และ อุปทานมวลรวม (aggregate supply)

Download Report

Transcript และ อุปทานมวลรวม (aggregate supply)

การวิเคราะห์ อุปสงค์ ประเทศ
และอุปสงค์ จังหวัด
ผศ.ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช
ผู้อานวยการศูนย์ ศกึ ษาการค้ าระหว่ างประเทศ
มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
อุปสงค์ มวลรวมของประเทศ
คือ ความต้ องการบริ โภคสินค้ าและบริ การหรื อค่ าใช้ จ่ายของประเทศใน
ช่ วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ประกอบด้ วย
GDP = Y = AD =
C + I + G + (X-M)
C (consumption expenditure)
รายจ่ ายเพื่อการบริโภค
I (Investment)
การลงทุน
G (Government expenditure on goods and services)
การใช้ จ่ายภาครัฐบาล
X (export)
การส่ งออก
M (import)
การนาเข้ า
X – M (net export)
การส่ งออกสุทธิ
•รายจ่ ายเพื่อการบริโภค (consumption expenditure : C) คือ ค่าใช้ จ่ายของบุคคลในการ
ซือ้ สินค้ าและบริ การในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เมื่อพิจารณารายได้ ส่วนบุคคลหรื อรายได้ ที่ ใช้ จ่ายได้ จริ ง
(disposable income : Yd) ซึง่ เป็ นรายได้ ภายหลังหักภาษีให้ แก่รัฐแล้ ว บุคคลจะนารายได้ ไปใช้ จ่ายเพื่อ
การบริ โภคส่วนหนึง่ และเก็บออม (Saving) ไว้ สว่ นหนึง่
•การลงทุน (Investment : I) คือ ค่าใช้ จ่ายในการลงทุนของประเทศ
•การใช้ จ่ายภาครั ฐบาล (Government expenditure on goods and services : G)
ความต้ องการใช้ จ่ายของรัฐบาลอาจแบ่งเป็ นรายจ่ายเพื่อการบริ โภค และรายจ่ายเพื่อการลงทุน
•การส่ งออกสุทธิ (net export : (X – M) ) คือ ส่วนต่างระหว่างการส่งออก และการนาเข้ า
•การส่ งออก (export : X) คือ ผลรวมของมูลค่าสินค้ าและบริ การที่ผลิตได้ และส่งไปจาหน่ายยัง
ต่างประเทศ
•การนาเข้ า (import : M) คือ ผลรวมของมูลค่าสินค้ าและบริการที่ประเทศนันน
้ าเข้ าจากต่างประเทศ
รายได้ ประชาชาติดุลยภาพ (Equilibrium Vatioual income :Ye)
ระดับรายได้ ประชาชาติดุลยภาพจะเกิดขึน้ เมื่อ
อุปสงค์ มวลรวม (aggregate demand) เท่ ากับ อุปทานมวลรวม (aggregate supply)
Y = C + I+ G + (X-M)
 อุปสงค์ มวลรวม (Aggregate Demand: AD) คือ ระดับความต้ องการผลผลิตของ
ระบบเศรษฐกิจ ณ ระดับราคาต่างๆ ประกอบด้ วย C+ I + G + ( X - M ) = AD
 อุปทานมวลรวม (aggregate supply: AS) คือ ปริ มาณผลผลิต หรื อปริ มาณสินค้ า
และบริ การขัน้ สุดท้ ายทัง้ หมดที่ระบบเศรษฐกิจผลิตขึน้ ที่ระดับราคาต่ างๆ
คือ
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (Y)
Aggregate Demand Curve: AD (เส้ นอุปสงค์ มวลรวมประเทศ)
