Business Law กฎหมายธุรกิจ ระดับปริญญาตรี

Download Report

Transcript Business Law กฎหมายธุรกิจ ระดับปริญญาตรี

หลักเอกชน
โดย
อาจารย์ กาญจณา สุ ขาบูรณ์
Hotmail-Hi5: [email protected]
กฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ บรรพ ๑
ลักษณะ ๒
บุคคล
มาตรา ๑๕ - ๖๔
บุคคล
สิ่ งทีส่ ามารถมีสิทธิและหน้ าทีไ่ ด้ ตาม
กฎหมาย
ผู้ซึ่งอาจถือสิ ทธิหรืออยู่ภายใต้ บังคับแห่ ง
สิ ทธิ รวมทั้งต้ องตกอยู่ภายใต้ หน้ าทีต่ ามที่
กฎหมายบัญญัติ ซึ่งต้ องมีสภาพบุคคลก่ อน
ประเภทของบุคคล
1. บุคคลธรรมดา (Natural Persons)
2. นิตบิ ุคคล (Juristic Persons)
บุคคลธรรมดา
 การเริ่มสภาพบุคคล
 การสิ้นสุ ดสภาพบุคคล
 ภูมล
ิ าเนา
การเริ่มสภาพบุคคล
ป.พ.พ.มาตรา 15 วรรคแรก
สภาพบุคคลเริ่มแต่ เมื่อคลอดแล้ วอยู่รอด
เป็ นทารกและสิ้นสุ ดลงเมือ่ ตาย
ผลของการเริ่มสภาพบุคคล
- สิ ทธิการรับมรดก
- สิ ทธิการฟ้องผู้ทาละเมิดบิดาจนทาให้
ขาดไร้ อปุ การะ
เกิดมามีชีวติ รอด และคลอดภายใน 310
วัน นับแต่ ผู้เป็ นบิดาตายจึงจะมีสิทธิได้ รับ
มรดก
ความไม่ แน่ นอนแห่ งการเริ่มสภาพบุคคล
กรณีไม่ ทราบวันเกิด
มาตรา 16 กาหนดการนับอายุของบุคคล
- ถ้ ารู้วนั เกิด ให้ เริ่มนับอายุต้งั แต่ วนั เกิด
- ถ้ าไม่ รู้วนั เกิด ให้ นับวันที่ 1 ของเดือนที่เกิดเป็ น
วันเกิด
กรณีไม่ ทราบวันเกิด
มาตรา 16 กาหนดการนับอายุของบุคคล
- ถ้ าไม่ รู้วนั และเดือนเกิด ให้ นับวันต้ นปี ปฏิทินเป็ นปี เกิด
- เกิดก่ อนปี พ.ศ. 2483
ให้ นับ วันที่ 1 เม.ย. เป็ นต้ นปี ปฏิทิน
- หลัง 18 ต.ค. 2483
วันที่ 1 ม.ค.เป็ นต้ นปี ปฏิทนิ (1 ม.ค. 2484)
2. การสิ้นสุดสภาพบุคคล
1) การตายโดยเหตุธรรมชาติ
- แกนสมองหยุดทางาน
2) การตายโดยผลของกฎหมาย
- สาบสู ญ ป.พ.พ. มาตรา 61
- การสิ้นสภาพบุคคล ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา
การตายโดยผลของกฎหมาย
“สาบสู ญ”
กรณีปกติ หายไปจากภูมลิ าเนา 5 ปี
กรณีพเิ ศษ หายไปเป็ นเวลา 2 ปี
- ผู้มสี ่ วนได้ เสี ย เช่ น ทายาท พนง.อัยการร้ องขอ
- ศาลมีคาสั่ งให้ เป็ นคนสาบสู ญ
การถอนคาสั่ งแสดงความสาบสู ญ
มาตรา 63 สาเหตุร้องขอต่ อศาลให้ ถอนคาสั่ ง
- บุคคลสาบสู ญยังมีชีวติ อยู่
- บุคคลทีส่ าบสู ญถึงแก่ความ
ตายในเวลาอืน่ ผิดไปจาก
ที่ ก.ม.กาหนด ซึ่งมีผลต่ อการรับมรดก
กรณีความไม่ แน่ นอนแห่ งการเริ่มสภาพบุคคล
กรณีไม่ ทราบลาดับการตายของบุคคล
มาตรา 17 บุคคลหลายคนตายในเหตุภยันตราย
ร่ วมกัน ถ้ าพ้นวิสัยจะกาหนดได้ ให้ ถือว่ าตายพร้ อม
กัน แต่ อาจใช้ การพิสูจน์ ทางการแพทย์ ในการ
วินิจฉัยได้
3. ภูมลิ าเนา
สถานทีอ่ ยู่อนั เป็ นแหล่งสาคัญ
 ถือเอาแห่ งใดแห่ งหนึ่งเป็ นภูมล
ิ าเนาสาคัญ
 ถ้ าไม่ ปรากฏภูมล
ิ าเนาให้ ถอื เอาถิน่ ทีอ่ ยู่เป็ น
ภูมลิ าเนาสาคัญ
 กรณีไม่ มท
ี อี่ ยู่ ให้ ถอื เอาถิน่ ทีพ่ บตัวเป็ นภูมลิ าเนา

