ารเสวนา ลุ่มย่ อย ในการสัมมนาการบริหารจัดการนา้ แบบบูรณาการ ในลุ่มนา้ สาขาแม่ นา้ ตรั ง ในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555

Download Report

Transcript ารเสวนา ลุ่มย่ อย ในการสัมมนาการบริหารจัดการนา้ แบบบูรณาการ ในลุ่มนา้ สาขาแม่ นา้ ตรั ง ในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555

ารเสวนา
ลุ่มย่ อย
ในการสัมมนาการบริหารจัดการนา้ แบบบูรณาการ
ในลุ่มนา้ สาขาแม่ นา้ ตรั ง ในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555
วัตถุประสงค์
1) ร่ วมทบทวนสถานการณ์ ในลุ่มนา้
สาขาแม่ นา้ ตรั ง
2) ร่ วมกาหนดแนวทางการจัดการลุ่มนา้
บนฐานการมีส่วนร่ วมและบูรณาการ
แบ่ ง 5 กลุ่มย่ อย
1. การจัดการพืน้ ที่ต้นนา้
2. การกาหนดผังการใช้ ท่ ดี นิ และโครงข่ ายนา้
3. การป้องกันและแก้ ไขปั ญหานา้ ท่ วมดินถล่ ม
4. การดูแลรักษาคุณภาพนา้
5. การบริหารจัดการ
ขอบเขต
ลุ่มนา้ สาขาแม่ นา้ ตรัง
สรุ ป การเสวนา
กลุ่มย่ อย
กลุ่ม 1
การจัดการพืน้ ที่ต้นนา้ และ
โครงข่ ายนา้
ผ้ ูร่วมเสวนา
จานวน 63 คน
ประกอบด้ วย อุทยานแห่ งชาตินา้ ตกโยง, เทศบาล,
สถาบันการศึกษา, ชุมชน, ทหาร ตารวจ, และสนง.
เกษตรอาเภอ
ผู้ดาเนินการ: นายประดิษฐ์ บุญปลอด
ผู้นาเสนอ: นายณัฐพล รั ตนพันธุ์
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• การบุกรุ กป่ า จะโทษจนท.บ้ านเมือง หรื อคนบุกรุ ก
(โดยภาพรวม)
• ขาดข้ อมูลการไหลของนา้ ในหน้ าฝน ทาอย่ างไรจะเก็บ
นา้ ได้ ในหน้ าแล้ ง อ.ทุ่งสง การจัดทาวิธีชะลอนา้
• โครงการอนุรักษ์ ป่าธรรมชาติ
• มีการใช้ สารเคมีมาใช้ ในการเกษตร
• ลาคลองบุกรุ กโดยตัวอาคาร
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• การบุกรุ กที่สาธารณะชน โดยนายทุน หรื อชาวบ้ าน
• บุกรุ กดูดทรายและนา้ มีการตัดต้ นไม้ ริมคลอง บุกรุ ก
ป่ าสาคู (ฟื ้ นฟูป่าชุมชน โครงการอนุรักษ์ ป่าสาคู
ตรวจสอบการดูดทราย จ.ตรั ง)
• นา้ เปลี่ยนสีบริเวณต้ นนา้ จะต้ องมีเจ้ าภาพรั บผิดชอบ
หลัก บนภูเขากลายเป็ นสวนยางพารา ใช้ ยาฆ่ าตอ
ปลูกยางแทน ขาดความเข้ าใจ จิตสานึก (ใช้ อานาจ
กฎหมายจัดการ ทาประชาคมเพื่ออนุรักษ์ ต้นนา้ และ
ส่ งเสริมการปลูกพืชผสมผสาน ศึกษาวิจัยคลองท่ าแพ)
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• กองทุนสงเคราะห์ การทาสวนยางควรจะศึกษาการปลูกพืช
อย่ างอื่นร่ วมได้
• สารวจหาพืน้ ที่เก็บนา้ ไว้ ใช้ ในฤดูแล้ ง
• ปั จจุบันมีการแก้ ปัญหาที่ปลายเหตุ
• ควรมีการกระจายอานาจสู่ อปท.
