค้ ู วามสามารถ
• บ ุคลากรมีความซื่อสัตย์ มีจริยธรรม
การพัฒนาบ ุคลากร
• การสารวจความต้องการพัฒนาส่วนบ ุคคล
• การจัดทาแผนและหลักสูตรพัฒนาบ ุคลากร
• บรรยากาศการทางานเป็นทีม
การประเมินการควบค ุมภายใน
ด้านการเงิน
การรับเงิน
มีคาสัง่ ในการปฏิบตั ิหน้าที่เป็นลายลักษณ์อกั ษรและปฏิบตั ิตามคาสัง่
จัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างผูร้ บั กับผูจ้ ดั ทาบัญชี
มีการตรวจสอบการรับ-จ่าย กับหลักฐาน และการบันทึกรายการบัญชี
การรับส่งเงินมีหลักฐานลงชื่อระหว่างกัน พร้อมสอบยันสาเนาใบเสร็จ
ใบเสร็จที่ยกเลิกขีดฆ่าและเก็บกับต้นฉบับ
ผูต้ รวจสอบประจาวันปฏิบตั ิหน้าที่ท ุกวันและตรวจสอบจริงหรือไม่
NEXT
การประเมินการควบค ุมภายใน
ด้านการเงิน
การรับเงิน
มีการตรวจนับใบเสร็จกับทะเบียนค ุมใบเสร็จเป็นครัง้ คราว
ใบเสร็จที่ยงั ไม่ใช้เก็บรักษาในที่ปลอดภัย
มีการรายงานการใช้ใบเสร็จเมื่อสิ้นปีงปม.ไม่เกิน 31 ตค.ของปีงปม.
การถือเงินสดเป็นไปตามวงเงินที่ถกู กาหนดไว้
มีการออกใบเสร็จท ุกครัง้ ที่รบั เงินเป็นเช็ค ดร๊าฟ ธนาณัติ ตัว๋ แลกเงิน
มีการจัดทาทะเบียนค ุมการรับเช็ค
การประเมินการควบค ุมภายใน
ด้านการเงิน
การจ่ายเงิน
มีการตรวจสอบเอกสารการจ่ายท ุกครัง้ ก่อนขออน ุมัติจ่าย
มีการสอบทานรายการที่ขอเบิกกับหลักฐานตามใบสัง่ ซื้อและให้หมายเลข
กากับใบสาคัญ
มีการประทับตราลงชื่อรับรองการจ่ายในหลักฐานการจ่ายท ุกฉบับ
การจ่ายเงินให้ผร้ ู บั แทนมีใบมอบฉันทะและได้รบั อน ุญาตจากผูเ้ บิก
ใบเสร็จสูญหาย ไม่สามารถขอสาเนาได้ มีการขออน ุมัติผว้ ู ่า/อธิบดี
การประเมินการควบค ุมภายใน
ด้านการเงิน
การจ่ายเงิน
กาหนดให้มีการลงนามในเช็คมากกว่า 1 คน
การจ่ายเงินท ุกรายการมีการบันทึกบัญชีในวันที่จ่าย
การจ่ายเงินยืมมีการอน ุมัติกอ่ นจ่ายเงินยืม
การยืมเงินเป็นไปตามวัตถ ุประสงค์ที่กาหนด
มีการติดตามเร่งรัดสัญญายืมที่ครบกาหนดเป็นลายลักษณ์อกั ษร
ไม่อน ุมัติให้ยืมใหม่ถา้ เงินยืมรายเก่ายังไม่ชาระคืน
มีการสลักหลักสัญญายืมและออกใบรับใบสาคัญให้ผย้ ู ืม
จัดทางบเทียบยอดเงินฝากธนาคารท ุกบัญชี
การประเมินการควบค ุมภายใน
ด้านการเงิน
การเก็บรักษา
สถานที่และตน้ ู ิรภัยเก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย
คกก.เก็บรักษาเงินไม่ถือก ุญแจคนเดียว
เอกสารแทนตัวเงินเก็บรักษาในตน้ ู ิรภัย
มีการจัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวันท ุกวัน
กรรมการทาหน้าที่ตรวจนับท ุกครัง้ ก่อนนาเงินเข้าตน้ ู ิรภัย
กรรมการลงนามครบท ุกคนและท ุกวันเมื่อตรวจนับแล้ว
รายงานเงินคงเหลือประจาวันต้องนาเสนอผูบ้ ริหารท ุกวัน
การประเมินการควบค ุมภายใน
ด้านการเงิน
การเก็บรักษา
รายงานเงินคงเหลือประจาวันต้องนาเสนอผูบ้ ริหารท ุกวัน
กรรมการลงนามครบท ุกคนและท ุกวันเมื่อตรวจนับแล้ว
