บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา - กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

Download Report

Transcript บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา - กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

การเข้าร่ วมโครงการ กรอ.
 สถานศึกษาที่ประสงค์จะเข้าร่ วมโครงการ ให้ยนื่ ความจานง เพื่อจัดทา
MOU
 สานักงานกองทุนเงินให้กยู้ มื เพื่อการศึกษา ประกาศรายชื่อในบัญชี
รายชื่อผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ
 ในกรณี สถานศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการไม่ปฏิบตั ิตามนโยบาย ระเบียบ
ข้อบังคับ ประกาศ และมติคณะกรรมการกองทุน จนอาจก่อให้เกิดความ
เสี ยหาย กองทุนจะพิจารณาเพิกถอนชื่อสถานศึกษานั้นออกจากบัญชี
รายชื่อผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ
กองทุน กรอ.
 สถานศึกษาต้องจัดการเรี ยนการสอนในระดับ ปวส. อนุปริ ญญา และ
ปริ ญญาตรี
 เปิ ดหลักสู ตร/ สาขาวิชา ถูกต้อง และให้กยู้ มื ได้ตามสาขาวิชาที่กองทุน
ประกาศ หากยากจนให้กคู้ ่าครองชีพเพิ่มได้
 ผูร้ ับทุน มีสญ
ั ชาติไทย เรี ยนในสาขาวิชาที่กาหนด อายุไม่เกิน 30 ปี
 ชาระหนี้ เมื่อจบการศึกษา/เลิกศึกษา มีรายได้ 16,000 บาทต่อเดือน
 ผูร้ ับทุนต้องแจ้งจานวนรายได้ที่ธนาคารในเดือนมีนาคม ของทุกปี
ข้อแตกต่างระหว่างกองทุน กยศและ กรอ.
กยศ.
ไม่ตอ้ งทา MOU/ได้รบั ความเห็นชอบ
จากอนุ1หรืออนุ 2
ผูก้ ตู้ อ้ งขาดแคลนทุนทรัพย์
มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. ปวส.
อนุปริญญา ปริญญาตรี
อายุขณะกู+้ ระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี
+ผ่อนชาระ 15 ปี ช= น้อยกว่า 60 ปี
ดอกเบีย้ ร้อยละ 1
ชาระเมือ่ พ้นระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี
กรอ.
ทา MOU
เรียนในสาขาขาดแคลน
(หากยากจนให้กคู้ า่ ครองชีพได้)
ปวส. อนุปริญญา ปริญญาตรี
อายุไม่เกิน 30 ปี ในวันที่ 1 มกราคม ....
ดอกเบีย้ ร้อยละ 1
ชาระเมือ่ มีรายได้ถงึ เกณฑ์ทก่ี าหนด (รายได้เดือน
ละ 16,000 บาท) มีหน้าทีต่ อ้ งแจ้งจานวนรายได้
เดือนมีนาคมของทุกปี
การเข้าร่ วมโครงการ กยศ.
สถานศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้จดั ตั้ง และเห็นชอบ
หลักสูตร จากหน่วยงานที่สถานศึกษาสังกัด
ได้รับความเห็นชอบจากคณะอนุบญ
ั ชีจ่ายที่ 1 หรื อ
คณะอนุบญั ชีจ่ายที่ 2
การตั้งคณะกรรมการพิจารณาการให้กยู้ มื เงินประจา
สถานศึกษา
 องค์ ประกอบ 5 คน ดังนี้
 ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา 1 คน เป็ นประธาน
 ผูแ้ ทนองค์กรชุมชน 1 คน เป็ นกรรมการ (ผูท้ ี่อยูใ่ นชุมชน)
 อาจารย์ / ครู จานวน 2 คน เป็ นกรรมการ
 ประธานแต่งตั้งบุคลากร 1 คน เป็ นกรรมการและเลขานุการ
การมอบอานาจดาเนินงาน
กองทุนมอบอำนำจให้ ผ้ ูบริหำรโรงเรียน สถำนศึกษำ
สถำบันกำรศึกษำ
- รับคาขอกูย้ มื พิจารณาคุณสมบัติผกู ้ ยู้ มื
- อนุมตั ิและลงนามในสัญญา
- บอกเลิกสัญญา
สำมำรถมอบอำนำจช่ วงให้ บุคคลซึ่งดำรงตำแหน่ งรองลงไป
หนึ่งระดับ (คนเดียวหรือหลำยคนก็ได้ )
การส่ งตัวอย่างลายมือชื่อ
(1) ให้ สถำนศึกษำส่ งลำยมือชื่อผู้กระทำกำรแทนสถำนศึกษำฉบับนี้
พร้ อมทั้งหนังสื อมอบอำนำจให้ บุคคลดังกล่ำวกระทำกำรแทนสถำนศึกษำ
ให้ กองทุนเงินให้ ก้ยู มื เพือ่ กำรศึกษำ 1 ชุ ด
ให้ บมจ.ธนำคำรกรุงไทย (ฝ่ ำยบริหำรโครงกำรภำครัฐ)
ให้ ธนำคำรอิสลำมแห่ งประเทศไทย (ฝ่ ำยนโยบำยรัฐ) แห่ งละ 1 ชุ ด