• อปท. ไม่ มีอานาจ มีแต่ อานาจปลายทาง
2. แนวทางการจัดการ
1.เพิม่ พืน้ ทีส่ ี เขียว
• ปลูกป่ าชุมชน
• ดูแนวเขตห้ วย หนอง คลอง บึง ฝากหน่วยงานที่รับผิดชอบ
• ปฏิบตั ติ ามแนวทางที่แบ่งเป็ นเขตไว้ แล้ วทาตามที่หวั หน้ าอุทยาน
นาเสนอแล้ วให้ เป็ นจริง มีการแบ่งพื ้นที่ปลูกป่ าแทนปลูกยางพารา
• ทาสะพานแทนวางท่อบล็อกในคลองสายใหญ่ๆ
• กาหนดพื ้นที่เขตป่ าอนุรักษ์ ป่ าชุมชน ให้ ชดั เจนเพิ่มขึ ้นกว่าเดิม
• ประชาสัมพันธ์เขตพื ้นที่ป่าให้ ชมุ ชนบริเวณนันๆ
้ ทราบพร้ อมรูปแผนที่
• กาหนดพื ้นที่เอกชนที่อยูต่ ดิ พื ้นที่ปา ให้ ปลูกต้ นไม้ ยืนต้ น (เบญจพรรณ)
ไม่น้อยกว่า 30 % ของพื ้นที่
1.เพิม่ พืน้ ทีส่ ี เขียว(ต่ อ)
• ประชาชนที่บกุ รุกพื ้นที่ป่าโดยพืชเชิงเดี่ยว ให้ เก็บเกี่ยวผลประโยชน์ได้ โดยไม่
ต้ องโค่นตัดขายเนื ้อไม้ หากผิดเงื่อนไขให้ ยดึ คืนพื ้นที่
• ดาเนินการยึดคืนพื ้นที่ป่ากลับคืน เป็ นขันตอนตามระยะเวลา
้
• ลาคลองหรื อลาธารสาขาที่อยูใ่ นพื ้นที่มีความลาดชันเกิดการกัดเซาะตลิ่ง
กาหนดให้ ท้องถิ่นสร้ างฝายแม้ วเพื่อชะลอความเร็วของน ้าและเก็บกักน ้าเป็ น
ระยะ
• พื ้นที่ป่าต้ นน ้าต้ องสมบูรณ์ ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชัน้ 1 ,2
• สร้ างสวนสมรมในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชัน้ 3,4 (ไม้ ออ่ น ไม่แข็ง) ในสัดส่วนที่
เหมาะสม
• เพิ่มพื ้นที่สีเขียวตามความสมัครใจในพื ้นที่ชนั ้ 5
2.ปลูกหญ้าแฝก
3. ขุดบ่อน้ าตื้น
4.อบรมสร้ างจิตสานึก
• ช่วยจัดการให้ ชมุ ชนมีบทบาทจริงๆ รัฐไม่ต้องครอบงา อานาจที่แท้ จริงไม่ได้
อยูท่ ี่ประชาชน
• ควรจัดทาหลักสูตรท้ องถิ่นในการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมทุกช่วงชัน้ ในสาระที่
เกี่ยวข้ องกับพืช ดิน และน ้า
• จนท.ของรัฐควรเอาใจใส่ดแู ลการทาลายป่ าต้ นน ้าอย่างเคร่งครัด
• การร่วมมือกันแก้ ไขปั ญหาอย่างจริงจัง ผู้นาท้ องถิ่นต้ องมีจิตสานึก อย่าหวัง
แต่คะแนนต้ องแก้ ปัญหาให้ ทเุ ลาลง
• ใครบุกรุกที่สาธารณให้ กาหนดโทษหนักอย่างเด็ดขาด และทาให้ จริ งจัง
มองเห็นภาพ
4.อบรมสร้ างจิตสานึก(ต่ อ)
• ให้ ชมุ ชนร่วมกันดูแลเฝ้าระวังการบุกรุกป่ าต้ นน ้า
• สารวจพื ้นที่ป่าที่ซบั ซ้ อนป่ าสงวน ป่ าอนุรักษ์ ให้ เสร็ จโดยเร่งด่วน ต.ปาก
แจ่ม อ.ห้ วยยอด
• จนท.จะต้ องใช้ กฎหมายบังคับผู้บกุ รุกป่ าต้ นน ้าอย่างเข้ มงวดกวดขัน
• รังวัดปั กแนวเขตพื ้นที่สาธารณะให้ ชดั เจน
• ควรร่วมกันแก้ พรบ.ที่ดินป่ าใหม่เสียใหม่
• รัฐน่าจะให้ ผ้ คู รอบครองที่ทากินปลูกพืชผสมผสานกับพืชป่ าผสมกันไป
5.ฝายแม้ ว,เขื่อน
• ทาเขื่อนชัว่ คราว ชะลอการไหลเก็บกักน ้า เป็ นขันตอนตามระดั
้
บของ
พื ้นที่การใช้ น ้า
6.อนุรักษ์ ฟื้นฟูลานา้ คลอง สระ
• ให้ เลิกการดูดทราย ต.ลาภูรา อ.ห้ วยยอด และต.ท่ าสะบ้ า อ.วัง
วิเศษ
กลุ่ม 2
การกาหนดผังการใช้ ท่ ดี ิน :
ผังเมือง พืน้ ที่รับนา้ แก้ มลิง
การระบายนา้ อ่ างเก็บนา้
ผ้ ูร่วมเสวนา
จานวน 16 คน
ประกอบด้ วย: หน่ วยงานภาครั ฐ 10 คน, อปท. 2 คน,
ผู้นาชุมชน 4 คน
ผู้นาการเสวนา: ประทีป มีคติธรรม
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
1.1 ขาดพืน้ ที่รับนา้ เนื่องจกการเปลี่ยนแปลงสภาพ
การใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ
1.2 พืน้ ที่ลาคลอง ทางระบายนา้ แคบ ตืน้ เขิน
มีส่ งิ กีดขวางทางนา้
1.3 สิ่งก่ อสร้ างขวางทางนา้
1.4 ขาดแคลนนา้ ในฤดูแล้ งบางพืน้ ที่
สถานการณ์
พืน้ ที่
แนวทางการดาเนินการ
๑. ขาดพืน้ ที่รับนา้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ ท่ ีดนิ
๑.๑ ศักยภาพใน
๑. บังคับใช้ กฎหมายอย่างเคร่งครัด/
การรับน ้าในพื ้นที่
ป้องกันการบุกรุกทาลายป่ าอย่าง
ต้ นน ้าลดลง/ผลจาก
จริงจัง
การขยายตัวของ
๒. การสารวจข้ อมูลพื ้นที่ต้นน ้าว่า
พื ้นที่เกษตรกรรม
เหลือพื ้นที่เท่าไร บุกรุกไปเท่าไร
เพื่อเป็ นข้ อมูลในการปรับปรุง
ฟื น้ ฟู (โดยใช้ ไม้ ในระบบนิเวศ
เดิม)
๓. ในพื ้นที่ต้นน ้าที่มีชมุ ชนอาศัย
(เช่น 30 มิ.ย.41) ควรส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรแบบ
ผสมผสานทดแทนเกษตร
เชิงเดี่ยว
ข้ อเสนอ
สาหรับชุมชนที่อยู่
มาก่อนการ
ประกาศเขตอนุรักษ์
และยังไม่มีข้อยุติ
ต้ องมีมาตรการ
อย่างเป็ นธรรมและ
เคารพสิทธิของ
ชุมชน
สถานการณ์
พืน้ ที่
แนวทางการดาเนินการ
ข้ อเสนอ
๑. ขาดพืน้ ที่รับนา้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ ท่ ีดนิ
๔. มาตรการควบคุมและกาหนดการ
ใช้ ที่ดินบริเวณพื ้นที่แม่น ้าลา
คลอง กาหนดแนวถอยร่น แนว
กันชนที่ชดั เจนเพื่อป้องกันการ
พังทลาย (ในพื ้นที่สปก., กรม
ที่ดิน)
๑.๒ การถมที่สร้ าง
๑. ให้ อปท.เร่งรัดสารวจทางระบาย
โรงงาน
น ้า ทางน ้าและที่รับน ้า เพื่อ
บ้ านเรื อน ถนน
กาหนดมาตรการ
ในพื ้นที่รับน ้า
๒. เร่งรัดให้ องค์กรปกครองส่วน
ท้ องถิ่นออกข้ อบัญญัติท้องถิ่น
ควบคุมอาคาร/การขุดดินถมดิน
สถานการณ์
พืน้ ที่
แนวทางการดาเนินการ
ข้ อเสนอ
๑. ขาดพืน้ ที่รับนา้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ ท่ ีดนิ
๑.๓ ห้ วย หนอง
๑. ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิน่
๑.ข้ อสังเกตผังเมือง
คลอง บึง
อาเภอ ที่ดิน เร่งดาเนินการสารวจ จังหวัดไม่มีการ
สาธารณะถูก
ทางเดินของน ้า ห้ วย หนอง คลอง
กาหนดพื ้นที่รับ
บุกรุก ถมดิน
บึงสาธารณะทังที
้ ่ขึ ้นทะเบียนและ น ้า
ก่อสร้ าง
เป็ นที่สาธารณะโดยสภาพแล้ วขึ ้น ๒.เจ้ าหน้ าที่ท้องถิ่น
ทะเบียน นสล.ให้ เกิดความชัดเจน ไม่กล้ านาชี ้แนว
๒. เร่งรัดทาผังเมืองระดับตาบล
เขตเนื่องจากมี
ปั ญหามวลชน
สถานการณ์
พืน้ ที่
แนวทางการดาเนินการ
๒. พืน้ ที่ลาคลอง ทางระบายนา้ แคบ ตืน้ เขิน มีส่ งิ กีดขวางทางนา้
๒.๑ ลาคลองตื ้นเขิน
๑. ดาเนินการขุดลอกคูครอง
เนื่องจาก
- การกัดเซาะของชาย
ตลิ่ง ทาให้ ดินตะกอนทับ
ถมในแม่น ้าลาคลอง
- ตะกอนจากพื ้นที่
เกษตรและชุมชนเมือง
ไหลลงสูแ่ ม่น ้าลาคลอง
๒.๒ ลาคลองขดเคียว
๑. ดาเนินขุดลัดคลองในพื ้นที่
ระบายน ้ายาก
โค้ งในจังหวัดตรัง
๒.๓ จุดคอขวดของ
ฝายควนกรด ๑. บริเวณควนกดเป็ นจุดรับน ้า
สายน ้ามาบรรจบกัน
สาคัญ ควรมีการก่อสร้ างสะพาน
ระบายน ้ายาก
ขนาดใหญ่ เพื่อระบายน ้าได้ ดีขึ ้น
หมายเหตุ
ควรมีการศึกษา
การขุดลอกอย่าง
รอบคอบ
๑.) ทาให้ มีวงั น ้า
ตามธรรมชาติ
(เป็ นแก้ มลิง)
สถานการณ์
พืน้ ที่
แนวทางการดาเนินการ
๒. พืน้ ที่ลาคลอง ทางระบายนา้ แคบ ตืน้ เขิน มีส่ งิ กีดขวางทางนา้
๒.๑ ลาคลองตื ้นเขิน
๑. ดาเนินการขุดลอกคูครอง
เนื่องจาก
