การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงบูรณาการ

Download Report

Transcript การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงบูรณาการ

การจัดทาและประสาน
แผนพัฒนาท้องถิน่
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน
สานักงานปลัด
องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งขนาน
โทร. 039 497 537
ประเด็นนำเสนอ
1. แนวคิดเกีย่ วกับการวางแผนพัฒนาท้องถิน่
2. แนวทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
3. แนวทางการจัดทาและประสานแผนพัฒนาสามปี
4. แนวทางการจัดทาแผนการดาเนินงาน
5. คณะกรรมการติดตามและประเมินแผนพัฒนา
ท้องถิน่
แนวคิดการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น
หลักการกระจายอานาจ
• กระจายภารกิจหน้าทีใ่ ห้ทอ้ งถิน่ รับผิดชอบ (245 ภารกิจ)
• กระจายอานาจการตัดสินใจดาเนินการ การกาหนดนโยบาย
การวางแผน กาบริหารจัดการ
• กระจายอานาจบริหารจัดการงบประมาณ บุคลากร เทคโนโลยีที่
เหมาะสมกับท้องถิน่ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมเสนอแนะความ
ต้องการ
• กระจายความรับผิดชอบต่อหน้าทีใ่ ห้ผูบ้ ริหารท้องถิน่
ให้ประชาชน ร่วมกันตรวจสอบหน้าทีอ่ ย่างโปร่งใส
จัดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง
กับส่วนภูมิภาค และการปกครองท้องถิน่
ส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค
หน่วยการ
ปกครองท้องถิน่
ทาหน้าที่ในเชิงกลยุทธ์ กาหนดยุทธศาสตร์ พัฒนานโยบาย
สนับสนุนความรูว้ ิทยาการใหม่และกากับดูแลตรวจวัดสัมฤทธิผล
ของการปฏิบตั ิงานของราชการส่วนภูมิภาค และ อปท.ไม่ใช่หน่วย
ปฏิบตั ิ
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ทางยุทธศาสตร์ ให้คาปรึกษาชี้ แนะสนับสนุน
และช่วยเหลือทางเทคนิค กากับดูแลและเป็ นตัวแทนของหน่วย
ราชการส่วนกลางปฏิบตั ิภารกิจที่หน่วยการปกครองท้องถิน่ ทาไม่ได้
หรือทาได้ไม่ดีพอตามพันธะสัญญาที่มีต่อราชการส่วนกลาง
รับผิดชอบปฏิบตั ิกิจกรรมบริการประชาชนที่เป็ นเรือ่ งใกล้ตวั ที่ผูค้ น
ในท้องถิน่ รูป้ ั ญหาความต้องการดีกว่าและมีความสามารถแก้ปัญหา
และทาการพัฒนาได้ดีกว่าราชการส่วนภูมิภาค
ภำรกิจถ่ำยโอนให้แก่ อปท. 6 ด้ำน
แผนปฏิบตั ิการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจฯ
- ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. แบ่งเป็ น 6 ด้าน 245 เรือ่ ง ใน 57 กรม 15
กระทรวง ถ่ายโอนแล้ว 180 เรือ่ ง ยังไม่ถ่ายโอน 64 เรือ่ ง ถอน 1 เรือ่ ง
1. ด้านโครงสร้างพื้ นฐาน
2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต
3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย
4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว
5. ด้านการบริการจัดการ และการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิน่
ภำรกิจถ่ำยโอนให้แก่ อปท. 6 ด้ำน
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
- ถนนในเขตชุมชนหรือกลุ่มหมู่บา้ น เช่น ผิวจราจร
ช่องทางจราจร ทางเท้าหรือไหล่ทาง ทีจ่ อดรถ
- น้ าเพือ่ การอุปโภคบริโภค ให้แก่ประชาชนอย่างไม่ขาดแคลน
- น้ าเพือ่ การเกษตร มีแหล่งน้ าเพียงพอต่อความต้องการใช้
- ไฟฟ้ าและความส่องสว่าง ตามแนวถนน ทางแยก
พื้ นทีส่ าธารณะ ให้เกิดความปลอดภัย
ภำรกิจถ่ำยโอนให้แก่ อปท. 6 ด้ำน
2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวติ
- สุขภาพอนามัย การเฝ้ าระวังโรคประจาถิน่
- การส่งเสริมอาชีพและรายได้ เช่น การรวมกลุ่มอาชีพ การพัฒนา
ฝี มือในการประกอบอาชีพ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ จัดหาตลาดรองรับ
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ อปท.