เมื่อนาเงินออกจากตน้ ู ิรภัยในวันทาการถัดไป การเงินได้ลงลายมือ
ชื่อรับเงินไว้ในรายงานเงินคงเหลือประจาวัน
ไม่เก็บเงินเกินวงเงินที่ได้รบั อน ุญาต
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การจัดซื้อ/จัดจ้าง
มีคมู่ ือการปฏิบตั ิงานด้านพัสด ุ
มีผงั ทางเดินเอกสาร (Flow Chart) ขัน้ ตอนการปฎิบตั ิงาน
มีผงั การไหลเวียนของงาน (work Flow) และกาหนดจุดควบค ุม
มีการแบ่งแยกหน้าที่จดั หา/ควบค ุม/เบิกจ่าย
มีการจัดทาแผนการจัดหาประจาปี
มีการสารวจความต้องการของหน่วยเบิกเพื่อนามาจัดทาแผนจัดหา
มีการจัดทาสถิติ ราคาวัสด ุเพื่อประกอบการตัดสินใจ
มีการตรวจสอบเรือ่ งการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
การจัดทารายงานขอซื้อ/จ้าง มีการกาหนดสาระสาคัญตามระเบียน
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การเผยแพร่ขา่ วสาร
มีการเผยแพร่ข่าวสารลงทะเบียนตรงหน่วยงานตามมติ ครม./ระเบีบย
ส่งก่อนวันเปิดซองสอบราคา/ประกวดราคา ไม่นอ้ ยกว่าระเบียบกาหนด
มีบอร์ดติดประกาศการสอบราคา/ประกวดราคา ณ ที่ทาการ
มีรายงานว่าได้ติดประกาศการสอบราคา/ประกวดราคาท ุกครัง้
มีคาสัง่ แต่งตัง้ ผูต้ ิด/ผูป้ ลดประกาศออกที่มิใช่เป็นบ ุคคลเดียวกัน
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การขายแบบ
มีหลักฐานการให้หรือการขายแบบ
ขาย ณ สถานที่สามารถติดต่อได้สะดวก
มีการจัดเตรียมแบบไว้มากพอสาหรับความต้องการ
กรณีประกวดราคาเริม่ ดาเนินการให้หรือขายก่อนวันรับซองไม่นอ้ ย
กว่า 7 วัน และให้มีช่วงเวลาในการซื้อขายแบบไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การตรวจรับ/ตรวจการจ้าง
มีการตรวจการจ้าง ณ ที่ทาการของผูใ้ ช้หรือสถานที่กาหนดในสัญญา
มีใบส่งของ/รายงานผลการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้าง
ส่งหลักฐานการเบิกหลังจากตรวจรับให้ฝ่ายการเงินภายในกาหนด
ผูค้ วบค ุมงานรายงานผลการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้างให้ คกก.ตรวจ
การจ้างท ุกสัปดาห์
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การควบค ุมพัสด ุ
จัดทาบัญชีค ุมวัสด ุเป็นปัจจุบนั
มีหลักฐานการรับ-จ่ายวัสด ุครบถ้วน
มีการตรวจสอบหลักฐานรับ-จ่ายกับบัญชีค ุมวัสด ุท ุกสิ้นเดือน
กรรมการตรวจสอบพัสด ุทาหน้าที่ตรวจสอบภายในระยะเวลาที่กาหนด
รายงานพัสด ุประจาปีตามระยะเวลาที่ระเบียบกาหนด
มีการตรวจสอบวัสด ุคงเหลือตามบัญชีกบั คลังเก็บวัสด ุเป็นครัง้ คราว
มีมาตรการควบค ุมการใช้วสั ด ุที่เบิกไปแล้ว ให้เกิดความคม้ ุ ค่า
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การควบค ุมพัสด ุ
จัดทาทะเบียนค ุมสินทรัพย์ร ูปแบบของกรมบัญชีกลาง
มีหลักฐานการรับและจ่ายสินทรัพย์ตามทะเบียนครบถ้วน
มีการตรวจสอบทรัพย์สินกับทะเบียนค ุมเป็นครัง้ คราว
บันทึกการเปลี่ยนแปลงท ุกครัง้ ที่เคลื่อนย้ายสินทรัพย์
