หัวข้อวิชา การด ูแลรักษาและคม้ ุ ครองป้องกันที่ดิน อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน โดย นายชัชวาล สมจิตต์ ผูอ้ านวยการส่วนคม้ ุ ครองที่ดินของรัฐ สานักจัดการที่ดินของรัฐ กรมที่ดิน กรอบแนวทางการแก้ไขปั ญหาการบุกรุกที่ดนิ ของรัฐ แผ่นดิน เกิดอะไรขึน้ บนแผ่นดินนัน้ ขอบเขตไม่ชดั ทำให้ชดั ถ้ำอยูน่ อกมีสิทธิ แนวทางแก้ไขปั ญหา ถ้าอยูใ่ น ใครอยูก่ ่อน (พิสูจน์สิทธิ ) อยูน่

Download Report

Transcript หัวข้อวิชา การด ูแลรักษาและคม้ ุ ครองป้องกันที่ดิน อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน โดย นายชัชวาล สมจิตต์ ผูอ้ านวยการส่วนคม้ ุ ครองที่ดินของรัฐ สานักจัดการที่ดินของรัฐ กรมที่ดิน กรอบแนวทางการแก้ไขปั ญหาการบุกรุกที่ดนิ ของรัฐ แผ่นดิน เกิดอะไรขึน้ บนแผ่นดินนัน้ ขอบเขตไม่ชดั ทำให้ชดั ถ้ำอยูน่ อกมีสิทธิ แนวทางแก้ไขปั ญหา ถ้าอยูใ่ น ใครอยูก่ ่อน (พิสูจน์สิทธิ ) อยูน่

หัวข้อวิชา
การด ูแลรักษาและคม้ ุ ครองป้องกันที่ดิน
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
โดย
นายชัชวาล สมจิตต์
ผูอ้ านวยการส่วนคม้ ุ ครองที่ดินของรัฐ
สานักจัดการที่ดินของรัฐ กรมที่ดิน
กรอบแนวทางการแก้ไขปั ญหาการบุกรุกที่ดนิ ของรัฐ
แผ่นดิน
เกิดอะไรขึน้ บนแผ่นดินนัน้
ขอบเขตไม่ชดั
ทำให้ชดั ถ้ำอยูน่ อกมีสิทธิ
แนวทางแก้ไขปั ญหา
ถ้าอยูใ่ น ใครอยูก่ ่อน
(พิสูจน์สิทธิ )
อยูน่ อก/อยูก่ ่อน
ออกโฉนดที่ดิน
มาตรการในการแก้ปัญหา
อยูใ่ น/อยูห่ ลัง
- ดาเนินคดี
- จัดที่ดินทากิน
- โฉนดชุมชน
- ส.ป.ก.
มาตรา 8 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
“บรรดาที่ ดินทั้ง หลายอันเป็ นสาธารณสมบัติ ของ
แผ่นดิน หรือ เป็ นทรัพย์สินของแผ่นดินนัน้ ถ้าไม่มกี ฎหมาย
กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ให้อธิบดีมีอานาจหน้าที่ ดแู ลรักษา
แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ป้ อ ง กั น ไ ด้ ส ม ค ว ร
แก่ ก รณี อ านาจหน้า ที่ ดั ง ที่ ว่ า นี้ รั ฐ มนตรี จ ะมอบหมาย
ให้ทบวงการเมืองอื่นเป็ นผูใ้ ช้ก็ได้ ...”
มาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติลกั ษณะปกครองท้องที่
พระพุทธศักราช 2457 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551
(บังคับใช้ เมษายน 2551)
“นายอ าเภอมีหน้า ที่ ร่ ว มกับ องค์ก รปกครองส่ว นท้อ งถิ่ น
ในการดูแลรักษาและคุม้ ครองป้องกันที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติ
ของแผ่ น ดิ น ที่ ป ระชาชนใช้ป ระโยชน์ ร่ ว มกั น และสิ่ ง ซึ่ ง เป็ น
สาธารณประโยชน์อื่นในเขตอาเภอ”
“นายอ าเภอและองค์ป กครองส่ ว นท้อ งถิ่ น ไม่ มี
อานาจใช้หรือยินยอมให้บคุ คลอื่นใช้ที่ดินตามวรรคหนึ่ง
เว้นแต่จะได้รับความเห็ นชอบจากผูว้ ่าราชการจัง หวัด
และปฏิบัติตามประมวลกฎหมายที่ดิน และกฎหมายอื่ น
เกี่ยวข้อง”
ในกรณีที่มีขอ้ พิพาทหรือคดีเกี่ยวกับที่ดิน ตามวรรคหนึ่ง
นายอาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะร่วมกันดาเนิ นการ
หรื อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะเป็ นผูด้ าเนินการก็ ให้มีอานาจกระท าได้
ทั้ ง นี้ กระทรวงมหาดไทยจะวางระเบี ย บก าหนดหลั ก เกณฑ์
เป็ นแนวปฏิบตั ดิ ว้ ยก็ได้
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสาม
ใช้จ่ า ยจากงบประมาณขององค์ก รปกครองส่ว นท้อ งถิ่ น ตาม
ระเบียบที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด
คาสัง่ กระทรวงมหาดไทย ที่ 505/2552 ลงวันที่ 20 พ.ย. 2552
“...อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
รัฐมนตรี ว่า การกระทรวงมหาดไทยมอบหมายให้อ งค์ก รปกครองส่ว น
ท้องถิ่นมีอานาจดูแลรักษาและดาเนินการคุม้ ครองป้องกันที่ดินอันเป็ นสา
ธารณสมบัติของแผ่นดินหรือทรัพย์สินของแผ่นดินที่ไม่มีกฎหมายกาหนด
ไว้เป็ นอย่างอื่น ดังนี้
1. กรุงเทพมหานคร
ภายในเขตกรุงเทพมหานคร
2. เมืองพัทยา
ภายในเขตเมืองพัทยา
3. เทศบาล
ภายในเขตเทศบาล นัน้
4. องค์การบริหารส่วนตาบล ภายในเขตองค์ ก ารบริ ห าร
ส่วนตาบล นัน้
ส าหรั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ให้ก ารสนั บ สนุน องค์ ก ร
ปกครองส่วนท้องถิ่นตาม (2)(3)และ(4)
มาตรา 1304 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ นัน้
รวมทรัพย์สินของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์
หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์รว่ มกัน เช่น
(1) ที่ดนิ รกร้างว่างเปล่า และที่ดนิ ซึ่งผูเ้ วนคืนหรือทอดทิ้งหรือ
กลับมาเป็ นของแผ่นดิน โดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดนิ
(2) ทรัพย์สินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน เป็ นต้นว่า ที่ชายตลิ่ง
ทางนา้ ทางหลวง ทะเลสาบ
(3) ทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ เป็ นต้นว่า
ป้อมและโรงอาหาร สานักราชการบ้านเมือง เรือรบ อาวุธยุทธภัณฑ์
ที่ดินรกร้างว่างเปล่า ตามมาตรา 1304(1)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1. เป็ นทรัพย์สินของแผ่นดิน
1.1 ใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือ
1.2 สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน
2. ไม่มบี คุ คลใดมีสิทธิครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย



ที่ ดิ น ที่ มี ผ ูเ้ วนคื น - ที่ ดิ น เอกชนแต่ ไ ด้เ วนคื น ให้รั ฐ โดยสมั ค รใจ
ตามมาตรา 5 แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ
ที่ดินที่ถกู ทอดทิ้ง - ที่ดินเอกชนไม่ทาประโยชน์ ตามมาตรา 6 แห่ง
ประมวลกฎหมายที่ดนิ (โฉนดเกิน 10 ปี น.ส.3 เกิน 5 ปี ติดต่อกัน)
ที่ ดิ น ซึ่ ง กลับ เป็ นของแผ่น ดิ น โดยประการอื่ น - ที่ ดิ น เอกชนที่ ถ ูก
เวนคืนตามพระราชบัญญัตเิ วนคืนอสังหาริมทรัพย์
ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับ
พลเมืองใช้ประโยชน์รว่ มกัน (ม.1304(2) ป.พ.พ.)