- การพัฒนาการศึกษา เช่น จัดตั้งศูนย์เด็กเล็ก การศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ
- การพัฒนาผูส้ ูงอายุ คนพิการ ผูป้ ่ วยเอดส์ ให้มีกิจกรรมและพึง่ ตนเองได้
- การสร้างความมันคงในชี
่
วิต เช่น ด้านสุขภาพ ครอบครัวและการอยู่
อาศัย ความปลอดภัยในชีวิตและเครือข่ายเกื้ อหนุ น
ภำรกิจถ่ำยโอนให้แก่ อปท. 6 ด้ำน
3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคมและการรักษา
ความสงบเรียบร้อย
- การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น อาสาสมัคร
- การบูรณพื้ นฟูสภาพชีวิต ความเป็ นอยู่ และจิ ตใจทีไ่ ด้รบั ความ
เสียหายจากภัยพิบตั ิ
- การให้ความรูเ้ กีย่ วกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- การป้องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติด
ภำรกิจถ่ำยโอนให้แก่ อปท. 6 ด้ำน
4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน
พาณิชยกรรม และการท่องเทีย่ ว
- การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว ตามความ
เหมาะสมของแต่ละท่องถิน่ เช่น ปรับปรุงภูมิทศั น์
การส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศน์ การท่องเทีย่ วเชิง
การเรียนรู ้ การท่องเทีย่ วเชิงศึกษาธรรมชาติ เป็ นต้น
ภำรกิจถ่ำยโอนให้แก่ อปท. 6 ด้ำน
5. ด้านการบริการจัดการ และการอนุรกั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
- การรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บขนและการ
กาขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏิกูล เช่น การรณรงค์ลดอัตราการเกิดขยะ
การคัดแยกขยะ การเก็บรวบรวมขยะ สถานทีก่ าจัดขยะ การเฝ้ า
ระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อม การจัดเก็บค่า
ธรรมเนียม
ภำรกิจถ่ำยโอนให้แก่ อปท. 6 ด้ำน
6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี
และภูมิปญั ญาท้องถิ่น
- การดูแล รักษา อนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรมในท้องถิน่
- ส่งเสริมวิถชี ีวิต ศาสนาและประเพณีทีด่ ีงามของท้องถิน่
- ส่งเสริมจริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรมอันดีงามของครอบครัว
สรุปความเชื่อมโยง
แผนพัฒนาระดับต่างๆ กับ แผนพัฒนาท้องถิน่ และงบประมาณท้องถิน่
ปัจจัยนาเข้า
แผน
ยุทธศาสตร์
•แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ
•นโยบายของรัฐบาล/
วิสยั ทัศน์
แผนการบริหารราชการ
แผ่นดิน
พันธกิจ
•ยุทธศาสตร์กลุม่ จังหวัด/
จุดมุ่งหมาย
จังหวัด/อาเภอ
ยุทธศาสตร์
•นโยบายผูบ้ ริหารท้องถิ่น
แนวทางการพัฒนา
•ภารกิจตามอานาจหน้าที่
•ปัญหาความต้องการ
ของประชาชน/แผนชุมชน
•ข้อมูล
แผน
พัฒนาสามปี
งบประมาณ
รายจ่าย อปท.
แผนการ
ดาเนิ นงาน
โครงการ
กิจกรรม
หมวด
รายจ่ายต่างๆ
(ปฏิทนิ
การทางาน)
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา
แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
พ.ศ.2548
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธกี าร
งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (ฉบับที่
2) พ.ศ.2543 ข้อ 22
แผนพัฒนาของ อปท.
1.แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
2.แผนพัฒนาสามปี
3.แผนปฏิบตั กิ าร
(แผนการดาเนิ นงาน)
สอดคล้อง
กับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ
วาระแห่งชาติ / นโยบายรัฐบาล
ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาจังหวัด
นโยบายผูบ้ ริหารท้องถิน่
ปั ญหา ความต้องการของประชาชน
(แผนชุมชน)
คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
1.ผูบ้ ริหารท้องถิ่น
ประธานกรรมการ
2.รองนายกฯ
กรรมการ
3.สมาชิกสภาฯ(3คน)
กรรมการ
4.ผูท้ รงคุณวุฒ(ิ 3คน)
กรรมการ
5.ผูแ้ ทนภาคราชการ/รัฐวิสาหกิจ(ไม่นอ้ ยกว่า3คน)
กรรมการ
6.ผูแ้ ทนประชาคมท้องถิ่น(3-6คน)
กรรมการ
7.ปลัด อปท.
กรรมการ/เลขานุ กา
8.หัวหน้าส่วนฯที่ทาแผนฯ
ผูช้ ่วยเลขานุ การ
คณะกรรมการสนับสนุ นการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. ปลัด อปท.