สถานที่เก็บรักษาปลอดภัย เหมาะสม
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การบาร ุงรักษา
มีการจัดทาแผนการซ่อมบาร ุงรักษาตามระยะเวลา
มีคมู่ ือการใช้และบาร ุงรักษา
มีการรายงานพัสด ุชาร ุดที่ไม่คม้ ุ ค่ากับการซ่อมเพื่อขอจาหน่าย
มีการควบค ุมพัสด ุที่ชาร ุดรอการจาหน่วยไว้ในที่ปลอดภัย
มีการตรวจสอบความชาร ุดท ุกครัง้ ที่มีการแจ้งขอซ่อม
มีการกาหนดให้มีการตรวจสอบสภาพพร้อมใช้ของท/ส สม่าเสมอ
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านพัสด ุ
การตรวจสอบและจาหน่าย
มีคาสัง่ แต่งตัง้ กรรมการตรวจสอบพัสด ุประจาปี
มีการรายงานผลการตรวจสอบพัสด ุประจาปีตามระยะเวลา
มีคาสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการหาข้อเท็จจริง กรณีพสั ด ุสูญหาย
มีคาสัง่ แต่งตัง้ กรรมการประเมินราคากลางในการจาหน่าย
มีคาสัง่ แต่งตัง้ กรรมการจาหน่ายพัสด ุกรณีมีพสั ด ุชาร ุด
มีการประกาศขายทอดตลาดพัสด ุที่จาหน่าย กรณีมลู ค่าได้มา
รวมกันไม่เกิน 100,000 หรือขายด้วยวิธีตกลงราคากรณีมลู
ค่าที่ไดมารวมกันไม่ 100,000
มีรายงานผลการจาหน่าย
มีการบันทึกการจาหน่ายออกจากทะเบียนค ุมสินทรัพย์
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านระบบสารสนเทศ
อ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์
มีการกาหนดนโยบายให้แต่ละหน่วยงานมีการด ูแลรักษาอ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์
มีขอ้ แนะนาหรือให้การฝึกอบรมการใช้อ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์กบั ผูใ้ ช้
อ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์เกิดความเสียหายหรือทางานไม่ได้มีการรายงานให้ทราบ
และมีการแก้ไขทันที
มีการบาร ุงรักษาอ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตามระยะเวลาที่กาหนด
การจัดซื้ออ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีการประสานและวางแผนกับผูเ้ กี่ยวข้องเพื่อ
ให้มนั่ ใจว่าในระยะยาวคอมพิวเตอร์ที่จดั ซื้อจะเข้ากันได้กบั คอมพิวเตอร์อื่น
การประเมินระบบการควบค ุม
ด้านระบบสารสนเทศ
การป้องกันด ูแลรักษาสารสนเทศ
มีการกาหนดค ุณสมบัติของผูร้ บั ผิดชอบด้านความปลอดภัยของระบบ
สารสนเทศเพื่อความมัน่ ใจในความปลอดภัยของสารสนเทศ
มีการควบค ุมการเข้าถึงข้อมูลในระบบโดยใช้รหัสผ่าน
แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่สาคัญมีการกาหนดให้จดั แฟ้มสารอง และการเก็บ
รักษา
มีนโยบายควบค ุมความเสี่ยงจากการใช้ Internet
มีการอน ุมัติท ุกครัง้ ที่มีการปรับเปลี่ยนโปราแกรม หรือลักษณะรูปแบบการ
ประมวลผลของระบบสารสนเทศ
แบบ 1
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบค ุมระดับส่วนงานย่อย
หน่วยงาน ..................................... ส่วนงานย่อย ................