1. มีการสงวนหวงห้ามตามกฎหมายหรือไม่
1.1 ก่อนปี พ.ศ. 2478 ไม่มรี ปู แบบ
1.2 ปี พ.ศ. 2478 – 2497 ตามพระราชบั ญ ญั ติ
ว่ า ด้ว ยหวงห้า มที่ ดิ น รกร้า งว่ า งเปล่ า อัน เป็ นสาธารณสมบั ติข อง
แผ่นดิน พ.ศ. 2478 ต้องออกพระราชกฤษฎีกา
1.3 หลั ง ปี พ.ศ. 2497 ประมวลกฎหมายที่ ดิ น เดิ ม
ใช้บังคับ ต้องประกาศสงวนหวงห้ามตามมาตรา 20(4) แห่งประมวล
กฎหมายที่ดนิ
2. เกิดขึน้ โดยสภาพการใช้ประโยชน์
3. เกิดขึน้ โดยสภาพธรรมชาติ
4. เกิดโดยการอุทิศ
4.1 อุทิศโดยตรง
4.2 อุทิศโดยปริยาย
ผลการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
1. ห้า มโอน มาตรา 1305 แห่ ง ประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิชย์
2. ห้า มยกอายุค วามต่อ สูร้ ัฐ มาตรา 1306 แห่ ง ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3. ไม่อยู่ในข่ายบังคับคดี มาตรา 1307 แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์
4. เป็ นที่ ส าธารณประโยชน์ต ลอดไปจนกว่ า จะมี พ ระราช
กฤษฎีกาถอนสภาพ (ฎ.428/11)
การจัดทาทะเบียนสาธารณประโยชน์
- ตาแหน่งที่ดนิ เนือ้ ที่ ขอบเขต
- ผูห้ วงห้าม วัตถุประสงค์หวงห้าม และวันเดือนปี
ผล - เป็ นเอกสารราชการใช้อา้ งเป็ นพยานหลักฐานได้
หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง (ม. 8 ตรี ป.ที่ดนิ )
1. ที่ ดิ น สาธารณสมบั ติ ข องแผ่ น ดิ น ส าหรั บ พลเมื อ ง
ใช้ประโยชน์ร่วมกัน (ที่สาธารณประโยชน์) ยกเว้น มีแนวเขตธรรมชาติ
อยู่แล้ว เช่น ทาง ห้วย เป็ นต้น
2. ที่ ดิ น สาธารณสมบั ติข องแผ่น ดิ น เพื่ อ ประโยชน์ร าชการ
โดยเฉพาะ (ที่ราชพัสดุ)
การออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
มีผคู้ ดั ค้านดาเนินการตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 45
1. ผูค้ ดั ค้านไม่มีหลักฐานแสดงสิทธิ ให้ฟ้องศาลภายใน
60 วันนับแต่วนั ที่คดั ค้าน
2. ผูค้ ดั ค้านมีหลักฐานแสดงสิทธิในที่ดิน ให้ตรวจสอบ
สิทธิในที่ดนิ ว่าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่




คาสัง่ กรมที่ดิน ที่ 2185 /2546เรื่อง มอบอานาจของอธิบดีกรม
ที่ดนิ ให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการปฎิบตั ริ าชการแทน
- ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
- แก้ไขเพิกถอนหนังสือสาคัญสาคัญสาหรับที่หลวง
- ออกใบแทนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