ประธานกรรมการ
2. หน.ส่วนการบริหารของ อปท. กรรมการ
3. ผูแ้ ทนประชาท้องถิ่น(3 คน)
กรรมการ
หน.ส่วนที่มีจดั ทาแผนฯ
กรรมการ/เลขานุ การ
4.
องค์กรในการประสานแผนพัฒนาท้องถิน่
คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิน่ ระดับอาเภอ
คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิน่ ระดับจังหวัด
การประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น
หมายถึง :
การบูรณาการโครงการ/กิจกรรมใน
แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่เกิน
ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเขต
จังหวัด
คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอาเภอ
1.ผูบ้ ริหารท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือก
ประธาน
2.ผูบ้ ริหารท้องถิน่ ในเขตอาเภอทุกคน
กรรมการ
3. ส.อบจ. ในเขตอาเภอทุกคน
กรรมการ
4.ท้องถิน่ อาเภอ
กรรมการ
5.ปลัด อปท.ในเขตอาเภอ ทุกคน
กรรมการ
6.ข้าราชการ อบจ. ทีน่ ายก อบจ.มอบหมาย กรรมการ
7.ปลัด อปท.ทีป่ ระธานคณะกรรมการฯ คัดเลือก
กรรมการ/ เลขานุ การ
คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด
1.นายก อบจ.
ประธาน
2.ประธานคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิน่
ระดับอาเภอทุกอาเภอ
กรรมการ
3. เลขานุ การคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิน่
ระดับอาเภอทุกอาเภอ
กรรมการ
4.หัวหน้าสานักงานจังหวัด
กรรมการ
5.ท้องถิน่ จังหวัด
กรรมการ
6.ปลัด อบจ.
กรรมการ/เลขานุ การ
7.หน.กลุ่มงานยุทธศาตร์ จว. กรรมการ/ผช.เลขานุ การ
ขัน้ ตอนการดาเนินการ
1.คกก.ประสานแผนระดับจังหวัดกาหนดกรอบยุทธศาสตร์
การพัฒนาของ อปท.ในเขต จว.และกาหนดขอบเขต/
ประเภทโครงการทีเ่ กินศักยภาพของ อปท. ส่ง อปท.
2.อปท.จัดทาแผนพัฒนาสามปี และประกาศใช้แผนพัฒนา
แล้ว
ผูบ้ ริหารเสนอโครงการเฉพาะโครงการทีเ่ กินศักยภาพฯ
เสนอต่อ คกก. ประสานแผนพัฒนาฯ ระดับอาเภอ
โครงการที่มีขนาดใหญ่ท่เี กินศักยภาพของ อปท.
ในเขตจังหวัด
กิจกรรมที่เป็ นภาพรวมของ อปท.ในเขตจังหวัด มุ่งต่อ
ประโยชน์ของท้องถิ่น ประชาชนเป็ นส่วนรวม
โครงการลักษณะที่มีความคาบเกีย่ วต่อเนื่ อง มีผู ้ ได้รบั
ประโยชน์ใน อปท. มากกว่า 1 แห่ง
ขัน้ ตอนการดาเนินการ
3.คกก.ประสานแผนพัฒนาฯ ระดับอาเภอ พิจารณาบูรณา
การโครงการทีเ่ กินศักยภาพฯ ในภาพรวมของอาเภอ หาก
เกินศักยภาพฯ ให้จดั ทาบัญชีโครงการฯ เสนอต่อ คกก.
ประสานแผนพัฒนาฯ ระดับจังหวัดพร้อมแจ้งผลการ
พิจารณาให้ อปท.ในเขตอาเภอทราบ
4. คกก.ประสานแผนพัฒนาฯ ระดับจังหวัดพิจารณาบูรณา
การโครงการทีเ่ กินศักยภาพฯ ในภาพรวมของ จว. ให้
อบจ.นาไปบรรจุในแผนพัฒนาสามปี
ขัน้ ตอนการดาเนินการ
และพิจารณานาโครงการทีเ่ กินศักยภาพของ อบจ. เสนอต่อ
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบู รณาการ (กบจ.)
และแจ้งผลการพิจารณาให้ คกก.ประสานแผนพัฒนาฯ
ระดับอาเภอทราบ
วิสยั ทัศน์
พันธกิจ
จุดมุ่งหมาย
ยุทธศาสตร์+แนวทางการพัฒนา
วิสยั ทัศน์(Vision)
หมายถึง สภาพที่เราปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต
= ต้องการเป็ นอะไร
พันธกิจ(Mission)
หมายถึง ขอบเขตของบทบาทหน้าที่หลักของ อปท.