(2) กรณีแก้ไขเปลีย่ นแปลงต้ องดำเนินกำรตำม (1)

1. การพิจารณาคุณสมบัตขิ องผ้ ูก้ ู
 เป็ นผูข
้ าดแคลนทุนทรัพย์
หนังสือรับรองรายได้/สลิปเงินเดือน
 มีผร
ู้ บั รองรายได้

 ไม่เป็ นผูท
้ ี่ทางานประจา
การพิจารณารายได้ครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาท
ต่อปี
กา รพิ จา รณารา ยได้ ค รอบครั ว ตา มหลั ก เกณฑ์
ดังต่อไปนี้
 รายได้รวมของผูข้ อกย้ ู ืมรวมกับรายได้ของบิดาและ
มารดา กรณีที่บิดาและมารดาเป็นผูใ้ ช้อานาจปกครอง
 รายได้รวมของผูข้ อกย้ ู ืมรวมกับรายได้ของผูป้ กครอง
ในกรณีที่ผใ้ ู ช้อานาจปกครองไม่ใช่บิดา มารดา
 รายได้รวมของผูข้ อกย้ ู ืมรวมกับรายได้ของคสู่ มรสใน
กรณีที่ผข้ ู อรับท ุนสมรสแล้ว
ผ้ ูรับรองรายได้
 เจ้าหน้ าที่ของรัฐ
 เจ้าหน้ าที่ของรัฐผูร้ บั บาเหน็จบานาญ
สมาชิกสภาเขต สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร/
ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร
หัวหน้ าสถานศึกษาที่ผข้ ู อกู้ยืมศึกษาอยู่

“เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ” หมายความว่ า
(1) ข้าราชการการเมือง
(2) ข้าราชการกรุงเทพมหานคร
(3) ข้าราชการครู
(4) ข้าราชการตารวจ
(5) ข้าราชการทหาร
(6) ข้าราชการฝ่ ายตุลาการ
(7) ข้าราชการฝ่ ายรัฐสภา
(8) ข้าราชการฝ่ ายอัยการ
(9) ข้าราชการพลเรือน
(10) ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย
(11) สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา
(12) สมาชิกสภาท้องถิ่นและหรือผูบ้ ริหารท้องถิ่น
(13) ข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
(14) กานัน ผูใ้ หญ่บา้ น แพทย์ประจาตาบล
สารวัตรกานัน และผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น
(15) เจ้าหน้ าที่หรือพนักงานของรัฐวิสาหกิจ
องค์การของรัฐ หรือองค์การมหาชน
(16) ข้าราชการ พนักงาน หรือเจ้าหน้ าที่อื่นซึ่งมี
พระราชกฤษฎีกากาหนดให้เป็ นเจ้าหน้ าที่
ของรัฐ

“เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐผู้รับบาเหน็จบานาญ”
หมายความว่ า
เจ้าหน้ าที่ของรัฐซึ่งออกจากราชการ
หรือพ้นจากตาแหน่ ง โดยมีสิทธิได้รบั
บาเหน็จบานาญ
 ผูท้ ี่ทางานประจา หมายความว่า
 ผูท
้ ี่มีงานทาหรือรับจ้างในงานที่จ้างโดยเฉลี่ย
วันละ 8-9 ชัวโมง
่
 งานต้องมีลก
ั ษณะประจา ไม่เป็ นงานจรเฉพาะ
คราว หรือเป็ นไปตามฤดูกาล
 สามารถทางานตามข้อตกลงหรือที่ ว่าจ้าง ไป
จนกว่าจะปลดเกษี ยณ หรือถูกให้ออก
ค ุณสมบัตินกั เรียน นักศึกษา กยศ. เฉพาะข้อที่
สาคัญ
1.
เป็นผูท้ ี่มีผลการเรียนดีหรือผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลของสถาน
บันการศึกษา
2. เป็นผูท้ ี่มีความประพฤติดี ไม่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษาขัน้
ร้ายแรง เช่น หมกมุน่ ในการพนัน เสพยาเสพติดให้โทษ ดื่มส ุราเป็น
อาจิณหรือเที่ยวเตร่ในสถานบันเทิงเริงรมย์เป็นอาจิณ เป็นต้น
3. ไม่เป็นผูท้ ี่ทางานประจาในระหว่างศึกษา
4. ไม่เคยเป็นผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีมาก่อน
5. ต้องมีอาย ุในขณะที่ขอก ้ ู โดยเมื่อนับรวมกับระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี และ
ระยะเวลาผ่อนชาระ 15 ปี รวมกันแล้วไม่เกิน 60 ปี
 อายุผก
ู้ ้ ู
• อายุขณะยื่นกู้ +2+15 < 60
 เงื่อนไขอื่น ๆ
เช่น ระดับความยากจน ภาระของครอบครัว
เคยเป็ นหนี้ กองทุนแล้วไม่ชาระคืน เป็ นต้น
2. ตรวจสอบสัญญากู้ยืม/สัญญาคา้ ประกัน
 ลายมือชื่อผูก
้ ู้
 ลายมือชื่อผูแ
้ ทนโดยชอบธรรม/
ผูป้ กครอง
 ลายมือชื่อผูค
้ า้ ประกัน
 ผูร
้ บั รองลายมือชื่อผูค้ า้ ประกัน
 การเปลี่ยนตัวผูค
้ า้ ประกัน
 พยาน ฝ่ ายผูก
้ ้แู ละฝ่ ายสถานศึกษา
3. เก็บสาเนาหลักฐานการส่ งสัญญากู้ให้ ธนาคาร
4. เก็บแบบคาขอกู้ + หลักฐานของผู้ก้ ู
ไม่ ได้ รับอนุ มัตใ
ิ ห้ ก้ ู
60 วัน
ได้ รับอนุ มัตใ
ิ ห้ ก้ ู
เมื่อชาระหนีค้ รบ
5. จัดทาทะเบียนผู้ก้ ูแต่ ละปี
6. แจ้งการไม่ลงทะเบียบเรียนของผูก้ ้ ู ภายใน 7 วัน
7. รายงานผลการศึกษา(แบบกยศ. 110)
ทุกสิ้นปี การศึกษา
8. แจ้งการพ้นสภาพนักศึกษา(แบบกยศ. 109)
ภายใน 15 วัน
9. ทาทะเบียน / สารวจข้อมูลที่อยู่ของผูก้ ้ทู ี่สาเร็จ
การศึกษา /เลิกศึกษา / พ้นสภาพการเป็ นนักเรียน
หรือนักศึกษา แต่ละปี และส่งให้ธนาคาร
10. ห้ามกระทาการใดๆ ในลักษณะนากองทุน
ไปโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้บคุ คลอื่นเข้ามาศึกษา
11. ให้ตรวจสอบและถอนเงินออกจากบัญชี กยศ. ของ
สถานศึกษา ตามจานวนเงินที่ผก้ ู ้ลู งทะเบียนเรียนจริง
เท่านัน้ (ให้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์เป็ นค่าเล่าเรียน