สาเหต ุการการบ ุกร ุก
1. สภาพที่ดนิ
- หลักฐานไม่ชดั เจน
- แนวเขตไม่ชดั เจน
- สิ่งก่อสร้างแนวเขตไม่คงทนถาวร
- ไม่มหี ลักฐาน ไม่มแี นวเขต
2. เจ้าหน้าที่ผมู้ อี านาจดูแลรักษา
- มีอตั รากาลังน้อย
- ขาดความรูค้ วามสามารถ
- ปล่อยปละละเลย
3. นโยบายของรัฐ
- ไม่ชดั เจน
- ไม่แน่นอน
- ไม่เด็ดขาด/จริงจัง
- ไม่เป็ นธรรม
4. ราษฎรผูบ้ กุ รุก
- ประชากรเพิ่มขึน้
- ขาดจิตสานัก/เอาเปรียบ
- ขาดความเกรงกลัวกฎหมาย
- มีผใู้ ห้การช่วยเหลือสนับสนุน
แนวทางแก้ไขปัญหาการบ ุกร ุก
1. แก้ไขสภาพที่ดนิ
- ให้การสนับสนุนงบประมาณจัดทาหลักฐานแนว
เขตให้มนั ่ คง ถาวร ชัดเจน เช่น ทารัว้ ถนน ปลูกไม้ยืนต้น
- เร่งรัดเจ้าหน้าที่ดาเนินการจัดทาหลักฐานแนวเขต
เช่น การรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
2. แก้ไขเจ้าหน้าที่ผดู้ แู ลรักษา
- สนับสนุนบุคลากรรับผิดชอบโดยตรง
- อบรม พัฒนา เจ้าหน้าที่
- จัดทาคูม่ อื แนวทางปฏิบตั ิ
3. แก้ไขนโยบายรัฐ
- ต้องมีความชัดเจน/แน่นอน
- เด็ดขาด/จริงจัง
- ต้องดาเนินการโดยเสมอภาคให้ความเป็ น
ธรรม
4. แก้ไขตัวราษฎร
4.1 ประชาสัมพันธ์ให้เห็ นความสาคัญของที่ ดิน
ของรัฐ และการอนุรกั ษ์ไว้ให้อนุชนรุ่นหลัง
4.2 ปิ ดประกาศให้ป ระชาชนทราบถึ ง การเป็ น
ที่ดนิ ของรัฐ
4.3 ให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการดูแลรักษา
4.4 ให้ทราบว่าผูฝ้ ่ าฝื นมีโทษอาญา
กรณีไม่สามารถชี้แนวเขตที่สาธารณประโยชน์ได้
แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็ จ จริ งเพื่ อหาแนวเขต
โดยพิจารณาจาก
1) พยานเอกสาร
2) พยานบุคคล
3) ตรวจสอบสภาพที่ดนิ
การดาเนินการกรณีมีการบ ุกร ุกที่ดินของรัฐ
1. หลักนิตศิ าสตร์ (ดาเนินคดีกบั ผูบ้ กุ รุก)
2. หลักรัฐศาสตร์ (ดาเนินการอย่างอื่น)
การดาเนินคดีกบั ผูบ้ ุกร ุกที่ดินของรัฐ
หลัก จะต้องรวบรวมพยานหลักฐานว่าเป็ นที่ดนิ ของรัฐก่อน
1. กรณีบกุ รุกก่อนปี พ.ศ. 2515 (ปว.ฉบับ 96 พ.ศ. 2515) มี
ค ว า ม ผิ ด ต า ม ม . 9 แ ล ะ ม . 1 0 8 ป . ที่ ดิ น ต้ อ ง แ จ้ ง แ ล ะ
มีคาสัง่ ให้ผบู้ กุ รุกออกจากที่ดนิ ของรัฐก่อน
2. กรณี บุก รุก หลั ง ปี พ.ศ. 2515 มี ค วามผิ ด ตาม ม.9 และ
ม.108 ทวิ ป.ที่ดิน ไม่ตอ้ งแจ้งให้ผบู้ กุ รุกออกจากที่ดิ นของรัฐก่อน
ก็ได้
กระบวนการพิสจู น์สิทธิ์
คณะกรรมการแก้ไ ขปั ญ หาการบุก รุก ที่ ดิ น ของรั ฐ (กบร.)