ที่จาเป็ นต่อการบรรลุวิสยั ทัศน์
= ต้องทาอะไรถึงจะบรรลุ
วิสยั ทัศน์
ตัวอย่างวิสยั ทัศน์
การคมนาคมสะดวก
เศรษฐกิจดี
มีความรูท้ นั สมัย
สิง่ แวดล้อมไม่เป็ นมลพิษ
ตัวอย่างพันธกิจ
1. จัดให้มีและบารุงรักษาทางน้ าและทางบก
2. บารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ
ของประชาชน
3. ส่งเสริมการศึกษา
4. กาจัดมูลฝอย สิง่ ปฏิกูลและน้ าเสีย
จุดมุ่งหมายเพือ่ การพัฒนา
(Goal)
หมายถึง การระบุสภาพทีต่ อ้ งการให้
สาเร็จ
= ทาเพือ่ ให้
เกิดอะไร ถึงจะบรรลุวิสยั ทัศน์
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
= ทาอย่างไรถึงจะบรรลุจุดมุ่งหมาย
แนวทางการพัฒนา
= ทาโดยวิธีใด
โครงการ
ตัวอย่างยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการคมนาคม
แนวทางการพัฒนา
- ก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน
ทางเท้า ท่อระบายน้ า และท่าเทียบเรือ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
แนวทางการพัฒนา
- พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน
คกก. พัฒนาท้องถิน่
ประชุมประชาคม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
คกก. สนับสนุนฯ
จัดทาร่าง
คกก. พัฒนาท้องถิน่
ผูบ้ ริหารท้องถิน่
สภาท้องถิน่
ผูบ้ ริหารท้องถิน่
พิจารณาแล้วเสนอผูบ้ ริหารท้องถิน่
นาร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ เสนอสภา
ท้องถิน่
เห็นชอบ
อนุมตั ิและประกาศใช้
- เป็ นการแปลงแผนยุทธศาสตร์ การ
พัฒนาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
- เป็ นแผนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด
กับงบประมาณ
- เป็ นแผนพัฒนาแบบหมุนเวียน
คกก. พัฒนำท้องถิ่น+
①
กำหนดประเด็นกำรพัฒนำ
ม.ค.-ก.พ.
ประชำคมฯ + ส่วนรำชกำร
คกก. สนับสนุนฯ
คกก. พัฒนำท้องถิ่น
② จัดทำร่ำง
มี.ค.-เม.ย.
③ พิจำรณำ
เม.ย.- พ.ค.
กรณี อบต.
④ สภำ อบต.พิจำรณำเห็นชอบ
ผูบ้ ริหำรท้องถิ่น
⑤
อนุมัติ ประกำศใช้
กรณี อบจ. เทศบำล/
เมืองพัทยำ
อนุมตั ิ
ประกำศใช้
④
พ.ค. – มิ.ย.
คกก. พัฒนาท้องถิน่
ประชุมประชาคม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
คกก. สนับสนุนฯ
จัดทาร่าง
คกก. พัฒนาท้องถิน่
ผูบ้ ริหารท้องถิน่
สภาท้องถิน่
ผูบ้ ริหารท้องถิน่
พิจารณาแล้วเสนอผูบ้ ริหารท้องถิน่
นาร่างแผนสามปี เสนอสภาท้องถิน่
เห็นชอบ
อนุมตั ิและประกาศใช้
 ความหมาย
 สาระสาคัญ
“แผนการดาเนิ นงานของ อปท.
ที่แสดงถึงรายละเอียด แผนงาน
โครงการพัฒนา และกิจกรรม
ที่ดาเนิ นการจริงทัง้ หมดในพื้นที่
ของ อปท. ประจาปี งบประมาณ
นั้น ”
- เป็ นแผนที่แยกออกมาจากแผนพัฒนาสามปี
- จัดทาหลังจากที่ได้มกี ารจัดทา
งบประมาณรายจ่ายประจาปี แล้ว
- แสดงถึงรายละเอียดของโครงการ กิจกรรม
ที่ดาเนิ นการจริงทัง้ หมดในพื้นที่
- เป็ นการรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่ วยงานที่จะ
เข้ามาดาเนิ นการในพื้นที่
คกก. สนับสนุน
ฯ
คกก. พัฒนาท้องถิน่
ผูบ้ ริหารท้องถิน่
รวบรวมแผนงาน/
โครงการ จัดทาร่างฯ
พิจารณา
ประกาศใช้
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
แผนพัฒนาสามปี
งบประมาณรายจ่ ายประจาปี
แผนปฏิบตั ิการ
สรุปขั้นตอนกำรติดตำมและประเมินผลแผนพัฒนำสำมปี
คกก. ติดตำมและ
ประเมินผลแผนฯ
ส่วนรำชกำร อบต.ประเมินผลกำรดำเนินงำนตนเอง
ตำมแบบ 3/1
ต.ค.-พ.ย.