เท่านัน้ )
ผูก้ ย้ ู ืมจะได้รบั การพิจารณาให้กต้ ู ามจานวนปีที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
กล่าวคือ
- ผูท้ ี่ศึกษาในหลักสูตร 4 ปี
จะมีสทิ ธิก์ ไู้ ด้ไม่เกิน 4 ครัง้
- ผูท้ ี่ศึกษาในหลักสูตร 5 ปี
จะมีสทิ ธิ์กไู้ ด้ไม่เกิน 5 ครัง้
- ผูท้ ี่ศึกษาในหลักสูตร 6 ปี จะมีสทิ ธิ์กไู้ ด้ไม่เกิน 6 ครัง้
ผูก้ ยู้ ืมที่ไม่สามารถจบการศึกษาตามหลักสูตรที่กาหนด คณะกรรมการกองทุนฯ ได้
กาหนดคุณสมบัตผิ ขู้ อกูย้ ืมเกินกว่าหลักสูตรไว้ 2 กรณี คือ
กรณีที่ 1 ผูก้ ยู้ ืมประสบเหตุสดุ วิสยั เช่น เจ็บป่ วยหรือประสบอุบตั เิ หตุ
ทาให้ตอ้ งลาพักการศึกษา
กรณีที่ 2 ผูก้ ยู้ ืมเรียนมาตลอดหลักสูตร แต่ไม่สาเร็จการศึกษาตาม
ระยะเวลาที่กาหนด
ผูก้ ยู้ มื ต้องเรี ยนในคณะ สาขา/วิชา เดิมตลอดหลักสู ตรใน
สถาบันการศึกษา และ
ต้องสาเร็ จการศึกษาภายใน 1 ภาคการศึกษา หรื อ 1 ปี
การศึกษา
สถานศึกษาต้องเสนอรายชื่อนิสิต นักศึกษาที่สมควรจะ
ให้กยู้ มื เกินกว่าจานวนปี ที่กาหนดและวงเงินในการให้กยู้ มื
พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลประกอบการพิจารณาให้
คณะอนุกรรมการบัญชีจ่ายที่หนึ่ง หรื อสองพิจารณาเป็ น
รายๆไป
กำรชำระหนีค้ นื
1. มีความรับผิดชอบในการกูย้ มื เงิน
2. มีความตระหนักเห็นคุณค่า ประโยชน์ในการส่งต่อโอกาสในแก่รนุ่ น้อง
3. มีความเข้าใจในหลักเกณฑ์การชาระเงินอย่างถูกต้อง
4. มีการติดตามข้อมูล ข่าวสารจากกองทุนฯ อย่างต่อเนื่อง
5. มีความพร้อมในการชาระเงินคืน
เมื่อจบการศึกษา หรือเลิกการศึกษาแล้ว
เป็ นเวลา 2 ปี
ชาระคืนทุกวันที่ 5 กรกฎาคม ของทุกปี
ตัวอย่ าง
ผู้ก้ ูยืมเงินสาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2555 มีระยะเวลา
ปลอดหนี ้ 2 ปี ผู้ก้ ูยืมครบกาหนดชาระหนีค้ ืน ภายในวันที่ 5
ก.ค.2558
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
ปี การศึกษา 2555
ระยะเวลาปลอดหนี ้ 2 ปี ครบกาหนดชาระ 5
ก.ค.2558
ความร่ วมมือระหว่างองค์กร
 เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 กองทุนและ 24 องค์กร ได้ลงนามใน MOU
เพื่อสนับสนุนงานกองทุน ดังนี้
 ด้านการรณรงค์และสร้างจิตสานึกในการชาระหนี้ เพื่อประโยชน์ในการ
ติดตามหนี้ เช่น องค์กรนายจ้าง องค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย)
ศูนย์คุณธรรม
 ด้านการสนับสนุนองค์ความรู ้ในการสร้างรายได้ และสนับสนุนการมีงาน
ทา เช่น สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
บริ ษทั ไมเนอร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) กรมการจัดหางาน
 การนาข้อมูลลูกหนี้เข้าบริ ษทั ข้อมูลเครดิตแห่ งชาติ จากัด