บุคคลทีก่ ฎหมายกาหนดภูมลิ าเนาให้
ผู้เยาว์ (ยังไม่ บรรลุนิตภิ าวะ) ถือตามภูมลิ าเนาของผู้แทนโดย
ชอบธรรม
 คนไร้ ความสามารถ คนวิกลจริต ถือตามภูมล
ิ าเนาผู้อนุบาล
 ข้ าราชการถือตามภูมล
ิ าเนา ณ ทีซ่ ึ่งรับราชการอยู่เป็ นประจา
 ผู้ทถ
ี่ ูกจาคุกถือตามเรือนจาหรือทัณฑสถาน

ความสามารถของบุคคล (Capacity)
บุคคลผู้หย่ อนความสามารถ
- ผู้เยาว์
- คนไร้ ความสามารถ
- คนเสมือนไร้ ความสามารถ
ผู้เยาว์ (Minor)
คือ บุคคลทีย่ งั ไม่ บรรลุนิตภิ าวะ
ป.พ.พ. มาตรา 19
บุคคลย่ อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์ และบรรลุนิติ
ภาวะเมื่อมีอายุครบยีส่ ิ บปี บริบูรณ์
ป.พ.พ. มาตรา 20
ผู้เยาว์ ย่อมบรรลุนิตภิ าวะเมื่อทาการสมรส หาก
การสมรสนั้นได้ ทาตามบทบัญญัติ มาตรา 1448
เหตุแห่ งการบรรลุนิตภิ าวะ
1. บรรลุนิตภิ าวะโดยอายุ
2. บรรลุนิตภิ าวะโดยการสมรส
ม. 1448 ชายและหญิงต้ องมีอายุต้งั แต่ 17 ปี
บริบูรณ์ ขนึ้ ไป เว้ นแต่ กรณีมเี หตุอนั สมควร ศาล
อาจอนุญาตให้ ทาการสมรสก่อนนั้นได้
ความสามารถของผู้เยาว์
- ผู้เยาว์ ยงั ไม่ มีความรู้สึกผิดชอบ
ป.อ.มาตรา 73 เด็ก อายุไม่ เกิน 10 ปี (แก้ ไข พ.ศ. 2551)
- ผู้เยาว์ มีความรู้สึกผิดชอบ
กระทาการใดๆได้ ต้ องได้ รับความยินยอมจากผู้แทน
โดยชอบธรรม
ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์
ผู้แทนโดยชอบธรรม
- ผู้ใช้ อานาจปกครอง ม. 1569
- ผู้ปกครอง ม. 1598/3
ผู้ใช้ อานาจปกครอง
บรรดาสิ ทธิท้งั หลายซึ่งกฎหมายมอบให้ แก่ บิดา
มารดาในอันทีจ่ ะใช้ แก่ บุตรผู้เยาว์ ในเรื่องส่ วนตัว
เพือ่ คุ้มครองอุปการะเลีย้ งดูให้ การศึกษาแก่ บุตร
ผู้เยาว์ จนกว่ าจะสามารถครองชีวติ ได้ ด้วยตนเอง
ผู้ปกครอง
ผู้ปกครองเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้อยู่ใน
ปกครอง
ม. 1585 บุคคลทีย่ งั ไม่ บรรลุนิตภิ าวะและไม่ มีบิดา
มารดาหรือบิดามารดาถูกถอนอานาจปกครองเสี ยแล้ ว
นั้น จะจัดให้ มีผู้ปกครองขึน้ ในระหว่ างเป็ นผู้เยาว์ กไ็ ด้
ศาลอาจตั้งบุคคลเข้ าเป็ นผู้ปกครองได้ 2 กรณี
กรณีที่ 1 เมื่อมีผู้ร้องขอ
 กรณีที 2 บุคคลทีเ่ ข้ ามาเป็ นผู้ปกครองได้ โดยพินัยกรรม
ของบิดาหรือมารดาทีต่ ายทีหลังระบุไว้