ประชำชนประเมินควำมพึงพอใจภำพรวมตำมแบบ 3/2
ต.ค.-พ.ย.
ประชำชนประเมินควำมพึงพอใจตำมยุทธศำสตร์
ตำมแบบ 3/3
ต.ค.-พ.ย.
รำยงำนผลต่อผูบ้ ริหำรท้องถิ่น
ผูบ้ ริหำรฯ เสนอ สภำ อบต.+ คกก.พัฒนำฯ
ประกำศปชช.ทรำบ ไม่น้อยกว่ำ 30 วัน
ธ.ค.
แผนชุมชน
ช่องทางการเสนอของบประมาณของหมูบ
่ า้ น/ชุมชน
แผนพัฒนาหมูบ
่ า้ น/ชุมชน
ทาเอง ไม่ใช้งบประมาณ
ของภาคราชการ
เกินกาลัง ต้องขอรับการ
สนับสนุนงบประมาณ
อบต.
อบจ.
จังหวัด
หมู่บ้าน
ดาเนินการเอง
ภาค
เอกชน
ส่วน
ราชการ
กระบวนการขับเคลือ่ นแผนชุมชน
หมูบ
่ า้ น
แผนชุมชน (ธกส.) แผนชุมชน (สกว.) แผนกลุ่มสตรี
แผนชุมชน (กศน.)
แผนชุมชน (พอช.)
แผนกลุ่มอาชีพ
แผนชุมชน (พช.)
ฯลฯ
กม.
ปค.
จ ังหว ัด
บูรณาการแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุ มชน
ทุกหมู่บ้าน ในตาบล โดย
บูรณาการ แผนพัฒนา
อาเภอ
บูรณาการ แผนพัฒนา
จังหวัด
กลไก
ศอช.ต.
สอช.
พช.
พอช.
สนับสนุน ข้อมูล จปฐ./กชช.๒ ค “แผนชุมชนคุณภาพระดับดีมาก/ดี/
พอใช้” และข้อมูลอื่นๆ ของหมู่บา้ น แก่คณะกรรมการหมู่บา้ น (กม.) ที่จะ
นาไปจัดทาเป็ นแผนพัฒนาหมู่บา้ น/ชุมชน ในปี ๒๕๕๓ โดยไม่ตอ้ งจัดทา
แผนชุมชนขึ้นใหม่ หรื อใช้ปรับทบทวนเป็ นแผนพัฒนาหมู่บา้ น/ชุมชน
วิทยากรกระบวนการ
-เข้าร่ วมเป็ นวิทยากรกระบวนการในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บา้ น/ชุมชน
ใหม่ หรื อปรับทบทวนแผนชุมชน รวมทั้งบูรณาการแผนพัฒนาหมู่บา้ น
-ส่ งเสริ มและสนับสนุน ศอช.ต. เพื่อให้สามารถเป็ นกลไกบูรณาการแผน
ชุมชนในระดับตาบล/เทศบาล รวมทั้ง ให้ความรู ้แก่ผนู ้ าชุมชน กลุ่ม
องค์กร และเครื อข่าย ในเรื่ องกระบวนการจัดทาแผนชุมชน และการเป็ น
วิทยากรกระบวนการ ตลอดจนส่งเสริ มและสนับสนุนให้ผนู ้ าชุมชน กลุ่ม
องค์กร และเครื อข่าย เข้าเป็ นคณะกรรมการหมู่บา้ น (กม.) ต่อไป
คณะทางาน
บูรณาการฯ
คณะทางาน
บูรณาการฯ
อกอ.
สานักงานอาเภอ
อปท.
สถ.
ฝ่ ายอานวยการ
(ผู้กากับการแสดง)
ข้อมูลสารสนเทศชุมชน
รับรองมาตรฐานแผนชุมชน
อาเภอ
ชุ ดปฏิบัติการ
ตาบล (พีเ่ ลีย้ ง)
1. กม. บูรณาการแผนชุมชน/กลุ่มองค์ กรทุกแผนที่พบในหมู่บ้าน
มาจัดลงตามกรอบแผนพัฒนาหมู่บ้าน 5 กล่อง
2. ถ้ าแผนที่พบไม่ ทันสมัย ขาดตกบกพร่ อง ให้ ทบทวนปรับปรุ งใหม่ ถ้ า
ยังไม่ มีแผนชุมชนเลย ให้ จัดประชาคม ทาแผนใหม่ ร่ วมกับ ปชช. ผู้นา
กลุ่มองค์กร โดยใช้ ข้อมูลสารสนเทศชุมชน
(จปฐ. กชช.2 ค ) และวิทยากรกระบวนการ
3. ทาเล่ม 3 เล่ม โดยประธาน กม. ลงนามรับรองแผนพัฒนาหมู่บ้าน/
ชุมชน ส่ งให้ อปท. 1 เล่ม ส่ งให้ อาเภอ 1 เล่ม
บทบาทหน้ าที่ พช.