กาหนดหลักเกณฑ์ ดังนี้
1. ผูฝ้ ่ าฝื น มี พ ยานหลั ก ฐานที่ ค รอบครองมาก่ อ นเป็ นที่ ดิ น
ของรัฐหรือไม่ โดยพิจารณาจาก
1) เอกสารราชการท าขึ้น และลงวัน ที่ ก่อ นเป็ นที่ ดิ น ของรัฐ
หรือ
2) ลงวันที่หลัง แต่กอ่ น ป.ที่ดนิ และมีขอ้ ความว่าได้มาก่อนเป็ น
ที่ดนิ ของรัฐ
3) พยานหลัก ฐานอื่ น ว่ า ครอบครองก่ อ นเป็ นที่ ดิ น ของรั ฐ
จะต้องมีการอ่านภาพถ่ายทางอากาศด้วย
2. ถ้าครอบครองภายหลัง ให้แจ้งผูฝ้ ่ าฝื น 30 วัน แล้ว
ดาเนินการตามกฎหมาย
3. ถ้า ครอบครองก่ อ น ให้แ จ้ง ผูฝ้ ่ าฝื น 30 วั น แจ้ง
หน่วยงานที่เกีย่ วข้องดาเนินการ
การดาเนินการกับผูบ้ ุกร ุกโดยประการอื่น
1. การจัดที่ดินตามนโยบายการแก้ไขปั ญหาสังคมและความ
ยากจน
1.1 อยู่ในเงือ่ นไข
- ผูฝ้ ่ าฝื นยอมรับเป็ นที่ดนิ ของรัฐ
- ยอมเช่าโดยเสียค่าตอบแทน
- ประชาชน/อปท./อาเภอ เห็นด้วย
1.2 เป็ นที่ ดิน สาธารณประโยชน์ที่มีก ารบุกรุก และ
ราษฎรเลิกใช้ประโยชน์
1.3 มีการทาประโยชน์ชดั เจนเป็ นเวลานาน
1.4 ครอบครัวไม่เกิน 15 ไร่
1.5 ต้อ งเป็ นผูย้ ากจนไม่มี ที่ ดิ น ท ากิ น หรื อ มี แ ต่ไ ม่
เพียงพอ
2. ดาเนินการตามกฎหมายปฏิรปู ที่ดนิ
3. แนวนโยบายโฉนดชุมชน
4. ถอนสภาพ/จัดหาผลประโยชน์ โดยให้เช่า
5.กรณี ผ ู้ฝ่ าฝื นอยู่ ก่ อ นปี 2515 ให้ อ ยู่ ชั ่ว คราว
ตามระเบี ย บ คณะกรรมการจั ด ที่ ดิ น แห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 3
(พ.ศ. 2515)
การออกเอกสารสิทธิในที่ดินของรัฐที่หมดสภาพแล้ว



มติคณะกรรมการจัดที่ดนิ แห่งชาติ เมื่อ 11 กันยายน 2517
มติ ค.ร.ม. เมือ่ 4 พฤษภาคม 2536
มติ กบร.ส่วนกลาง เมือ่ 23 พฤษภาคม 2540
วิธีปฏิบตั ิเมื่อมีการบ ุกร ุกที่ดินของรัฐ
1. ต้องรีบด าเนินการโดยเร็ ว ก่อนจะขยายพื้นที่ หรื อจานวน
ผูบ้ กุ รุก
2. ตรวจสอบข้อมูลการเป็ นที่ดนิ ของรัฐที่มอี ยู่
3. แจ้ง ผูฝ้ ่ าฝื นว่ า เป็ นที่ ดิ น ของรัฐ การฝ่ าฝื นเป็ นความผิด
อาญา
4. หากไม่ เ ชื่ อ ฟั ง แจ้ง ตั ก เตื อ น หากฝ่ าฝื นจะถู ก
ดาเนินคดีตามกฎหมาย
5. หากผูบ้ กุ รุกจานวนมาก เรียกประชุมชี้แจงให้รถู้ ึง
สิทธิ/หน้าที่ และยอมรับสิทธิทางราชการ
6. กรณีมีโต้แย้ง การครอบครอง เข้าสู่กระบวนการ
พิสจู น์สิทธิ์ (กบร.) ไม่พอใจใช้สิทธิทางศาล
7. ผูจ้ งใจฝ่ าฝื น ดาเนินคดีจนถึงบังคับคดี
8. หากไม่ แ น่ ใ จว่ า เป็ นที่ ดิ น ของรั ฐ ด าเนิ น การ
สอบสวนตามระเบี ย บกระทรวงมหาดไทย ว่ า ด้ว ยการ
สอบสวนเกี่ยวกับการบุกรุกที่หรือทางสาธารณประโยชน์
พ.ศ. 2539 แล้วนาเข้า กบร. เสนอผูว้ ่าราชการจังหวัดสัง่
การ