P
P0
A
B
P1
0
AD
Y0
Y1
เส้ น AD คือ เส้ นที่
แสดงความสัมพันธ์
ระหว่ างรายได้
ประชาชาติดุลยภาพ
กับราคาสินค้ าที่ทา
ให้ ความต้ องการถือ
เงินเท่ ากับปริมาณ
เงิน นั่นคือ เกิดดุลย
ภาพทัง้ ในตลาดเงิน
และตลาดผลผลิต
Y
การเปลี่ยนแปลงเส้ น AD
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงเส้ น AD แบ่ งออกเป็ น 2 ลักษณะ
1. Move along the Aggregate Demand Curve
(คือ การเปลี่ยนแปลงบนเส้ น AD เส้ นเดิม เกิดจาก ราคา
สินค้ าเปลี่ยนแปลง โดยที่ปัจจัยอื่นๆ คงที่)
2. Shift in Aggregate Demand Curve
(คือ การเปลี่ยนแปลงเส้ น AD เส้ นเดิมเป็ นเส้ น AD ใหม่ เกิด
จาก รายจ่ ายC I G และ X-M เปลี่ยนแปลง โดยที่ราคา
คงที่)
Move along the Aggregate Demand Curve
P
P1
A
B
P0
AD0 (C0,I,G,X-M)
0
Y1
Y0
Y
Shift in Aggregate Demand Curve
P
P0
0
Y0
Y1
AD1 (C1,I,G,X-M)
AD0 (C0,I,G,X-M)
Y
Aggregate Supply: AS (อุปทานมวลรวมประเทศ)
คือ ปริมาณผลผลิตรวมที่ระบบเศรษฐกิจยินดีท่ ี
จะผลิตในช่ วงระยะเวลาหนึ่ง
ทัง้ นี ้ ปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่ อการเปลี่ ยนแปลง
เส้ น อุ ป ทานมวลรวม คื อ ปริ ม าณปั จจั ย การผลิ ต
ราคาปั จจัยการผลิต เทคโนโลยีการผลิต ต้ นทุนการ
ผลิต เป็ นต้ น
Aggregate Supply Curve: AS (เส้ นอุปทานมวลรวม)
P
B
เส้ น AS คือ เส้ น ที่
แ ส ด ง ถึ ง ป ริ ม า ณ
ผลผลิ ต รวมที่ ระบบ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ จ ะ ผ ลิ ต
ขึน้ มา ณ ระดั บ ราคา
ต่ างๆ โดยหน่ วยผลิต
ทั ้ ง ห ลา ย คา ด ว่ า จ ะ
ขายสินค้ าได้ ทัง้ หมด
AS
P1
P0
0
A
Y0
Y1
Y
การเปลี่ยนแปลงเส้ น AS
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงเส้ น AS แบ่ งออกเป็ น 2 ลักษณะ
1. Move along the Aggregate Supply Curve
(คือ การเปลี่ยนแปลงบนเส้ น AS เส้ นเดิม เกิดจาก ราคา
สินค้ าเปลี่ยนแปลง โดยที่ปัจจัยอื่นๆ คงที่)
2. Shift in Aggregate Supply Curve
(คือ การเปลี่ยนแปลงเส้ น AS เส้ นเดิมเป็ นเส้ น AS ใหม่ เกิด
จาก ปั จจัยการผลิตและราคาปั จจัยการผลิต เทคโนโลยี
ค่ าจ้ างแรงงาน ต้ นทุนการผลิต เปลี่ยนแปลง โดยที่ราคา
คงที่)
Move along the Aggregate Supply Curve
P
B
AS
P1
P0
0
A
Y0
Y1
Y
Shift in Aggregate Supply Curve
P
AS0
AS1 (ราคาปัจจัยการ
ผลิตลดลง ขณะที่
ราคาสิ นค้ าคงที่ P0)
P0
0
Y0
Y1
Y
การวิเคราะห์ อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply)
ของตลาดและการกาหนดราคาและดุลยภาพของตลาด
การวิเคราะห์ อุปสงค์ ของจังหวัด
 อุปสงค์ (Demand)
หมายถึง จานวนของสินค้ าหรื อบริการ ที่ผ้ ูบริโภคต้ องการ