- การกัดเซาะของชาย
ตลิ่ง ทาให้ ดินตะกอนทับ
ถมในแม่น ้าลาคลอง
- ตะกอนจากพื ้นที่
เกษตรและชุมชนเมือง
ไหลลงสูแ่ ม่น ้าลาคลอง
๒.๒ ลาคลองขดเคียว
๑. ดาเนินขุดลัดคลองในพื ้นที่
ระบายน ้ายาก
โค้ งในจังหวัดตรัง
๒.๓ จุดคอขวดของ
ฝายควนกรด ๑. บริเวณควนกดเป็ นจุดรับน ้า
สายน ้ามาบรรจบกัน
สาคัญ ควรมีการก่อสร้ างสะพาน
ระบายน ้ายาก
ขนาดใหญ่ เพื่อระบายน ้าได้ ดีขึ ้น
หมายเหตุ
ควรมีการศึกษา
การขุดลอกอย่าง
รอบคอบ
๑.) ทาให้ มีวงั น ้า
ตามธรรมชาติ
(เป็ นแก้ มลิง)
สถานการณ์
พืน้ ที่
แนวทางการดาเนินการ
๒. พืน้ ที่ลาคลอง ทางระบายนา้ แคบ ตืน้ เขิน มีส่ งิ กีดขวางทางนา้
๒.๔ ปั ญหาการดูด
หนองตรุด
๑. ควรมีการควบคุมการดูด
ทราย ทาให้ ตลิ่งพัง
ทราย
๓. ในฤดูแล้ งบางพืน้ ที่ขาดแคลนนา้
๓.๑ ขาดแหล่งกักเก็บ
น ้าไว้ ใช้ ในฤดูแล้ ง
๓.๒ การบุกรุกที่ดิน พื ้นที่สาธารณะ
นสล./ใช้ สาหรับ
ประโยชน์
ป้องกันและเป็ นแหล่ง
เก็บน ้าสาธารณะ
๑. ส่งเสริมการสร้ าง
แหล่งกักเก็บน ้าขนาด
เล็ก
๑. ดาเนินการขุดคูรอบทีด่ ิน
สาธารณะประโยชน์ที่ได้ ขึ ้น
ทะเบียนเป็ น นสล.
หมายเหตุ
สถานการณ์
พืน้ ที่
แนวทางการดาเนินการ หมายเหตุ
๔. ระบบป้องกันนา้ ท่ วมพืน้ ที่ชุมชนเมืองและเขตเศรษฐกิจ
๔.๑ พัฒนาระบบ
ห้ วยยอด กันตัง
มีการศึกษาและออกแบบ
ป้องกันน ้าท่วมพื ้นที่ อาเภอเมือง
โครงสร้ างทาง
ชุมชนเมืองและเขต
วิศวกรรม เช่น คันดิน
เศรษฐกิจ
กาแพงคอนกรี ต เพื่อ
ป้องกันชุมชนเมือง
2. ข้ อเสนอ
๑.) องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นควรได้ นามาตรการต่ างๆ ไป
วางแผนในระดับชุมชน เช่ น ผังชุมชน
๒.) ควรให้ ภาคประชาสังคม ชุมชน เข้ ามามีส่วนร่ วมมากขึน้
๓.) ทาอย่ างไรให้ องค์ กรปกครองส่ วนถิ่นให้ ความสาคัญกับการ
สารวจข้ อมูลเพื่อใช้ ในการบริหารจัดการนา้ เช่ น การสารวจ
การไหลของนา้ แหล่ งรองรับนา้
๔.) การจัดการลุ่มนา้ ควรมองการแก้ ไขปั ญหาแบบโดมิโน
๕.) ควรยึดแผนงานที่เสนอเป็ นแนวทางการพิจารณา
งบประมาณ
กลุ่ม 3
การป้องกันแก้ ไขปั ญหา
นา้ ท่ วมและดินถล่ ม
ผ้ ูร่วมเสวนา
จานวน 39 คน
ประกอบด้ วย: หน่ วยงานภาครั ฐ 17 คน, อปท. 11 คน,
ผู้นาชุมชน 8 คน, ภาคเอกชน 3 คน
ผู้นาการเสวนา: ธนิรัตน์ ธนวัฒน์
ผู้นาเสนอ: ผอ.สานักงานลุ่มนา้ ภาคใต้ ฝ่ ั งตะวันตก ส่ วน
ที่ 2
ผู้บันทึก: รั ตนาวดี ใยทอง
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ ท่ วม
เทศบาลเมืองทุ่งสง
 บริเวณคลองท่ าเลาไหลผ่ าน
 ทุกครัง้ เมื่อมีฝนตกหนักนา้ เต็มคลอง
และล้ มจะมีนา้ ท่ วมขังซา้ ซาก
 นา้ ซึมเข้ าบ้ านเรือนผ่ านทางระบบท่ อ
ระดับความรุ นแรงปานกลาง
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ ท่ วม
 ต.ที่วัง ต.เขาโร ต.รั ษฏา ริมแม่ นา้ ตรั ง นา้
ล้ นตลิ่ง ท่ วมบ้ านเรื อนราษฎรริมฝั่ งนา้
ตลอดแนว
 ม.3, ม.5 ต.วังหิน อ.บางขัน ระดับความ
รุ นแรงมากและซา้ ซาก
 นาโพธิ์ ทัง้ 5 หมู่บ้านแบ่ งตามระดับดังนี ้
มาก ม.2 ,ม.1 3-5 บางส่ วน, ปานกลาง ม.1
3-5 บางส่ วน, น้ อย ม.1 3-5 บางส่ วน
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ ท่ วม
 ซา้ ซาก ม.2, 5 พืน้ ที่เกษตรและชุมชน
 ตาบลนาไม้ ไผ่ ม.1(บ้ านทุ่งข่ า), ม.3(บ้ านวัง
ขรี ), ม.4(บ้ านหนองแดง), ม.6(บ้ านนาไม้