ตาบล
1. อปท. แต่ งตัง้ ให้ ศอช.ต. หรือ สภาองค์ กร
ชุมชน หรือองค์ กรภาคประชาชนที่เข้ มแข็งใน
ตาบล เป็ นคณะบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล
และสนับสนุนงบประมาณในการทบทวนแผนชุ มชน
บูรณาการแผนชุ มชน
2. ปรับเข้ าสู่ แผนพัฒนาท้ องถิ่น 3 ปี (โดยในอนาคต ให้
ยึดเป็ นแผนพัฒนาท้ องถิ่นได้เลย)
3. นาไปพิจารณารวมกับนโยบายผู้บริหาร อปท.เพือ่
จัดตั้งเป็ นข้ อบังคับงบประมาณ เทศบัญญัติฯ ประจาปี
4. ที่เกินศักยภาพ ส่ งต่ อไปบูรณาการเป็ นแผนพัฒนา
อาเภอ/จังหวัด แผน อบจ. และแผนของหน่ วยงาน
Function ต่ อไป
สนับสนุนให้ หมู่บ้านชุมชนสมัครเข้ ารับการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน
กบจ.
สานักงานจังหวัด
จัดทาคาของบประมาณ
ประจาปี
แผนของ
อบจ.
- พัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน
แผนของ
หน่วยงาน
(Function)
นโยบายพิเศษ
ของร ัฐบาล
โครงการ SML
ปฎิทนิ การบูรณาการแผนในพืน้ ที่
ต.ค.-พ.ย.52/53
ธ.ค.-ม.ค.54
ก.พ.-มี.ค.54
เม.ย.-พ.ค.54
จัดทากรอบ
ยุทธศาสตร์ จังหวัด
มิ.ย.-ก.ค.54
กบจ.
บูรณาการจัดทา
แผนพัฒนาอาเภอ
อำเภอ
บูรณาการจัดทา
แผนพัฒนาตาบล
ตาบล
บูรณาการจัดทา
แผนพัฒนาหมู่บ้าน
หมู่บ้าน/
ชุ มชน
ทบทวน/ปรับปรุง
แผนชุมชน
ต.ค.-พ.ย.52/53
ธ.ค.-ม.ค.54
อกอ.
กบอ.
ฐานข้ อมูลแผนชุมชน
อบต.
ศอช.ต
ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน
กม.
วิทยากรกระบวนการ
แกนนา
แผน
ภารกิจ
ข้ อมูลสารสนเทศชุ มชน /
แผนชุ มชนเดิม แผนธุรกิจของกลุ่มองค์ กร
จัดเก็บข้ อมูล จปฐ.
กชช.2 ค และข้ อมูลอืน่ ๆ
ก.พ.-มี.ค.54
จัดทาแผนหน่ วยงาน
Function
บูรณาการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด /
จัดทาคาของบประมาณ ปี 55-56
จัดทาแผน อบจ.
จังหวัด
ส.ค.-ก.ย.54
เม.ย.-พ.ค.54
มิ.ย.-ก.ค.54
ส.ค.-ก.ย.54
พช.
ต.ค.-พ.ย.54
ธ.ค.
