บทที่2อุปสงค์

Download Report

Transcript บทที่2อุปสงค์

บทที่ 2
อุปสงค์
ความหมายของอุปสงค์
หมายถึง จานวนต่างๆ ของสินค้าหรือบริการ
ชนิดใดชนิดหนึ่ งที่ผบู้ ริโภคต้องการจะซื้อ ณ ระดับราคา
ต่างๆ ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ ง
ชนิดของอุปสงค์
แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
1. อุปสงค์ต่อราคา
2. อุปสงค์ต่อรายได้
3. อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
อุปสงค์ต่อราคา
หมายถึง ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผบู้ ริโภค
ต้องการซื้อภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ ง ณ ระดับราคา
ต่างๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดนัน้ โดยกาหนดให้
ปัจจัยอื่นคงที่
กฎของอุปสงค์
ความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้าและจานวนสินค้า
ที่มีผตู้ ้องการซื้อซึ่งความสัมพันธ์ของทัง้ สองเป็ นไปใน
ทิศทางตรงกันข้าม ซึ่งสาเหตุมาจาก
1. ผลทางด้านรายได้ (Income Effect)
2. ผลทางด้านการทดแทนกัน (Substitution Effect)
ฟังก์ชนอุ
ั ่ ปสงค์
ถ้าต้องการดูความสัมพันธ์ของปริมาณสินค้า
และปัจจัยที่เป็ นตัวกาหนดอุปสงค์จะเขียนได้ว่า
Qd = f (P,Y,N…..)
ถ้าต้องการดูความสัมพันธ์ของปริมาณสินค้า
และราคาจะเขียนได้ว่า
Qd = f (P)
Qd = จานวนสินค้าที่มีผตู้ ้องการซื้อ
P = ราคาสินค้า
ตารางและเส้นอุปสงค์
จากความสัมพันธ์ระหว่าง P และ Q ที่เป็ นไปใน
ทิศทางตรงกันข้าม เส้นอุปสงค์จะมีความชันเป็ นลบซึ่ง
เขียนในรูปสมการเส้นตรงได้ว่า Qd = a – bP
ถ้ากาหนดให้Qd = 45 – 5P
- เมื่อกาหนดแทนค่า P ในสมการจะสามารถหาค่า
Qd ได้
- นาตัวเลขความสัมพันธ์ระหว่างสินค้า (P) และ
จานวนสินค้า (Qd) มาเขียนในตารางจะได้ “ตารางอุปสงค์”
ตารางแสดงจานวนสินค้าที่ต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ
ราคา(บาท)
จานวนสินค้าที่ต้องการซื้อ (หน่ วย)
1
2
3
4
5
40
35
30
25
20
ราคา (P)
5
4
3
2
1
Qd = 45-5P
0
20
25
30
35
40
จานวนสินค้า (Q)
อุปสงค์
- อุปสงค์ส่วนบุคคล
- อุปสงค์ตลาด (การหาอุปสงค์ตลาดทาได้โดย
รวมจานวนสินค้าที่แต่ละคนต้องการซื้อ ณ
ราคาระดับต่างๆ กัน)
ราคา
ราคา
ราคา
70
40
70
70
40
Dก
0 1 2 3
40
จานวน
Dข
0 1 2
3
จานวน
Dตลาด
0 2
4
อุปสงค์ของบุคคลและอุปสงค์ของตลาด
5
จานวน
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์
1. การเปลี่ยนแปลงจานวนเสนอซื้อ
เกิดขึน้ เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงโดยปัจจัยกาหนด
อุปสงค์ตวั อื่นๆ คงที่มีผลให้เกิดการเคลื่อนที่ระหว่างจุด
เส้นบนอุปสงค์เดิมเส้นไม่มีการเคลื่อนย้าย
2. การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์
เกิดขึน้ เมื่อตัวกาหนดอุปสงค์ที่ไม่ใช่ราคา
เปลี่ยนแปลง มีผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายเส้นทัง้ เส้น (Shift)
ราคา
ราคา
R1
P1
P2
0
Q1
R2
Q2
D
จานวนสินค้า
A
P
0
B
D D1
QA QB
จานวนสินค้า
การเปลี่ยนแปลงจานวนเสนอซื้อ การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของ
ปริมาณซื้อต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่กาหนดปริมาณซื้อ
(ปัจจัยที่กาหนดปริมาณซื้อ เช่น รายได้ของผูบ้ ริโภค ราคาของสินค้าที่
กาลังพิจารณาและราคาของสินค้าที่เกี่ยวข้อง)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Ed) =
% การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อสินค้า
% การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่กาหนดปริมาณซื้อ
ค่า Ed จะเป็ นลบเสมอ เพระราคาสินค้าและปริมาณสินค้าจะ
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้าม