ไผ่ ), ม.11(บ้ านปากคลอง) ระดับความ
รุ นแรงน้ อย
 ต.บ้ านนิคม อ.บางขัน นา้ ท่ วมทุกปี
 ต.วังหิน, บ้ านนิคม, บ้ านลานาว ระดับ
ความรุ นแรงปานกลาง
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ ท่ วม
จ.ตรั ง
 อ.ห้ วยยอด ต.หนองช้ างแล่ น ม.4,6,11,12
 อ.ห้ วยยอด ต.บางดี เขากอบ วังคีรี เขต
เทศบาลนาวง ท่ วมซา้ ซาก
 อ.เมือง ได้ แก่ ต.นาตาล่ วง ต.นาท่ ามเหนือ
ต.นาท่ ามใต้
 เทศบาลนครตรั ง, เทศบาลเมืองกันตัง
ความรุ นแรงมาก เกิดขึน้ ซา้ ซากทุกปี
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ ท่ วม
 เทศบาลตาบลห้ วยยอดมีนา้ ไหลผ่ านแต่ ไม่
รุ นแรง ช่ วงปลายปี ที่ผ่านมาเกิดสถานการณ์
นา้ ป่ าไหลหลากจากโตนคลาน ระดับความ
รุ นแรงปานกลาง
 เทศบาลตาบลนาวงนา้ ท่ วมทุกปี
 เทศบาลเมืองกันตัง นา้ ท่ วม
 ตาบลห้ วยนาง ,หนองช้ างแล่ น, บางดี, เขา
กอบ, นาวง, ทุ่งต่ อ, ปากคม, ลาภูรา นา้ ท่ วม
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ หลาก/ดินถล่ ม
อ.ทุ่งสง
 ต.นาไม้ ไผ่ ม.8(บ้ านสกรู ด), ม.9(บ้ านบ่ อ
มอง), ม.10(บ้ านไสคอม), ม.13(บ้ านอ่ าว
กราย) สาเหตุ คือการทาลายป่ าบริเวณ
ภูเขาเพื่อปลูกยางพารา เป็ นปั ญหาที่เกิด
ซา้ ซาก
 ดินถล่ ม ต.บ้ านนิคม, บ้ านลานาว, บาง
ขัน
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ หลาก/ดินถล่ ม
 ดินถล่ ม ต.นาหลวงเสน บริเวณเชิงเขา
ใกล้ ฝายวังอ้ ายว่ าว ทุกปี
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ หลาก/ดินถล่ ม
จ.ตรั ง
 ดินถล่ ม ต.ห้ วยยอด อ.ห้ วยยอด คลอง
ในเหยา ม.1-4 ระดับความรุ นแรงมาก
ระดับความถี่ซา้ ซากเกิดขึน้ ทุกปี
 นา้ หลาก เทศบาลตาบลห้ วยยอด ระดับ
ปานกลาง ระดับความถี่ซา้ ซาก
 นา้ หลาก อ.เมือง ต.หนองตรุ ด ต.นาตา
ล่ วง ต.บางรั ก ต.นาโต๊ ะหมิง ระดับความ
รุ นแรกมาก ระดับความถี่ซา้ ซาก
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ หลาก/ดินถล่ ม
 นา้ หลาก เทศบาลตาบลลาภูรา แนว
บริเวณลุ่มนา้ ตรั ง มีความรุ นแรงในระดับ
มาก เกิดซา้ ซากทุกปี แนวตลิ่งพัง
 แม่ นา้ ตรั ง ลานา้ สาขา ตลอดแนวของลา
นา้ มีความรุ นแรงมาก ตลิ่งเสียหายทุกปี
 นา้ หลากในเขตเทศบาลเมืองกันตัง จาก
ตาบลวังวน ตาบลบางเป้า
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ หลาก/ดินถล่ ม
 นา้ หลาก ตาบลในเตา, ท่ างิว้ , เขาปูน,
ห้ วยยอด, เขาขาว, หนองช้ างแล่ น,
ปากคม, ทุ่งต่ อ, ลาภูรา, ปากแจ่ ม, นาวง
, วังคีรี, บางกุ้ง
 ดินถล่ ม บริเวณเทือกเขา ต.ในเตา, ท่ า
งิว้ , ปากแจ่ ม, เขาปูน, ห้ วยยอด,
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ แล้ ง
อ.ทุ่งสง
 ตาบลนาโพธิ์ทงั ้ ตาบล แล้ งสุดปี 2553
ซา้ ซาก
 อ.บางขัน ประสบปั ญหานา้ แล้ ง
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ แล้ ง
จ.ตรั ง
 ต.วังคีรี แล้ งเกือบทุกปี เพราะป่ าต้ นนา้
ถูกทาลาย
 สถานการณ์ นา้ แล้ งในภาพรวมช่ วงฤดู
แล้ ง ระดับความรุ นแรงปานกลาง
ผลกระทบมาก มีระดับความถี่ซา้ ซาก
2. แนวทางการจัดการระยะต่ อไป
แนวทางการจัดการ
พืน้ ที่เป้าหมาย
1.สร้ างเส้ นทางระบายน ้าเพิ่ม (เวณ
คืนสร้ างคลอง)
2. จัดการ ปรับปรุง เส้ นทาง ถนนกีด เช่น ถนนบายพาสจากทุ่งสงขวางทางน ้า
ตรัง บริ เวณถนนตรังสิเกา ต.
