(utility theory) ตัวแบบอรรถประโยชน์

Download Report

Transcript (utility theory) ตัวแบบอรรถประโยชน์

ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
 ข้อสมมติในการตัดสินใจของผูบ้ ริโภค
 ความพอใจเกิดขึ้ นจากการบริโภคสินค้า
 ความพอใจเพิม
่ ขึ้ นตามปริมาณสินค้า
 สามารถเปรียบเทียบความพอใจระหว่างการบริโภคสินค้าประเภทต่างๆ
ได้
 เช่น ชอบเงาะมากกว่าส้ม
 มีความคงเส้นคงวาในการตัดสินใจ(transivity)
 ถ้าชอบมะม่วงมากกว่าเงาะ ชอบเงาะมากกว่าทุเรียน
มะม่วงมากกว่าทุเรียน
1
ก็ตอ้ งชอบ
ความสาคัญของความคงเส้นคงวา
 ถ้ าไม่มค
ี วามคงเส้ นคงวา ผู้บริโภคจะไม่สามารถมีความพอใจสูงสุดจากการบริโภค




2
ได้
ตัวอย่าง
ชอบเงาะมากกว่าส้ ม ชอบส้ มมากกว่าทุเรียน แต่ชอบทุเรียนมากกว่าเงาะ
ไม่มคี วามคงเส้ นคงวา
ถ้ ามีเงาะจะนาไปแลกเป็ นทุเรียน นาทุเรียนไปแลกเป็ นส้ ม นาส้ มไปแลกเป็ น
เงาะ ไม่มกี ารบริโภค
“มาตรวัด”ความพอใจ











3
การจัดลาดับ(ordinal ranking)
ความแตกต่างระหว่างระดับของตัวแปร(cardinal ranking)
ส่วนต่าง
ดาสูงกว่าแดง 50 ซม.
A-B
สัดส่วน
ดาสูงกว่าแดง 0.5 เท่า
A/B
เปอร์เซ็นต์ของความแตกต่าง เมือ่ มีตวั แปรที่จะเปรียบเทียบเกิน ๒ ตัว
ดาสูงกว่าแดง 0.25 เท่าของความแตกต่างระหว่างความสูงของแดงกับขาว
(B-W)/(A-B)
มาตรวัดความพอใจในทฤษฎีอรรถประโยชน์
 แนวคิดที่สาคัญคือความพอใจส่วนเพิ่ม(marginal utility)
 ความพอใจที่เปลี่ยนแปลงจากการเปลี่ยนแปลงการบริโภคสินค้ าอีก 1 หน่วย
 แนวคิดดังกล่าวทาให้ ต้องมีมาตรวัดความพอใจที่สามารถวัดความแตกต่างของ
ความพอใจได้
 หน่วยของความพอใจคือ util
 cardinal
4
ปริมาณการบริโภคกับการเปลีย่ นแปลงในความพอใจ
 กฏการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์(law of diminishing
marginal utility)
 ในช่วงแรกความพอใจเพิม
่ ขึ้ นในอัตราที่เพิม่ ขึ้ น(increasing marginal
utility)
 ในช่วงต่อมาความพอใจเพิม
่ ขึ้ นในอัตราที่ลดลง(diminishing marginal
utility)
5
กราฟของความพอใจ
อรรถ
b
TUx
ก)
a
Q1
อรรถ
ปริมาณขนมครก
Q2
a
ข)
MUx
Q1
6
Q2
b
ปริมาณขนมครก
หลักการบริโภคให้ได้ความพอใจสูงสุด
 ความพอใจสูงสุดเกิดขึ้ นเมือ่ ความพอใจจากบาทสุดท้ายในการบริโภคขนมครก
เท่ากับความพอใจจากบาทสุดท้ายในการบริโภคขนมถ้วย
 ความพอใจส่วนเพิม
่ ของรายได้
 MUx/Px = MUy/Py
 ถ้าบริโภคฟรี
 MUx = MUy
7
ตัวอย่างการบริโภคที่ให้ความพอใจสูงสุด
 ตูมตามมีค่าขนม 10 บาทสาหรับซื้ อขนมครกและขนมถ้วย
 ราคาขนมครกเท่ากับฝาละ 1 บาท ราคาขนมถ้วยเท่ากับถ้วยละ 1 บาท
 บริโภคขนมครกและขนมถ้วยให้เกิดความพอใจสูงสุด
 ให้ความพอใจมีฟังก์ชนั
 U = 2√x +2√Y
8
กระบวนการตัดสินใจ:วิเคราะห์แบบช่วง
9
X
0
Tux
0.00
Mux
Y
10
Tuy
6.32
Muy
0.32
TU
6.32
1
2.00
2.00
9
6.00
0.34
8.00
2
2.83
0.83
8
5.66
0.37
8.49
3
3.46
0.64
7
5.29
0.39
8.76
4
4.00
0.54
6
4.90
0.43
8.90
5
4.47
0.47
5
4.47
0.47
8.94
6
4.90
0.43
4
4.00
0.54
8.90
7
5.29
0.39
3
3.46
0.64
8.76
8
5.66
0.37
2
2.83
0.83
8.49
9
6.00
0.34
1
2.00
2.00
8.00
10
6.32
0.32
0
0.00
6.32
กระบวนการตัดสินใจ:วิเคราะห์แบบต่อเนือ่ ง
 การวิเคราะห์จากฟังก์ชันอรรถประโยชน์
U2 X 2 Y
I = Px.X + Py.Y
L  2 X  2 Y   ( I  Px . X  Py . Y )
MUy
MUx


Px
Py
U
1
MUx 

X
X
X
10
IPy
Px( Px  Py )
Y
U
1
MUy 

Y
Y
IPx
Py ( Px  Py )
ตัวแบบอรรถประโยชน์และลักษณะของเส้นอุปสงค์
 จากตัวอย่างอุปสงค์ต่อขนมครก
 X = IPy/Px(Px+Py)
 ถ้ารายได้และราคาสินค้าทุกอย่างเพิม
่ ขึ้ นในอัตราที่เท่ากัน ปริมาณการ
บริโภค X จะเท่าเดิม
 Homogeneous of zero degree
 ไม่มีภาพลวงตาทางการเงิน(money illusion)
 เหตุผลในการสร้างตัวแบบอุปสงค์ในรูปแบบ
 LnQ = LnA +bLnP1/P3 + cLnP2/P3 + dLn I/P3
 เพือ่ ไม่ให้มีภาพลวงตาทางการเงิน
11
อรรถประโยชน์ทางอ้อมและสมการรายจ่าย
 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอรรถประโยชน์กบ
ั รายได้ และราคาสินค้ า
 จาก U= f(x,y)
 แทนสมการอุปสงค์ต่อ x และ y ก็จะได้
 U = f(px,py,I)
 สมการรายจ่ายได้ จากการย้ าย I มาทางซ้ าย
 I = f(U,px,py)
 ใช้ ในการหาผลของการทดแทนและผลของรายได้
12