สิ ทธิของผู้ใช้ อานาจปกครองและผู้ปกครอง
1. ในส่ วนทีเ่ กีย่ วกับตัวผู้เยาว์
2. ในส่ วนทีเ่ กีย่ วกับทรัพย์ สินของผู้เยาว์
ข้ อยกเว้ นมิให้ ผู้ใช้ อานาจปกครองหรือผู้ปกครอง
มีสิทธิจดั การทรัพย์ สินของผู้เยาว์
1. บุคคลจะโอนทรัพย์ สินให้ ผ้ ูเยาว์ โดยพินัยกรรมหรือให้ โดย
เสน่ หาหรือบุคคลอืน่ เป็ นผู้จัดการจนกว่ าผู้เยาว์ จะบรรลุ
นิติภาวะก็ได้
2. ผู้ใช้ อานาจปกครองทีส่ ละมรดก ไม่ มสี ิ ทธิจัดการและใช้
ทรัพย์ สินทีผ่ ้ ูเยาว์ ได้ รับมรดก
3. นิตกิ รรมเกีย่ วกับทรัพย์ สินของผู้เยาว์ ม. 1574 (1)-(13)
และ ม. 1598/3
ข้ อยกเว้ นมิให้ ผู้ใช้ อานาจปกครองหรือผู้ปกครอง
มีสิทธิจัดการทรัพย์ สินของผู้เยาว์
4. ประโยชน์ ของผู้ใช้ อานาจฯหรือผู้ปกครองขัดกับ
ประโยชน์ ผ้ ูเยาว์ จะต้ องได้ รับอนุญาตจากศาล มิฉะนั้น
เป็ นโมฆะ
5. ผู้ใช้ อานาจฯ จะทาหนีท้ บี่ ุตรต้ องทาเองโดยไม่ ได้ รับความ
ยินยอมของบุตรไม่ ได้
ผู้เยาว์
ความสามารถในการทานิตกิ รรมของผู้เยาว์
- ได้ รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
- หากไม่ ได้ รับความยินยอม นิติกรรมมีผลเป็ น
โมฆียะ
นิตกิ รรมทีผ่ ู้เยาว์ ทาได้ โดยไม่ ต้องได้ รับความยินยอม
 นิตก
ิ รรมทีเ่ ป็ นคุณประโยชน์ แก่ ผ้ ูเยาว์ ฝ่ายเดียว
เช่ น การให้ โดยเสน่ หา การปลดหนีใ้ ห้ ผ้ ูเยาว์
 นิตก
ิ รรมทีผ่ ้ ูเยาว์ ต้องทาเองเฉพาะตัว เช่ น การทา
พินัยกรรม
 นิติกรรมทีส
่ มฐานะและจาเป็ นในการดารงชีพตามสมควร
คนไร้ ความสามารถ
ผู้มีสิทธิร้องขอให้ ศาลสั่ งคนวิกลจริต
เป็ นคนไร้ ความสามารถ
- คู่สมรส
- ผู้บุพการี
- ผู้สืบสั นดาน
- ผู้ปกครอง
- ผู้ซึ่งปกครองดูแล
- พนักงานอัยการ
คนไร้ ความสามารถ
ผลของการเป็ นคนไร้ ความสามารถ
1. ต้ องอยู่ภายใต้ ความอนุบาล
2. ถูกกฎหมายจากัดความสามารถในการทานิตกิ รรม
 คนวิกลจริตทีศ
่ าลยังไม่ สั่งเป็ นคนไร้ ความสามารถ
การนั้นเป็ นโมฆียะ
- กระทาในขณะจริตวิกล
- คู่กรณีอกี ฝ่ ายทราบ

คนเสมือนไร้ ความสามารถ (Quasi Incompetent)
บุคคลทีม่ กี ายพิการ จิตฟั่นเฟื อนไม่ สมประกอบ
ประพฤติสุร่ ุยสุ ร่าย ติดสุ รายาเมาหรือเหตุอนื่ ใดที่ไม่
สามารถจัดทาการงานโดยตนเองได้ (11 ประเภท)
องค์ ประกอบ
1. มีเหตุบกพร่ องบางอย่ าง
2. ไม่ สามารถจัดการงานโดยตนเองได้
3. อยู่ภายใต้ ความดูแลของผู้พทิ กั ษ์
นิตบิ ุคคล
นิตบิ ุคคลตาม ป.พ.พ. 5 ประเภท
ทบวงการเมือง สมาคม มูลนิธิ ห้ างหุ้นส่ วนฯ
บริษัทจากัด
 นิตบ
ิ ุคคลตามกฎหมายอืน่

นิตบิ ุคคล
ภูมลิ าเนาของนิตบิ ุคคล : ถิน่ ที่ต้งั สานักงาน
ใหญ่
 ผู้แทนของนิตบ
ิ ุคคล : ผู้ดาเนินการหรือ
แสดงออกซึ่งความประสงค์ ของนิตบิ ุคคล

คาถามท้ ายบทเรียน
แบ่ งกลุ่มตอบคาถามท้ ายบทเรียนส่ งภายในชั่วโมง