บางรัก ต.นาโต๊ ะหมิง พื ้นที่
บริ เวณนาท่วมเหนือ
3. จัดการสิ่งก่อสร้ างกีดขวางการ
ระบายน ้า
ตลอดลุม่ น ้า
4. จัดทาพื ้นที่แก้ มลิง
เช่น หมู่ 3 ต.นาไม้ ไผ่ อ.วังคีรี
แผนงาน/โครงการ
1.สร้ างสะพานลอย
2.สร้ างอุโมงค์ระบายน ้า
3.ลดการยกระดับหรื อถมถนนให้
สูงขึ ้น
4.การทาบายพาสทุ่งสง-ตรัง
บริ เวณเขตลาภูรา
เช่น ปรับปรุงฝายควนกรด อาเภอทุ่ง
สง คลองบางครู คลองห้ วยหยี
อาเภอห้ วยยอด
2. แนวทางการจัดการระยะต่ อไป
แนวทางการจัดการ
5. การป้องกันตลิ่งพังทลาย
พืน้ ที่เป้าหมาย
แผนงาน/โครงการ
โครงการปลูกหญ้ าแฝก
ทาคันดินป้องกันตลิ่งพัง
6 . การป้องกันการบุกรุกพื ้นที่ป่าเพื่อทา เช่น เขตป่ าสงวน เขาปู่ เขาย่า วัง โครงการ
การเกษตรและฟื น้ ฟูสภาพป่ าให้ สมบูรณ์ คีรี บางกุ้ง นาวง บางดี อาเภอ
โดยบังคับใช้ กฎหมายอย่างจริ งจัง(การปลูก ห้ วยยอด ตาบลบ้ านลานาว
ป่ าควรดาเนินการให้ เหมาะสมกับสภาพ
อาเภอบางขัน ตาบลบ้ านนิคม
พื ้นที่ อากาศ)
7.ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น /
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดูแลพื ้นที่ปลูกป่ าที่ได้
ดาเนินการไปแล้ ว
8.สร้ างเครื อข่ายสายน ้า ในการเชื่อมต่อ
ข้ อมูลตลอดลุม่ น ้า
2. แนวทางการจัดการระยะต่ อไป
แนวทางการจัดการ
9. ขุดลอกคลองแม่น ้าตลอดแม่น ้า
และปรับสภาพลาน ้าให้ สามารถ
ระบายน ้าได้ ดี
พืน้ ที่เป้าหมาย
ตังแต่
้ ท่งุ สง-กันตัง เช่น บริ เวณคลอง
มวน ตาบลหนองช้ างแล่น ตาบลห้ วย
นาง ตาบลเขากอง คลองวังหีบ ต.หนอง
หงส์ อ.ทุ่งสง คลองมวน คลองลาภูรา
คลองห้ วยยอด คลองปากแจ่ม อาเภอ
ห้ วยยอด คลองซา ตาบลบางดี จ.ตรัง
10. รังวัดเขตคลองตลอดลาน ้าตาม
สภาพปั จจุบนั
11. ศึกษาสภาพคลอง และระบบ
นิเวศน์คลองตลอดลุม่ น ้า
12. หาพื ้นที่เก็บกักน ้าบริ เวณต้ นน ้า บริ เวณพื ้นที่ต้นน ้าอาเภอทุ่งสง และ
เป็ นอ่างเก็บน ้าขนาดเล็กและกระจาย จังหวัดตรัง
แผนงาน/โครงการ
1.โครงการขุดลอกคู คลอง
ร่องน ้า อย่างเป็ นระบบและ
เหมาะสม โดยความร่วมมือ
ของกรมเจ้ าท่า และอปท.