ซือ้ ในระยะเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่ างๆ
 ความต้ องการซือ้ จะต้ องประกอบด้ วย
- มีอานาจซือ้ (Purchasing Power)
- มีความเต็มใจที่จะซือ้ (willingness)
ปั จจัยที่มีผลต่ อการกาหนดอุปสงค์
ราคาสินค้ า
การกระจาย
รายได้ ในระบบ
เศรษฐกิจ
รายได้ เฉลี่ย
ของ
ครั วเรื อน
ปริมาณ
ความ
ต้ องการซือ้
จานวน
ประชากร
ฤดูกาล
รสนิยม
ราคาสินค้ า
ชนิดอื่นๆ
ฟั งก์ ชันอุปสงค์ (Demand function)
 ฟั งก์ ชันอุปสงค์ หมายถึง ความสัมพันธ์ ระหว่ าง
ปริมาณที่ผ้ ูบริโภคมีความเต็มใจที่จะจ่ าย(Qd) กับ
ปั จจัยต่ างๆ ตัวใดตัวหนึ่ง โดยที่ปัจจัยตัวอื่นๆ คงที่
 ฟั งก์ ชัน Qd = f(PA,PB,Y,…)
ราคาสินค้ าที่
ผู้บริโภคซือ้
ราคาสินค้ า
ชนิดอื่นที่
เกี่ยวข้ อง
3ปั จจัยหลักที่
กาหนดอุปสงค์
อุปสงค์ ต่อ
ราคา
รายได้ ของ
ผู้บริโภค
(price
demand)
อุปสงค์ ต่อ
รายได้
(Income
demand)
3 ประเภทของ
อุปสงค์
อุปสงค์ ต่อ
ราคาสินค้ าอื่น
(Cross
demand)
กฎแห่งอุปสงค์ (Law of demand)
 กฎแห่ งอุปสงค์ (Law of demand) คือ ปริมาณสินค้ าหรื อ
บริการที่ผ้ ูบริโภคต้ องการซือ้ จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศ
ทางตรงข้ ามกับราคาสินค้ า กล่ าวคือ
 ถ้ าราคาสินค้ าหรื อบริ การปรั บราคาสูงขึน
้ ขณะเดียวกันนัน้
ผู้บริโภคจะมีพฤติกรรมการซือ้ สินค้ านัน้ ลดลง
 ถ้ าราคาสินค้ าหรื อบริ การปรั บราคาลดลง ขณะเดียวกันนัน
้
ผู้บริโภคจะมีพฤติกรรมการซือ้ สินค้ านัน้ เพิ่มขึน้
อุปสงค์ ต่อราคา (price demand)
P
P1
A
B
P2
0
Q1
Q2
• อุ ป ส ง ค์ ต่ อ ร า ค า คื อ
ปริ ม าณซื อ้ สิ น ค้ า ชนิ ด ใด
ชนิ ด หนึ่ ง ณ ระดั บ ราคา
ต่ างๆ ของสินค้ า ในขณะ
ใ ด ข ณ ะ ห นึ่ ง โ ด ย
กาหนดให้ ปัจจัยชนิดอื่นๆ
คงที่
• ฟั งก์ ชัน คือ Qdx = f(Px)
Q
การเปลี่ยนแปลงเส้ นอุปสงค์ ต่อราคา
 Move along the curve
 a shift in demand curve
เมื่อราคาสินค้ าชนิดนัน้ เปลี่ยนแปลงเพียงอย่ าง
เดียว โดยปั จจัยอื่นๆไม่ เปลี่ยน
P
P1
P0
b
b
Pa
เมื่อราคาสินค้ าชนิดนัน้ ไม่ เปลี่ยน
แต่ ปัจจัยตัวอื่นเปลี่ยนแปลง
P
P0
2
Q1 Q0 D
Q
Q
Q1 Q2 D1 D2
อุปสงค์ ต่อรายได้ (Income demand)
 อุปสงค์ ต่อรายได้ หมายถึง ปริ มาณซือ้ ที่เปลี่ยนไปตามรายได้ ของผู้ซือ้ (โดยให้ ปัจจัยอื่นๆคงที่) มี 2 กรณี คือ
++ สินค้ า ปกติ ความสั ม พันธ์ ระหว่ างปริ ม าณซื อ้ กั บ รายได้ จ ะเป็ นไปใน
ทิศทางเดียวกัน กล่ าวคือ ผู้บริ โภคมีรายได้ สูงขึน้ ปริ มาณซือ้ ก็มีมากขึน้
แต่ ถ้ามีรายได้ ลดลงปริมาณซือ้ ก็จะมีน้อยลงด้ วย เส้ น อุปสงค์ จะทอดขึน้
จากซ้ ายไปขวา มีค่าความชันเป็ นบวก