ประเภทของความยืดหยุ่น
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of
Demand)
2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity)
3. ความยืดหยุ่น ไขว้ (Cross Elasticity)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์สาหรับสินค้าชนิดใดต่อราคา
หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อสินค้าชนิด
ต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านัน้
Epd  % การเปลี่ยนแปลงปริมาณการเสนอซือ้
% การเปลี่ยนแปลงของราคา
 % ΔQ
%Δ P
1. เส้นอุปสงค์ที่ไม่มีความยืดหยุ่นเลย (Perfectly Inelastic
Demand) ทุกจุดบนเส้นอุปสงค์นี้มีค่าความยืดหยุ่นเป็ น 0
P
ลักษณะเส้นอุปสงค์ เช่นนี้ แสดงว่า
ถึงแม้ราคาสินค้าชนิดนี้ จะเปลี่ยนแปลง
เป็ นอัตราส่วนอย่างไรก็ตามปริมาณการ
เสนอซื้อจะไม่เปลี่ยนแปลง
D
P1
P2
0
Q1
Q
เส้นอุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่น
Ed = 0
2. เส้นอุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นต่อราคาน้ อย (Relatively
Inelastic Demand) ค่าความยืดหยุ่น ณ จุดใดๆ บนเส้นอุปสงค์
เดียวกันนี้ จะไม่เท่ากัน
ลักษณะเส้นอุปสงค์ เช่นนี้ แสดงว่า ถึงแม้
ราคาสินค้าจะเปลี่ยนแปลงเป็ นอัตราส่วน
มากเพียงไรก็ตาม ปริมาณการเสนอซื้อ
จะเปลี่ยนแปลงเป็ นอัตราส่วนน้ อยกว่า
อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของราคา
P
P1
E1
E2
P2
D
0
Q1
Q2
Q
เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้ อย
Ed < 1
3. เส้นอุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand)
ทุกจุดบนเส้นอุปสงค์นี้มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 1
ลักษณะเส้นอุปสงค์ เช่นนี้ แสดงว่า
ถึงแม้ราคาสินค้าชนิดนี้ จะเปลี่ยนแปลง
เป็ นในอัตราส่วนใดก็ตาม ปริมาณเสนอ
ซื้อจะเปลี่ยนแปลงในทางตรงกันข้ามใน
อัตราส่วนที่เท่ากัน
P
P1
P2
0
E1
E2
Q1 Q2
D
Q
เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับคงที่
Ed = 1
4. เส้นอุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก (Relative Elastic
Demand) ค่าความยืดหยุ่น ณ จุดใดๆ บนเส้นอุปสงค์เดียวกันนี้
จะไม่เท่ากัน
ลักษณะเส้นอุปสงค์ เช่นนี้ แสดงว่า
เมื่อแม้ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงจะมี
ผลทาให้ ปริมาณการเสนอซื้อ
เปลี่ยนแปลงในอัตราส่วนที่มากกว่า
การเปลี่ยนแปลงของราคา
P
P1
E1
E2
P2
0
Q1
Q2
D
Q
เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นมาก
Ed > 1
5. เส้นอุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ (Perfectly
Elastic Demand) ทุกจุดบนเส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่น
เท่ากับ 
ลักษณะเส้นอุปสงค์ เช่นนี้ แสดงว่า ณ
ระดับราคาหนึ่ งผูบ้ ริโภคจะซื้อสินค้า
ไม่จากัดจานวน แต่หากเปลี่ยนแปลง
ราคาไม่ว่าจะสูงหรือตา่ ผูบ้ ริโภคจะไม่
ซื้อสินค้าเลย
P
P1
0
D
Q1
Q2
Q
เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์
Ed = 
การวัดความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์และอุปทาน
การวัดค่าความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์และอุปทาน
สามารถทาได้2 วิธี คือ
1. Point Elasticity เป็ นการวัดค่าความยืดหยุ่นโดยคานวณ
จากจุดบนเส้นอุปสงค์หรืออุปทาน วิธีนี้ใช้ในกรณี ที่ราคา
สินค้าเปลี่ยนแปลงน้ อยมาก
2. Arc Elasticity เป็ นการวัดโดยการคานวณระหว่างจุด 2 จุด
บนเส้นอุปสงค์หรืออุปทาน วิธีนี้ใช้ในกรณี ที่ราคาสินค้า
เปลี่ยนแปลงได้มากจนสามารถเห็นได้ง่าย
สูตรการคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์
Point Elasticity
อุปสงค์
ΔQ P
Ep 