ในพื ้นที่
อ่างเก็บน ้า บริ เวณนาหลวง
เสน บริ เวณบ้ านซา
2. แนวทางการจัดการระยะต่ อไป
แนวทางการจัดการ
พืน้ ที่เป้าหมาย
แผนงาน/โครงการ
13. ฟื น้ ฟูระบบนิเวศน์ลมุ่ น ้า /
สร้ างความรู้ ความเข้ าใจ ให้
ตระหนักถึงความสาคัญของลุม่ น ้า
ต่อวิถีชีวิตของชุมชน
14. สร้ างฝายน ้าล้ น และฝาย
เช่น ตาบลบ้ านนิคม ตาบลวังหิน โครงการก่อสร้ างฝายน ้าล้ น
ชะลอน ้า กระจายให้ คลอบคลุม
15. จัดระบบเฝ้าระวังเตือนภัย
ทุกอปท. พื ้นที่หมู่บ้าน ชุมชน 1. การเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์
ล่วงหน้ า สร้ างเครื อข่ายเฝ้าระวัง
ทางน ้า
2. เพิ่มศักยภาพการจัดการภัยพิบตั ิ
ของชุมชนให้ เข้ มแข็ง
3.จัดทาระบบการวางเครื อข่ายเตือน
ภัยตลอดลุม่ น ้า
2. แนวทางการจัดการระยะต่ อไป
แนวทางการจัดการ
15. จัดระบบเฝ้าระวังเตือนภัย
ล่วงหน้ า สร้ างเครื อข่ายเฝ้าระวัง
พืน้ ที่เป้าหมาย
16.จัดกิจกรรมรณรงค์สร้ าง
ทุกพื ้นที่ตลอดลุม่ น ้าตรัง
จิตสานึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากร
น ้าแก่เยาวชน และประชาชน สร้ าง
เครื อข่ายการเชื่อมโยงการจัดการ
แผนงาน/โครงการ
4.จัดตังศู
้ นย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในแต่
ละอาเภอ
5.เพิ่มทักษะประสบการณ์การเก็บการวัด
น ้าฝน น ้าท่าและการพยากรณ์อากาศ
6.พัฒนาความเข้ มแข็งขององค์กรในการ
จัดการน ้า
1.โครงการบ้ านสวยริ ม
2.โครงการปลูกหญ้ าแฝก
3. โครงการปล่อยพันธุ์ปลา ลงในลุม่ น ้า
4. โครงการสร้ างจิตสานึก ความรู้ความ
เข้ าใจแก่เยาวชน ประชาชน เป็ นเครื อข่าย
สายน ้าในการอนุรักษ์ ลาคลอง
กลุ่ม 4
การดแู ลรั กษา
และจัดการคุณภาพนา้
ผ้ ูร่วมเสวนา
จานวน 29 คน
ประกอบด้ วย: ภาครั ฐ ท้ องถิ่น สถานศึกษา
ผู้ประกอบการ
ผู้ดาเนินการ:
หน่ วยงานร่ วมหลัก :สนง.ทสจ.นครศรี ฯ, สนง.ทสจ.
ตรั ง เทศบาลทุ่งสง
ผู้นาการเสวนา:คุณกษิดศิ ศราวุธ อรภชา และวิ
ลาวรรณ
ผู้บันทึก: หทัยพร
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• ขาดฐานข้ อมูลด้ านคุณภาพนา้ ทัง้ หน่ วยย่ อย
ชุมชน พืน้ ที่และภาพรวมลุ่มนา้
• พบว่ ามีการตรวจวัดคุณภาพ แต่ ไม่ ครอบคลุม
และยากแก่ การนามาใช้ ประโยชน์
• ขาดการมีส่วนร่ วมในการจัดการและเชื่อมโยงเชิง
พืน้ ที่
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา (ต่ อ)
• การเข้ าถึงข้ อมูลข่ าวสารที่เกี่ยวข้ องด้ านคุณภาพนา้
• ขาดความรู้ ความเข้ าใจทัง้ จากหน่ วยงานปฏิบตั ิ
และประชาชน
• การให้ ความสาคัญกับประเด็นนา้ เสีย ละเลยและ
มองข้ าม และมองว่ าเป็ นเรื่องไกลตัว เมื่อเทียบกับ
ประเด็นอื่นๆ
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา (ต่ อ)
• นา้ เสียชุมชน
- เขตชุมชนชนบท ยังไม่ ปรากฏและมีผลกระทบมาก
นัก
- เขตชุมชนหนาแน่ น ย่ านการค้ า ชุมชนเมือง เขต
เทศบาล มีผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมและระบบ
นิเวศโดยรวม สุขภาพเกิดเหตุราคาญ ครอบคลุมใน
ลุ่มนา้ เช่ น คลองลานปราบ ต.ปากแพรก ต.ชะมาย
และต.ที่วัง
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นา้ เสียจากอุตสาหกรรม
- อุตสาหกรรมขนาดใหม่ เช่ น โรงปูน ยางพารา ปาล์ ม มี
ระบบบาบัดนา้ เสียแบบปิ ด แต่ ต้องมีการตรวจวัด
คุณภาพเพื่อความมั่นใจ เพราะยังพบการร้ องเรียน
- อุตสาหกรรมขนาดเล็ก เช่ น โรงทายางแผ่ นในชุมชน
- อุตสาหกรรมในครัวเรื อน เช่ น ขนมจีน ก๋ วยเตี๋ยว ลูกชิน้
โรงเชือดไก่ หมู่ ส่ วนใหม่ ไม่ มีระบบบ่ อบาบัดนา้ เสีย
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา (ต่ อ)