Income
++ สินค้ าด้ อยคุณภาพ ความสัมพันธ์ ระหว่ างปริมาณซือ้ กับรายได้
จะเป็ นไปในทิศทางตรงกันข้ ามกล่ าวคือ ถ้ าผู้บริโภคมีรายได้ สูงขึน้
ปริมาณซือ้ สินค้ าประเภทนีจ้ ะลดลง เส้ นอุปสงค์ ทอดลงจากซ้ าย
ไปขวาและมีค่าความชันเป็ นลบ
Income
Demand
Demand
15000
15000
10000
10000
0
Quanlity
40
50
0
Quanlity
40
50
อุปสงค์ ต่อรายได้ (Income demand)
 อุปสงค์ ต่อสินค้ าอื่น หรื อ "อุปสงค์ ไขว้ " หมายถึงปริ มาณซือ้ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามราคา สินค้ าชนิดอื่นที่
เกี่ยวข้ อง (โดยให้ ปัจจัยอื่นคงที่) มี 2 กรณี
++ สิ น ค้ า ที่ ใ ช้ ทดแทนกั น เช่ น ชากั บ กาแฟ โค้ กกั บ เป็ บซี่
น้ามั นหมู กับน้ามั นพื ช เป็ นต้ น ซึ่งความสัมพันธ์ ระหว่างราคา
สิ น ค้ า ชนิ ด หนึ่ ง กับ ปริ ม าณซื อ้ สิ น ค้ า อี ก ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ใ ช้ ท ดแทนจะ
เป็ นไปในทิศทางเดียวกันกล่าวคือ ถ้ าราคาสินค้ าชนิดหนึ่ งมากขึน้
หรื อลดลง จะมีผลทาให้ ปริ มาณซื ้อสินค้ าอีกชนิดหนึ่ งมากขึ ้นหรื อ
ลดลงตามลาดับ
++ สินค้ าที่ใช้ ประกอบกัน เช่ น รถยนต์ กับนา้ มัน เป็ นต้ น ซึ่ งความสัมพันธ์
ระหว่างราคาสินค้ าชนิดหนึ่งกับปริ มาณซื ้อสินค้ าอีกชนิดหนึ่ง ที่ต้องใช้ ประกอบ
กันจะเป็ นไปในทิศทางตรงกันข้ ามกล่าวคือ ถ้ าราคาสินค้ าชนิดหนึ่ง สูงขึน้ หรื อ
ลดลงจะมีผลทาให้ ปริมาณซื ้อสินค้ าอีกชนิดหนึง่ เป็ นไปในทิศทางตรงกันข้ าม
ราคานา้ มันหมู (บาท)
ราคารถยนต์ (ล้านบาท)
Demand
Demand
3
60
1
30
0
ปริมาณนา้ มัน 0
(ลิตร)
Pรถยนต์↑
3
6
Q รถยนต์↓
Q น้ ามัน↓
5
Pนา้ มันหมู↑
10
Q นา้ มันพืช↓
ปริมาณนา้ มันพืช
(ลิตร)
Q นา้ มันพืช↑
การวิเคราะห์ อุปทานของตลาด
 อุปทาน (Supply) หมายถึง จานวนของสินค้ าหรื อบริ การ ที่ผ้ ูผลิต
มีความเต็มใจที่จะต้ องผลิตและขาย ในระยะเวลาหนึ่ง ณ ระดับ
ราคาต่ างๆ
 ฟั งก์ ชันอุปทาน (Supply function)หมายถึง ความสัมพันธ์ ระหว่ าง
ปริมาณที่ผ้ ูผลิตมีความเต็มใจที่จะขาย(Qs) กับระดับราคาของ
สินค้ า(p) โดยที่ปัจจัยตัวอื่นๆ คงที่
 ฟั งก์ ชัน Qs = f(p)
กฎแห่ งอุปทาน (Law of Supply)
 กฎแห่ งอุปทาน คือ ปริ มาณสินค้ าหรื อบริ การที่ผ้ ูผลิตต้ องการ
ขาย จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกับราคาสินค้ า กล่ าวคือ
 ถ้ าราคาสินค้ าหรื อบริ การปรั บราคาสูงขึน
้
ผู้ผลิตจะเต็มใจผลิตสินค้ านัน้ มากขึน้
 ถ้ าราคาสินค้ าหรื อบริ การปรั บราคาลดลง
ผู้ผลิตจะเต็มใจผลิตสินค้ านัน้ น้ อยลง
ปั จจัยกาหนดอุปทาน
จานวนผู้ผลิตใน
ตลาด
เทคโนโลยีด้าน
ราคาสินค้ าชนิดอื่นๆ