ภารกิจหลัก
ภารกิจย่อย
วัตถ ุประสงค์
กระบวนงาน / ขัน้ ตอน
การประเมินความเสี่ ยงและการควบคุมภายในระดับส่ วนงานย่ อย
แบบ 2
กระบวนงาน.....................................................
ขั้นตอน
วัตถุ
ประสงค์
ระบุ
ความเสี่ ยง
ระดับ
โอกาส สู ญเสี ย ความ
เสี่ ยง
การควบคุม
ทีม่ อี ยู่
สรุปการประเมินความเสี่ ยงและควบคุมภายในระดับส่ วนงานย่ อย
แบบ 3
กระบวนงาน...................................................................
ระบุ
ความเสี่ ยง
โอ
กาส
สู ญ
เสี ย
ระดับ
ความ
เสี่ ยง
การควบคุม
ทีม่ อี ยู่
การควบคุมทีจ่ ะ
ปรับปรุ ง
ลาดับการ
ปรับปรุ ง
ชื่อหน่วยงาน...
แบบ ปม.
แบบประเมินการควบค ุมภายใน
สาหรับงวดตัง้ แต่วนั ที่.........เดือน.........พ.ศ.......ถึงวันที่.......เดือน.....พ.ศ..........
1
2
กระบวนการปฏิบัติ
งาน/โครงการ/
กิจกรรม/ด้ านของ ความเสี่ ยงทีย่ งั มี
งานทีป่ ระเมินและ อยู่และสาเหตุ
วัตถุประสงค์ ของ
การควบคุม
3
4
5
ระดับ
วัตถุ
ประสงค์ ความ
การควบคุม
เสี
่
ย
ง
ของการ
ทีม่ อี ยู่
ควบคุม (พิจารณา)
ด้ าน.... โอกาสและ
ผลกระทบ
6
7
8
การประเมินผล
การควบคุม
จุดอ่อนและ
สาเหตุ
การปรับปรุง
การควบคุม
ชื่อหน่วยงาน.............
แผนการปรับปร ุงการควบค ุมภายในระดับ......
ณ วันที่.........เดือน.........พ.ศ................
แบบ ปย.3
กาหนด หมาย
จุดอ่อนของ งวด
กิจกรรม/ การควบคุม ที่ การปรับปรุง เสร็จ/ เหตุ
พบ
ผู
ร
้
บ
ั
วัตถุประสงค์ ภายใน
ผิ ดชอบ
ลายมือชื่อ/ตาแหน่ ง/วันที่
วัตถ ุประสงค์การติดตาม การประเมินผล
แผนปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
 ได้ดาเนินการตามแผนปรับปร ุงหรือไม่
 สถานะการดาเนินการเป็นอย่างไร
 มีการสื่อสารให้บ ุคลากรถือปฏิบตั ิหรือไม่
 เมื่อปฏิบตั ิตามแผนแล้วได้ผลตามวัตถ ุประสงค์หรือไม่
ลดความเสี่ยงให้อยูใ่ นระดับยอมรับได้หรือไม่
 มีความเห็น/ข้อเสนอแนะอื่นอย่างไร
ใครเป็นผูต้ ิดตาม/ประเมินผล
ประเมินตนเอง โดยฝ่ายบริหาร (ฝ่ายบริหารท ุกๆ ระดับ)
ประเมินแบบอิสระโดยผูไ้ ม่มีสว่ นเกี่ยวข้อง
การบริหารความเสี่ยงทัว่ ทัง้ องค์กร
(Enterprise Risk Management)
ERM
หมายถึง การบริหารปัจจัย และควบค ุมกิจกรรม รวม
ทัง้ กระบวนการดาเนินงานต่าง ๆ เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดความ
เสียหาย ให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ ประเมินได้ ควบค ุมได้ โดย