d Q ΔP
ΔQ P
หรื อ

ΔP Q
Ed
P,P1
Q,Q1
P2
Q2
P
Q
=
=
=
=
=
=
=
Are Elasticity
Q P1P2
x
P Q  Q
1
2
หรื อ 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ราคาสินค้าเดิม
ปริมาณส้นค้าเดิม
ราคาสินค้าที่เปลี่ยนแปลง
ปริมาณสินค้าที่เปลี่ยนแปลง
ราคาสินค้าส่วนที่เปลี่ยนแปลง
ปริมาณสินค้าส่วนที่เปลี่ยนแปลง
Q -Q P P
1 1
2
2
P P Q Q
1
1
2
2
ความยืดหยุ่นของ
อุปสงค์ต่อราคา
Ed < 1
Ed = 1
Ed > 1
การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง
ของราคา
ของรายได้รวม(TR)
ราคาเพิม่ ขึน้ ( P )
TR เพิม่ ขึน้
ราคาลดลง ( P )
TR ลดลง
ราคาเพิม่ ขึน้ ( P )
TR คงที่
ราคาลดลง ( P )
TR คงที่
ราคาเพิม่ ขึน้ ( P )
TR ลดลง
ราคาลดลง ( P )
TR เพิม่ ขึน้
ประเภทสินค้า
สินค้าจาเป็ น
บอกไม่ได้
สินค้าฟุม่ เฟือย
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
(Income Elasticity of Demand)
Ey
ืืื้อ
= % การเปลี่ยนแปลงของจานวนสินค้าท่ืีื่ต้องการซ
% การเปลี่ยนแปลงของราคา
Q2 - Q1 y1  y2
 y - y Q - Q
2 1 1 2
Ey
= ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
Q
= จานวนสินค้าที่มีผต้ ู ้องการซื้อ
y
= ระดับรายได้ของผูบ้ ริโภค
ถ้า Ey มีค่าเป็ นบวก
สินค้าปกติ (Normal Goods)
ถ้า Ey มีค่าเป็ นลบ
สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods)
สินค้าปกติ
สินค้าจาเป็ น
Ey มีค่าระหว่าง 0 กับ 1
สินค้าฟุ่ มเฟื อย
Ey มีค่ามากกว่า 1
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
(Cross Elasticity Demand)
ิ
%
การเปลี
่
ย
น
แปลงของจ
าน
วนส
น
ค้
า
ชน
ืิ
ด
หนึ
่
ง
Exy 
% การเปลี่ยนแปลงของราค าสินค้าอีกชนิดหนึ่ ง
Q x2 Q x1 Py1 Py2
Exy  P P  Q  Q
y2 y1 x1 x2
Exy = ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
QX = ส่วนเปลี่ยนแปลงปริมาณการซื้อสินค้า = (QX2 – QX1)
Py = ส่วนเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า = (Py2 –Py1)
QX1 = ปริมาณซื้อสินค้า X เดิม
QX2 = ปริมาณซื้อสินค้า X ใหม่
Py1 = ราคาสินค้า y เดิม
Py2 = ราคาสินค้า y ใหม่
ถ้า Exy มีค่าเป็ นบวก
สินค้าสองชนิดทดแทนกันได้
ถ้า Exy มีค่าเป็ นลบ
สินค้าสองชนิดนัน้ ใช้ประกอบกัน
หรือคู่กนั
ปัจจัยกาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์
1. ความจาเป็ นของสินค้าต่อการบริโภค
2. สัดส่วนของรายได้ที่ใช้ซื้อสินค้า
3. การทดแทนกันได้ของสินค้า
4. ระยะเวลาในการปรับตัวของผูบ้ ริโภค
ประโยชน์ จากการศึกษาความยืดหยุ่นของอุปสงค์
1. ประโยชน์ สาหรับหน่ วยงานของรัฐบาล
2. ประโยชน์ สาหรับหน่ วยธุรกิจ
3. ประโยชน์ สาหรับเจ้าของปัจจัยการผลิต