54
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับที่ 7)พ.ศ.2550
มาตรา 61/1 ให้อาเภอมีอานาจหน้าที่ภายในเขตอาเภอ ดังต่อไปนี้
(1) อานาจและหน้าที่ตามที่กาหนดในมาตรา 52/1 (1) (2)
(3) (4) (5) และ (6) โดยให้นาความในมาตรา 52/1 วรรคสองมา
ใช้บังคับโดยอนุโลม
(2) ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการบริการร่วมกันของ
หน่วยงานของรัฐในลักษณะศูนย์บริการร่วม
(3) ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อร่วมมือกับ
ชุมชนในการดาเนินการให้มีแผนชุมชน เพื่อรองรับการสนับสนุน
งบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท่องถิ่น จังหวัด และกระทรวง
ทบวง กรม
(4) ไกล่เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคมตามมาตรา 61/2 และ 61/3
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551
ม า ต ร า 2 8 ต รี ใ น ห มู่ บ้ า น ห นึ่ ง ใ ห้ มี ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ห มู่ บ้ า น
ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก
สภาองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี ภู มิ ล าเนาในหมู่ บ้ า น ผู้ น า
หรือผู้แทนกลุ่มหรือองค์กรในหมู่บ้าน เป็นกรรมการหมู่บ้านโดย
ต าแหน่ ง และกรรมการหมู่ บ้ า นผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง นายอ าเภอ
แต่ ง ตั้ ง จากผู้ ซึ่ ง ราษฎรในหมู่ บ้ า นเลื อ กเป็ น กรรมการหมู่ บ้ า น
ผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่น้อยกว่าสองคนแต่ไม่เกินสิบคน
คณะกรรมการหมู่บ้านมีหน้าที่ช่วยเหลือ แนะนา และให้
คาปรึกษาแก่ผู้ใหญ่บ้าน เกี่ยวกับกิจการอันเป็นอานาจหน้าที่
ของผู้ใหญ่บ้าน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามกฎหมาย หรือระเบียบ
แบบแผนของทางราชการ หรือทีนายอาเภอมอบหมาย หรือที่
ผู้ใหญ่บ้านร้องขอ
ให้คณะกรรมการหมู่บ้านเป็นองค์กรหลักที่รับผิดชอบใน
การบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บา้ น และบริหารจัดการ
กิจกรรมที่ดาเนินงานในหมู่บ้านร่วมกับองค์กรอื่นทุกภาคส่วน
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548
ข้อ 10 คณะกรรมพัฒนาท้องถิน
่ มีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กาหนดแนวทางการพัฒนาท้องถิน
่ โดยพิจารณาจาก
(1.1) อานาจหน้าทีข
่ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน
่
โดยเฉพาะอานาจหน้าทีท
่ ม
ี่ ผ
ี ลกระทบต่อประโยชน์สข
ุ ของประชาชน เช่นการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การผังเมือง
(1.2) ภารกิจถ่ายโอนตามกฎหมายกาหนดแผนและขัน
้ ตอน
การกระจายอานาจ
(1.3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ กลุ่มจังหวัด และจังหวัด
โดยให้เน้นดาเนินการในยุทธศาสตร์ทส
ี่ าคัญและมีผลต่อประชาชนโดยตรง
เช่น การแก้ไขปัญหาความยากจน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
(1.4) กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน
่ ในเขตจังหวัด
(1.5) นโยบายของผูบ
้ ริหารท้องถิน
่ ทีแ
่ ถลงต่อสภาท้องถิน
่
(1.6) แผนชุมชน
ฯลฯ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548
ข้อ 10 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิน
่ มีอานาจหน้าที่ ดังนี้
ฯลฯ
(2) ร่วมจัดทาร่างแผนพัฒนา เสนอแนะแนวทางการพัฒนาและการ
แก้ไขปัญหาเกีย
่ วกับการจัดทาร่างแผนพัฒนา
ในการจัดทาร่างแผนพัฒนา ให้เทศบาล เมืองพัทยา องค์การ
บริหารส่วนตาบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน
่ อืน
่ ทีม
่ ก
ี ฎหมายจัดตัง้ นา
ปัญหาความต้องการจากแผนชุมชนทีเ่ กินศักยภาพของชุมชนทีจ
่ ะ
ดาเนินการเองได้มาพิจารณาบรรจุไว้ในแผนพัฒนา
ฯลฯ
(7) ในกรณี อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล ให้ ค ณะกรรมการพั ฒ นา
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลมี ห น้ า ที่ ป ระสานกั บ ประชาคมหมู่ บ้ า น ในการ
รวบรวม วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นและจัดทา
เป็นโครงการหรือกิจกรรมเพื่อ ประกอบในการจัดท าแผนพัฒนาองค์การ
บริหารส่วนตาบลด้วย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548
ข้อ 16 การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาให้
ดาเนินการตามระเบียบนี้ โดยมีขั้นตอนดาเนินการดังนี้
( 1 ) ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น จั ด ป ร ะ ชุ ม
ประชาคมท้ อ งถิ่ น ส่ ว นราชการและรั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่