คานึงถึงการบรรล ุเป้าหมาย ทัง้ ด้านกลย ุทธ์ ด้านการปฏิบตั ิ
ตามกฎระเบียบ ด้านการเงิน และชื่อเสียงขององค์กรเป็น
สาคัญ โดยการมีสว่ นร่วมการบริหารความเสี่ยงจากหน่วยงาน
ท ุกระดับทัว่ ทัง้ องค์กร
COSO Models
Internal Controls vs. Risk Management
Objective Setting
Event Identification
Risk Assessment
Risk Response
Control Activities
Information and Communication
Monitoring
Entity-Level
Division
Business Unit
Subsidiary
Internal Environment
กระบวนการบริหารความเสี่ ยง
1.กาหนดวัตถุประสงค์
2.ระบุความเสี่ ยง
6.ประเมินผลการจัดการ
และแผนบริหารความเสี่ ยง
3.ประเมินความเสี่ ยง
4.จัดการและจัดทาแผน
บริหารความเสี่ ยง
5.รายงานและ
ติดตามผล
ตารางแสดงการวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
ผลกระทบของความเสี่ ยงต่ อองค์ กร
โอกาสทีจ่ ะเกิดความเสี่ ยง
โอกาสที่จะเกิด
ความเสี่ยง
ความถีโ่ ดยเฉลีย่
คะแนน
ผลกระทบ
มูลค่าความเสียหาย
คะแนน
สู งมาก
1 เดือนต่ อครั้งหรือมากกว่า
5
สู งมาก
> 10 ล้านบาท
5
สู ง
1 – 6 เดือนต่ อครั้งแต่ ไม่ เกิน 5 ครั้ง
4
สู ง
> 2.5 แสนบาท-10 ล้านบาท
4
ปานกลาง
1 ปี ต่ อครั้ง
3
ปานกลาง
> 50,000 - 2.5 แสนบาท
3
น้ อย
2 – 3 ปี ต่ อครั้ง
2
น้ อย
> 10,000 - 50,000 บาท
2
น้ อยมาก
5 ปี ต่ อครั้ง
1
น้ อยมาก
ไม่ เกิน 10,000 บาท
1
ผลกระทบ
การจัดระดับความเสี่ยง
5
5
10
15
20
25
4
4
8
12
16
20
3
3
6
9
12
15
2
2
4
6
8
10
1
1
2
3
4
5
1
2
โอกาสเกิด
3
4
5
ระดับ
ความ
เสี่ ยง
ระดับ
คะแนน
แทน
ด้ วย
แถบสี
ความหมาย
- ระดับที่ยอมรับได้โดยไม่ตอ
้ง
ต่า
ปาน
กลาง
1-3
ควบคุมความเสี่ ยง ไม่ตอ้ งมี
การจัดการเพิ่มเติม
- ระดับที่พอยอมรับได้แต่ตอ้ งมีการ
4-9
ควบคุมเพื่อป้ องกันไม่ให้ความเสี่ ยง
เคลื่อนย้ายไปยังระดับที่รับไม่ได้
- ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้โดย
สู ง
10-16
ต้องจัดการความเสี่ ยงเพื่ออยูใ่ นระดับ
ที่รับได้
- ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้
สู งมาก
17-25
จาเป็ นต้องเร่ งจัดการความเสี่ ยงให้อยู่
ระดับที่ยอมรับได้ทนั ที
ผังภาพแสดงการวัดระดับความสาคัญของความเสี่ ยง
ความเสี่ยงปานกลาง
สูง

ผล
กระ
ทบ
ต่า

ผลกระทบ - สู ง
โอกาส - ต่า
ความเสี่ยงสูง
 ผลกระทบ  โอกาส -
ความเสี่ยงต่า


ต่า
ผลกระทบ - ต่า
โอกาส - ต่า
สู ง
สู ง
ความเสี่ยงปานกลาง


ผลกระทบ - ต่า
โอกาสเกิด - สู ง
โอกาสที่จะเกิด
สูง
Q
&
A