• นา้ เสียจากการภาคการเกษตร
- ขาดข้ อมูลการตรวจวัดและผู้เชี่ยวชาญ และไม่ มีการ
ตรวจวัดคุณภาพนา้ ที่ชัดเจน
- พบข้ อมูลเชิงประจักษ์ ระบบนิเวศลานา้ ลาคลอง แหล่ งที่
อยู่อาศัยสัตว์ นา้ พืชผักธรรมชาติ
- มีสารปนเปื ้ อน(กามะถัน) สารอินทรีย์/อนินทรีย์ไหลสู่แหล่ ง
นา้ ธรรมชาติ พืน้ ที่ท่ ปี ระสบปั ญหา
- พืน้ ที่ตนื ้ เขินจากตะกอน จากพืน้ ที่เพาะปลูกครอบคลุมทุก
พืน้ ที่เกษตรกรรม เช่ น ยางพารา สาวนปาล์ ม ฟาร์ มหมู ไก่
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา (ต่ อ)
• นา้ เสียอื่นๆ
- นา้ เสียจากปั ญหาขยะประเภทต่ างๆ
ทัง้ จากชุมชน ผู้ประกอบการเริ่มปรากฏและ
ครอบคลุมพืน้ ที่ทงั ้ ลุ่มนา้
2. แนวทางการจัดการคุณภาพนา้ เชิงลุ่มนา้
1. การป้องกัน และรักษาคุณภาพนา้ เชิงพืน้ ที่
- ใช้ มาตรการด้ านกฎหมายและการบังคับใช้
- การให้ ความรู้และสร้ างจิตสานึกการดูรักษาแหล่ งนา้
- พัฒนาเครือข่ ายเฝ้าระวังคุณภาพนา้ ในลุ่มนา้
2. การปรั บปรุ ง ฟื ้ นฟูและพัฒนาการจัดการคุณภาพนา้
- ศึกษาความเหมาะสม ออกแบบระบบรวบรวมและบาบัดบัด
นา้ เสียครอบคลุมพืน้ ที่ชุมชนที่หนาแน่ น
- ชุมชนขนาดเล็ก ควรมีระบบบาบัดนา้ เสียเฉพาะจุด
- ส่ งเสริมการจัดการคุณภาพด้ วยภูมิปัญญาท้ องถิ่น
2. แนวทางการจัดการคุณภาพนา้ เชิงลุ่มนา้
3. การมีส่วนร่ วมและการบูรณาการเชิงพืน้ ที่
- การสนับสนุน แลกเปลี่ยนข้ อมูลที่จาเป็ น บุคลากรที่
เกี่ยวข้ อง
- จัดทาแผนการจัดการคุณภาพนา้ ในภาพรวมและระดับย่ อย
4. การบริหารจัดการและและการติดตามประเมินผล
- พัฒนาระบบฐานข้ อมูลการตรวจวัดและการตรวจวัดอย่ างมี
ส่ วนร่ วม
- การพัฒนาศักยภาพบุคลกรที่เกี่ยวข้ องด้ านคุณภาพนา้
- สนับสนุนงบประมาณให้ เกิดการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติ
กลุ่ม 5
การบริหารจัดการ:
ข้ อมูล การจัดองค์ กร เครื อข่ าย
แผนและยุทธศาสตร์ งบประมาณ
ผ้ ูร่วมเสวนา
จานวน 38 คน
ประกอบด้ วย: ภาครัฐ 3 คน อปท. 2 คน
องค์ กรพัฒนาเอกชน 2 คน
ภาคธุรกิจ 1 คน ภาคประชาชน 30 คน
ผู้ดาเนินการ: เบญจมาส โชติทอง
ผู้นาเสนอ: พท.นรวีร์ พุ่มเจริญ
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• ขาดการเชื่อมโยงข้ อมูลระหว่ างประเด็นต่ างๆ
และระหว่ างพืน้ ที่
• มีหน่ วยงานเกี่ยวข้ อง ทัง้ ระดับพืน้ ที่ ระดับ
จังหวัด และภูมภิ าค แต่ ขาดการประสานงาน
• มีเครือข่ ายภาคประชาชน แต่ กระจายอยู่ใน
พืน้ ที่
1.สถานการณ์ และการจัดการที่ผ่านมา
• นโยบายไม่ ต่อเนื่อง
• ประชาชนขาดส่ วนร่ วมในการตัดสินใจดาเนิน
โครงการ
• ท้ องถิ่นยังไม่ สนใจ
• ขาดความร่ วมมือระหว่ างท้ องถิ่น
2. ข้ อเสนอในการจัดการ (เรียงตามความเร่ งด่ วน)
1) จัดการข้ อมูล – โดย สนง.ทรัพยากรนา้
- รวบรวมและจัดระบบ
- แสดงข้ อมูลในเชิงพืน้ ที่และปริมาณ
- โมเดลโครงข่ ายนา้ และทิศทางการไหลของนา้
- ข้ อมูลเพื่อการวางแผน และข้ อมูลเตือนภัย
2) จัดทาแผนแม่ บทการบริหารจัดการลุ่มนา้ อย่ าง
บูรณาการ – โดยคณะกรรมการฯ และมีเทศบาล
เมืองทุ่งสง เป็ นฝ่ ายเลขาฯ
2. ข้ อเสนอในการจัดการ
4) กลไกการขับเคลื่อน
4.1) แผนยุทธศาสตร์ พัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนา
ท้ องถิ่น โดย อปท. ในลุ่มนา้ จัดทาแผนพัฒนา
ท้ องถิ่นให้ สอดคล้ อง และ ประสานแผนระดับ
อาเภอและจังหวัด
4.2) ตัง้ คณะทางานแต่ ละด้ าน
4.3) ภาคประชาชนจัดทาแผนชุมชน และการมีส่วน
ร่ วม ในการวางแผนพัฒนาลุ่มนา้
2. ข้ อเสนอในการจัดการ
4.4) การประสานงาน - เทศบาลเมืองทุ่งสง
ทาหน้ าที่ในระยะแรก ????
5) การตัง้ กองทุนภัยพิบัติ
ขอขอบคุณ