ราคาสินค้ าที่ใช้ ประกอบ
กัน ราคาสินค้ าที่ใช้
ทดแทนกัน
ราคาปั จจัยการ
ผลิต(ต้ นทุนการ
ผลิต)
ปั จจัยที่กาหนด
อุปทาน
ราคาสินค้ า
การผลิต
นโยบายของ
บริษัท
ฤดูกาล
ภัยธรรมชาติ
สงคราม
กราฟแสดงเส้ นอุปทาน
P
Supply
A
B
Q
สมการอุปทาน Qs = c + dp
มีความสัมพันธ์เป็ นสมการเส้ นตรงอย่างง่าย
 c หมายถึง ค่าสัมประสิทธิ์
 d หมายถึง ค่าความชันของเส้ นอุปทาน
 +d เป็ นไปตามกฎของอุปทาน คือ
ปริ มาณความต้ องการซื ้อสินค้ าแปรผันตรง
กับราคาสินค้ า ; Qs α p
การเปลี่ยนแปลงเส้ นอุปทาน (มีลักษณะเหมือนอุปสงค์ )
Move along the curve
เมื่อราคาสินค้ าชนิดนันเปลี
้ ่ยนแปลงเพียง
อย่างเดียว โดยปั จจัยอื่นๆไม่เปลี่ยน
Shift the curve
เมื่อราคาสินค้ าชนิดนันไม่
้ เปลี่ยนแปลง
แต่ปัจจัยตัวอื่นเปลี่ยน
P
P
A
A
B
B
Q
Q
การปรั บตัวของอุปสงค์ และอุปทาน
P
Excess Demand
12
Supply curve
5
Excess Supply
O
Demand curve
Q
การกาหนดราคาและปริมาณดุลยภาพ
P
Supply curve
12
8
Equilibrium
5
O
10
Demand curve
Q
ปริมาณสินค้ าที่ซอื ้ เท่ ากับ ปริมาณสินค้ าที่ขาย
เกิดดุลยภาพ เรียกว่ า Equilibrium ราคาดุลยภาพ คือ 8 บาท ปริมาณดุลยภาพ คือ 10 บาท
การเปลี่ยนแปลงราคาและปริมาณดุลยภาพเกิดจากเส้ นอุปสงค์ เปลี่ยนแปลง
P
Supply curve
12
8
New Equilibrium
E
New Demand curve
5
O
10
16
Demand curve
Q
การเปลี่ยนแปลงราคาและปริมาณดุลยภาพเกิดจากเส้ นอุปทาน เปลี่ยนแปลง
New Supply curve
P
Supply curve
12
New equilibrium
E
8
O
7
10
Demand curve
Q
การเปลี่ยนแปลงราคาและปริมาณดุลยภาพเกิดจาก
เส้ นอุปสงค์ และเส้ นอุปทาน เปลี่ยนแปลง
P
New Supply curve
23
Supply curve
New Demand
O
12
Demand curve
Q
การวิเคราะห์ โดยใช้
Regression Analysis
Regression Analysis (การวิเคราะห์ การถดถอย)
Regression Analysis เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่ าง
ลักษณะหรื อปั จจัยที่แทนด้ วยตัวแปรตัง้ แต่ สองตัว แปรขึน้ ไป
เพื่อทาให้ ทราบถึงความสัมพันธ์ ทิศทางความสัมพั นธ์ และ
ลักษณะความสัมพันธ์ ระหว่ างตัวแปร หรื อเป็ นการวิเคราะห์
โดยอาศัยค่ าที่ทราบจากตัวแปรหนึ่ง แล้ วนาไปพยากรณ์ ค่ า
ของอีกตัวแปรหนึ่ง ว่ ามีความแปรผันในสัดส่ วนเท่ าใดหรื อใน
ระดับใด
การวิเคราะห์ การถดถอย (Regression Analysis)
การวิเคราะห์
การถดถอย
(Regression
Analysis) เป็ น
วิธีการทางสถิติ
ใช้ ในการ
ตรวจสอบ
ความสัมพันธ์
ระหว่ างตัวแปร
≥ 2 ตัวขึน้ ไป
ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้ น
(Independent Var.)
X1
ตัวแปรตาม
(Dependent Var.)
ตัวแปรตาม
(Dependent Var.)