เกี่ยวข้อง เพื่อแจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น รับทราบ
ปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนา และประเด็นที่
เกี่ ย วข้ อ งตลอดจนความช่ ว ยเหลื อ ทางวิ ช าการ และ
แนวทางปฏิ บั ติ ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพพื้ น ที่ เพื่ อ น ามา
กาหนดแนวทางการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนา โดย
ให้นาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ
และข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548
ข้อ 17 การจัดทาแผนพัฒนาสามปี ให้ดาเนินการตาม
ระเบียบนี้ โดยมีขั้นตอนดาเนินการดังนี้
(1) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับ ประชาคม
ท้อ งถิ่ น ก าหนดประเด็ นหลัก การพัฒนาให้ส อดคล้ อ ง
กับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาใน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา รวมทั้งสอดคล้องกับปัญหา
ความต้ อ งการของ ประชาคมและชุ ม ชน โดยให้ น า
ข้ อ มู ล พื้ น ฐานในการพั ฒ นาจากหน่ ว ยงานต่ า งๆ และ
ข้ อ มู ล ใน แผนชุ ม ชน มาพิ จ ารณาประกอบการจั ด ท า
แผนพัฒนาสามปี
กำรเชื่อมโยงแผนชุมชน
สู่แผนพัฒนำจังหวัด
เกณฑคุ
์ ณภาพแผนชุมชน
(๑) ใช้ขอมู
้ ฐาน จปฐ. กชช. ๒ ค และ
้ ลพืน
ข้อมูลบัญชีรบ
ั จายครั
วเรือนรอยละ
๗๐ ขึน
้ ไป
่
้
รวมในการวิ
เคราะหและจั
ดทาแผนชุมชน
่
์
(๒) ตัวแทนครัวเรือนในชุมชนมีส่วนรวมในการ
่
จัดทาแผนชุมชนมากกวาร
๗๐ ของ
่ อยละ
้
ครัวเรือนทัง้ หมด
าตัง้ แตต
(๓) อบต. มีส่วนรวมในการท
้
่ น
่
(๔) มีแผนชุมชนทีเ่ ป็ นลายลักษณอั
์ กษร
(๕) มีกระบวนการชุมชนตามแบบปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีแผนงาน/โครงการ
ก.น.จ.
•คณะกรรมการนโยบายการบริหารงาน
จังหวัดและกล่ มุ จังหวัดแบบบูรณาการ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริ หารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑
ก.บ.ก.
•คณะกรรมการบริหารงานกล่ มุ จังหวัด
แบบบูรณาการ (ก.บ.ก.)
• พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริ หารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑
ก.บ.จ.
•คณะกรรมการบริหารงาน
จังหวัดแบบบูรณาการ
• พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริ หารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑
ก.บ.อ.
•คณะกรรมการบริหารงานอาเภอ
• พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริ หารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑
อกอ.
•คณะอนุกรรมการบริ หารงานแบบ
บูรณาการระดับอาเภอ
• 1.นายอาเภอ ปธ./2.ปลัดอาเภอหรือหน.ส่ วนราชการอาเภอ/3.ผู้บริหาร
อปท.ในอาเภอ/4. ผู้แทนภาคประชาสั งคม/5.ปลัดอาเภอหรือหน.ส่ วน
ราชการอาเภอ เลขานุการ
• พระราชกฤษฎีกาว่ าด้ วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบ
บูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑
กม.
•คณะกรรมการหมู่บ้าน
• ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้ วยหลักเกณฑ์ การเป็ นกรรมการหมู่บ้าน การปฏิบัตหิ น้ าที่และการประชุ มของ
คณะกรรมการ หมู่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๑
• พระราชบัญญัตลิ กั ษณะปกครองท้ องที่ พุทธศักราช ๒๔๕๗ มาตรา ๒๘ ตรี ในหมู่บ้านหนึ่งให้ มีคณะกรรมการ
หมู่บ้านประกอบด้ วย ผู้ใหญ่ บ้านเป็ นประธาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้าน สมาชิกสภาองค์กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ ที่มี
ภูมิลาเนาในหมู่บ้าน ผู้นาหรือผู้แทนกลุ่มหรือองค์กรในหมู่บ้าน เป็ นกรรมการหมู่บ้านโดยตาแหน่ ง และกรรมการ
หมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายอาเภอแต่ งตั้งจากผู้ซึ่งราษฎรในหมู่บ้านเลือกเป็ นกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิจานวน
ไม่ น้อยกว่าสองคนแต่ ไม่ เกินสิบคน
ศอช.ต
•ศูนย์ ประสานงานองค์ กรชุมชน
ระดับตาบล
• เรียกชื่อย่อว่ า “ศอช.ต.” สมาชิกประกอบด้ วย กลุ่ม/องค์ กรชุ มชนทั้งหมดในตาบล
สมาชิกสภาองค์ การบริการส่ วนตาบล กานัน ผู้ใหญ่ บ้าน ปราชญ์ ชาวบ้าน ผู้นาอาสา
พัฒนาชุ มชน (ผู้นา อช.) ผู้นาเยาวชน ฯลฯ
• ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่ าด้ วยการดาเนินงานศูนย์ ประสานงานองค์ การชุมชน
พ.ศ. ๒๕๕๑
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน
สานักงานปลัด
องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งขนาน
โทร. 039 497 537