X2
Xn
การวิเคราะห์ การถดถอยทาให้ สามารถนาผลการศึกษาไปประมาณค่ าของตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ง หรื อพยากรณ์
เหตุการณ์ ในอนาคตเพื่อประโยชน์ ต่อการวางแผนและการตัดสินใจ
ชนิดของการวิเคราะห์ การถดถอย
1. Linear Regression
•
•
***Simple Linear Regression (SLR)
X1 :Y1
Multiple Linear Regression (MLR)
X>1:Y1
2. Non-linear Regression
การใช้ โปรแกรม Eviews เบือ้ งต้ น
การสร้ าง Workfile ใหม่
การเลือกประเภทของข้ อมูลทีจ่ ะใช้ เช่ น ปี ไตรมาส เดือน พร้ อมกับใส่ ปีทีเ่ ริ่มทาการวิเคราะห์ และปี
สุ ดท้ ายทีท่ าการวิเคราะห์
การสร้ าง Objects Series ของข้ อมูล
Double Click ที่ series cons
ใส่ข้อมูลที่ต้องการลงใน Series cons โดยการกดปุ่ ม Edit+/-
ใส่ข้อมูลแทนที่ NA เมื่อทาเสร็จแล้ วให้ กดปุ่ ม Edit+/- อีกครัง้ เพื่อป้องการแก้ ไขข้ อมูลโดยไม่ได้ ตั ้งใจ หลังจากนั ้นก็ทา
การปิ ดหน้ าต่าง Series cons
•ตัวอย่ างการวิเคราะห์ ได้ ทาการวิเคราะห์ การ
บริ โภคภาคเอกชน(cons) ว่ าขึน้ อยู่กับตัว
แปรใดบ้ าง โดยได้ กาหนดตัวแปรดังต่ อไปนี ้
•การบริโภคภาคเอกชน = ตัวแปรตาม
•รายได้ ประชาชาติ (gdp)
และดัชนีการบริโภค (cpi) = ตัวแปรอิสระ
การพยากรณ์
ให้ ทาการขยาย Workfile range ออกไปตามช่ วงเวลาที่ต้องการพยากรณ์ โดยการ Double click ที่
range ในที่นี ้ สมมุตใิ ห้ พยากรณ์ ออกไป 2 ปี ดังนัน้ End date จะเป็ น 2555
เช่ นเดียวกับ Sampleให้ ทาการขยาย Sample ออกไปตามช่ วงเวลาที่ต้องการพยากรณ์ โดยการ
Double click ที่ Sample แล้ วเปลี่ยนเป็ น 2555
ต่อไปให้ ทาการสร้ างค่าในอนาคตของตัวแปรทุกตัว cons
,gdp ,cpi ด้ วยวิธี Exponential Smoothing โดยการทาทีละตัว
เช่น เปิ ด Series: gdp ด้ วยการ Double click แล้ วดูกราฟว่า
ข้ อ มูล มี ลัก ษณะเป็ นเช่ น ใด โดยเลื อ ก View/Graph/Line
พบว่ากราฟเป็ นแบบ Trend
ดังนั ้นที่ Series: gdp ให้ เลือก
Procs/Exponential smoothing… เพื่อพยากรณ์
•Series: gdp เป็ นแบบ Trend ไม่มี Seasonal ให้ เลือกที่
Holt-Winter-No ตั ้งชื่อ Series: gdp ที่ทา Smoothing เป็ น
gdpsm
ทา Exponential Smoothing กับตัวแปรทุกตัว
ในสมการ จะได้ Series: conssm ,cpism ,gdpsm
สร้ าง Group ของตัวแปรในสมการทัง้ series เดิมและที่ทา
Exponential Smoothing โดยกดปุ่ ม Ctrl ค้ างไว้ แล้ วเลือก cons,
conssm ,cpi, cpism ,gdp ,gdpsm แล้ วคลิกขวา Open/ as Group
ผลการพยากรณ์ เปรียบเทียบกับตัวเลขจริง
ตัวอย่ างการวิเคราะห์ ปริมาณการบริโภคนา้ มันดีเซลกับราคานา้ มันดีเซล
•ตั ว อย่ า งการวิ เ คราะห์ ไ ด้ ท าการวิ เ คราะห์
ปริ ม าณการบริ โ ภคน ้า มั น ดี เ ซล กั บ ราคา
นา้ มันดีเซล
•การบริโภคน้ามันดีเซล (q_oil)
= ตัวแปรตาม
•ราคาน้ามันดีเซล (p_oil) = ตัว
แปรอิสระ
ผลการวิเคราะห์
ถ้ าราคาน ้ามันดีเซล เพิ่มขึ ้น 1 % ปริ มาณความต้ องการบริ โภคน ้ามันดีเซล (Q) จะลดลง 172.3742 %
ผลการพยากรณ์ เปรียบเทียบกับตัวเลขจริง